SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
มารู้จักกับอาเซียนกันเถอะ
เข้าสู่บทเรียน
จัดทาโดย
เด็กหญิงสุนีพร โภคารัตน์กุล ชันประถมศึดษาปีที่ ๖
"One Vision, One Identity, One Community"
(หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)
เนื้อหา
ประวัติอาเซียน
การแต่งกาย 10 ประเทศอาเซียน
อาหาร 10 ประเทศอาเซียน
ประวัติอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of
South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การ
ทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด
10 ประเทศ ได้แก่กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม
สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มี
ประชากรราว 590 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิด
เป็นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นลาดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี
อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ
อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย
มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ
อาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความ
ร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศ
สมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อ
พิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐ
สมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม
พ.ศ. 2551 ซึ่งทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขตการค้าเสรี
อาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็นประชาคม
อาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
วัตถุประสงค์
จากสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการสรุป
แนวทางของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้จานวนหกข้อ ดังนี้
1.ให้ความเคารพแก่เอกราช อานาจอธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและ
เอกลักษณ์ของชาติสมาชิกทั้งหมด
2.รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุกรานดินแดน
และการบังคับขู่เข็ญ
3.จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐสมาชิกอื่น ๆ
4.ยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน หรือแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ
5.ประณามหรือไม่ยอมรับการคุกคามหรือการใช้กาลัง
6.ให้ความร่วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ
หน้าแรก
อาหาร 10 ประเทศอาเซียน
1.ประเทศไทย : ต้มยากุ้ง
ต้มยากุ้ง : แค่เอ่ยชื่อก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้มยากุ้ง
เป็นอาหารคาวที่เหมาะสาหรับรับประทานกับข้าวสวยร้อน
2.ประเทศกัมพูชา : อาม็อก
อาม็อก : เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะ
คล้ายห่อหมกของไทย
3.ประเทศบรูไน : อัมบูยัต
อัมบูยัต : เป็นอาหารยอดนิยมของบรูไน มี
ลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้ม
หรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้ง
อัมบูยัตเอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การ
จิ้มกับซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
4.ประเทศพม่า : หล่าเพ็ด
หล่าเพ็ด : เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า โดยการนา
ใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง
5.ประเทศฟิลิปปินส์ : อโดโบ้
อโดโบ้ : เป็นอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์
ทาจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ที่ผ่านการหมัก และปรุงรส
6.ประเทศสิงคโปร์ : ลักซา
ลักซา : อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามี
ลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ ทาให้รสชาติ
เข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย
7.ประเทศอินโดนีเซีย : กาโด กาโด
กาโด กาโด: อาหารยอดนิยมของประเทศ
อินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช
หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี
ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้ม
สุกด้วย
8.ประเทศลาว : สลัดหลวงพระบาง
สลัดหลวงพระบาง : เป็นอาหารขึ้นชื่ออีกชนิดหนึ่ง
เนื่องจากมีรสชาติกลาง ๆ ทาให้รับประทานได้ทั้ง
ชาวตะวันออก และตะวันตก
หน้าแรก
9.ประเทศมาเลเซีย : นาซิ เลอมัก
นาซิ เลอมัก : อาหารยอดนิยมของประเทศ
มาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ
และใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง
10.ประเทศเวียดนาม : เปาะเปี๊ยะเวียดนาม
เปาะเปี๊ยะเวียดนาม : ถือเป็นหนึ่งในอาหาร
พื้นเมืองที่โด่งดังที่สุดของประเทศเวียดนาม
การแต่งกาย 10 ประเทศอาเซียน
การแต่งกายของประเทศบรูไน
สำหรับชุดของผู้ชำย เรียกว่ำ บำจู มลำยู(Baju Melayu) ส่วนของ
ชุดผู้หญิงเรียกว่ำ บำจูกุรัง (BajaKurung)
การแต่งกายของประเทศกัมพูชา
ซัมปอต (Sampot) เป็นเครื่องแต่งกำยประจำชำติของประเทศ
กัมพูชำ สำหรับชุดผู้หญิง ซึ่งมีควำมคล้ำยคลึงกับผ้ำนุ่งของประเทศ
ลำวและไทย มีหลำยหลำยรูปแบบ สำหรับผู้ชำยนั้นมักสวมใส่เสื้อที่
ทำจำกผ้ำไหมหรือผ้ำฝ้ำยทั้งแขนสั้นและแขนยำว พร้อมทั้งสวม
กำงเกงขำยำว
การแต่งกายประเทศอินโดเซีย
เคบำย่ำ (Kebaya) เป็นชุดประจำชำติของประเทศอินโดนีเซีย
สำหรับผู้หญิง มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยำวผ่ำหน้ำ กลัดกระดุมตัวเสื้อ
จะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลำยลูกไม้ส่วนผ้ำถุงที่ใช้จะเป็นผ้ำถุงแบบ
บำติกสำหรับกำรแต่งกำยของผู้ชำยมักจะสวมใส่เสื้อแบบบำติกและ
นุ่งกำงเกงขำยำวและนุ่งโสร่งเมื่ออยู่บ้ำนหรือประกอบพิธีละหมำดที่
มัสยิด
การแต่งกายของประเทศลาว
ผู้หญิงลำวจะนุ่งผ้ำซิ่น และเสื้อแขนยำวทรงกระบอกสำหรับ
ผู้ชำยมักแต่งกำยแบบสำกลหรือนุ่งโจงกระเบนสวมเสื้อชั้นนอกกระ
ดุกเจ็ดเม็ดคล้ำยเสื้อพระรำชทำนของไทย
การแต่งกายของประเทศมาเลเซีย
สำหรับชุดของผู้ชำย เรียกว่ำ บำจู มลำยู(Beju Melayu)
ประกอบด้วยเสื้อแขนยำวและกำงเกงขำยำวที่ทำจำกผ้ำไหม ผ้ำ
ฝ้ำยหรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของผ้ำฝ้ำย สำหรับชุดของ
ผู้หญิง เรียนกว่ำ บำจูกุรุง (BajaKurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุม
แขนยำวและกระโปรงยำว
การแต่งกายของประเทศฟิลิปปินส์
ผู้ชำยจะนุ่งกำงเกงขำยำวและสวมเสื้อที่เรียกว่ำบำรองตำ
กำล็อก ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้ำใยสัปปะรด มีบ่ำ คอตั้ง แขนยำว ที่
ปลำยแขนเสื้อที่ข้อมือจะปักลวดลำยส่วนผู้หญิงนุ่งกระโปรง
ยำว ใส่เสื้อแขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหล่คล้ำยปีกผีเสื้อ
เรียกว่ำ บำลินตำวัก
การแต่งกายของประเทศสิงคโปร์
สิงคโปรไม่มีชุดประจำชำติเป็นของตนเองเนื่องจำก
ประเทศสิงคโปร์แบ่งออกเป็น4 เชื้อชำติหลักได้แก่ จีน มำเลย์
อินเดีย และชำวยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชำติก็มีชุดประจำชำติเป็น
ของตนเอง
การแต่งกายของประเทศไทย
สำหรับชุดผู้หญิงคือ ชุดไทยจักรี เป็นชุดไทยที่ประกอบด้วย
สไบเฉียง ใช้ผ้ำยกมีเชิง มีชำยพกใช้เข็มขัดไทยคำด ส่วนท่อน
บนเป็นสไบ จะเย็บให้ติดกับซิ่นเป็นท่อนเดียวกัน เปิดบ่ำข้ำง
หนึ่ง ชำยสไบคลุมไหล่ ทิ้งชำยด้ำนหลังยำวตำมที่สำหรับชุด
ผู้ชำยคือ ใส่เสื้อพระรำชทำน
การแต่งกายของประเทศเวียดนาม
อ่ำวหญ่ำย เป็นชุดประจำชำติของประเทศเวียดนำมที่
ประกอบไปด้วยชุดผ้ำไหมที่พอดีตัวสวมทับกำงเกงขำวยำวซึ่ง
เป็นชุดที่มักสวม ใส่ในงำนแต่งงำนและพิธีกำรสำคัญของ
ประเทศมีลักษณะคล้ำยชุดกี่เพ้ำของจีน ในปัจจุบันเป็นชุดที่
ได้รับควำมนิยมจำกผู้หญิงเวียดนำม ส่วนผู้ชำยเวียดนำมจะ
สวมใส่ชุดอ่ำหญ่ำยในพิธีแต่งำน
การแต่งกายของประเทศพม่า
ลองยีเป็นชุดแต่งกำยประจำชำติของประเทศพม่ำโดยมีกำร
ออกแบบในรูปทรงกระบอกมีควำมยำวจำกเอวจรดปลำยเท้ำ
กำรสวมใส่ใช้วิธีกำรขมวดผ้ำเข้ำด้วยกันโดยไม่มัดหรือพับขึ้น
มำถึงหัวเข่ำเพื่อควำมสะดวกในกำรสวมใส่
หน้าแรก
ขอขอบคุณ
http://hilight.kapook.com/view/73561
หน้าหลัก

More Related Content

Similar to Asean 62-no14

Asean 1
Asean 1Asean 1
Asean 1Kaizaa
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPattama Poyangyuen
 
Turning point-to-asean
Turning point-to-aseanTurning point-to-asean
Turning point-to-aseanteannantika
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศjitrada_noi
 

Similar to Asean 62-no14 (20)

Asean 1
Asean 1Asean 1
Asean 1
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Turning point-to-asean
Turning point-to-aseanTurning point-to-asean
Turning point-to-asean
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
3.แบบทดสอบ เรื่อง อาเซียน
3.แบบทดสอบ  เรื่อง  อาเซียน3.แบบทดสอบ  เรื่อง  อาเซียน
3.แบบทดสอบ เรื่อง อาเซียน
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
We Are ASEAN
We Are ASEANWe Are ASEAN
We Are ASEAN
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
 

Asean 62-no14

  • 3. ประวัติอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การ ทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มี ประชากรราว 590 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิด เป็นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นลาดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ
  • 4. อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความ ร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศ สมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อ พิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐ สมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขตการค้าเสรี อาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็นประชาคม อาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
  • 5. วัตถุประสงค์ จากสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการสรุป แนวทางของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้จานวนหกข้อ ดังนี้ 1.ให้ความเคารพแก่เอกราช อานาจอธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและ เอกลักษณ์ของชาติสมาชิกทั้งหมด 2.รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุกรานดินแดน และการบังคับขู่เข็ญ 3.จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐสมาชิกอื่น ๆ 4.ยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน หรือแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ 5.ประณามหรือไม่ยอมรับการคุกคามหรือการใช้กาลัง 6.ให้ความร่วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ หน้าแรก
  • 6. อาหาร 10 ประเทศอาเซียน 1.ประเทศไทย : ต้มยากุ้ง ต้มยากุ้ง : แค่เอ่ยชื่อก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้มยากุ้ง เป็นอาหารคาวที่เหมาะสาหรับรับประทานกับข้าวสวยร้อน 2.ประเทศกัมพูชา : อาม็อก อาม็อก : เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะ คล้ายห่อหมกของไทย
  • 7. 3.ประเทศบรูไน : อัมบูยัต อัมบูยัต : เป็นอาหารยอดนิยมของบรูไน มี ลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมีแป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้ง อัมบูยัตเอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การ จิ้มกับซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว 4.ประเทศพม่า : หล่าเพ็ด หล่าเพ็ด : เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า โดยการนา ใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง
  • 8. 5.ประเทศฟิลิปปินส์ : อโดโบ้ อโดโบ้ : เป็นอาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ ทาจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ที่ผ่านการหมัก และปรุงรส 6.ประเทศสิงคโปร์ : ลักซา ลักซา : อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามี ลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ ทาให้รสชาติ เข้มข้น คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย
  • 9. 7.ประเทศอินโดนีเซีย : กาโด กาโด กาโด กาโด: อาหารยอดนิยมของประเทศ อินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้ม สุกด้วย 8.ประเทศลาว : สลัดหลวงพระบาง สลัดหลวงพระบาง : เป็นอาหารขึ้นชื่ออีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีรสชาติกลาง ๆ ทาให้รับประทานได้ทั้ง ชาวตะวันออก และตะวันตก
  • 10. หน้าแรก 9.ประเทศมาเลเซีย : นาซิ เลอมัก นาซิ เลอมัก : อาหารยอดนิยมของประเทศ มาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง 10.ประเทศเวียดนาม : เปาะเปี๊ยะเวียดนาม เปาะเปี๊ยะเวียดนาม : ถือเป็นหนึ่งในอาหาร พื้นเมืองที่โด่งดังที่สุดของประเทศเวียดนาม
  • 11. การแต่งกาย 10 ประเทศอาเซียน การแต่งกายของประเทศบรูไน สำหรับชุดของผู้ชำย เรียกว่ำ บำจู มลำยู(Baju Melayu) ส่วนของ ชุดผู้หญิงเรียกว่ำ บำจูกุรัง (BajaKurung) การแต่งกายของประเทศกัมพูชา ซัมปอต (Sampot) เป็นเครื่องแต่งกำยประจำชำติของประเทศ กัมพูชำ สำหรับชุดผู้หญิง ซึ่งมีควำมคล้ำยคลึงกับผ้ำนุ่งของประเทศ ลำวและไทย มีหลำยหลำยรูปแบบ สำหรับผู้ชำยนั้นมักสวมใส่เสื้อที่ ทำจำกผ้ำไหมหรือผ้ำฝ้ำยทั้งแขนสั้นและแขนยำว พร้อมทั้งสวม กำงเกงขำยำว
  • 12. การแต่งกายประเทศอินโดเซีย เคบำย่ำ (Kebaya) เป็นชุดประจำชำติของประเทศอินโดนีเซีย สำหรับผู้หญิง มีลักษณะเป็นเสื้อแขนยำวผ่ำหน้ำ กลัดกระดุมตัวเสื้อ จะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลำยลูกไม้ส่วนผ้ำถุงที่ใช้จะเป็นผ้ำถุงแบบ บำติกสำหรับกำรแต่งกำยของผู้ชำยมักจะสวมใส่เสื้อแบบบำติกและ นุ่งกำงเกงขำยำวและนุ่งโสร่งเมื่ออยู่บ้ำนหรือประกอบพิธีละหมำดที่ มัสยิด การแต่งกายของประเทศลาว ผู้หญิงลำวจะนุ่งผ้ำซิ่น และเสื้อแขนยำวทรงกระบอกสำหรับ ผู้ชำยมักแต่งกำยแบบสำกลหรือนุ่งโจงกระเบนสวมเสื้อชั้นนอกกระ ดุกเจ็ดเม็ดคล้ำยเสื้อพระรำชทำนของไทย
  • 13. การแต่งกายของประเทศมาเลเซีย สำหรับชุดของผู้ชำย เรียกว่ำ บำจู มลำยู(Beju Melayu) ประกอบด้วยเสื้อแขนยำวและกำงเกงขำยำวที่ทำจำกผ้ำไหม ผ้ำ ฝ้ำยหรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของผ้ำฝ้ำย สำหรับชุดของ ผู้หญิง เรียนกว่ำ บำจูกุรุง (BajaKurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุม แขนยำวและกระโปรงยำว การแต่งกายของประเทศฟิลิปปินส์ ผู้ชำยจะนุ่งกำงเกงขำยำวและสวมเสื้อที่เรียกว่ำบำรองตำ กำล็อก ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้ำใยสัปปะรด มีบ่ำ คอตั้ง แขนยำว ที่ ปลำยแขนเสื้อที่ข้อมือจะปักลวดลำยส่วนผู้หญิงนุ่งกระโปรง ยำว ใส่เสื้อแขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหล่คล้ำยปีกผีเสื้อ เรียกว่ำ บำลินตำวัก
  • 14. การแต่งกายของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปรไม่มีชุดประจำชำติเป็นของตนเองเนื่องจำก ประเทศสิงคโปร์แบ่งออกเป็น4 เชื้อชำติหลักได้แก่ จีน มำเลย์ อินเดีย และชำวยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชำติก็มีชุดประจำชำติเป็น ของตนเอง การแต่งกายของประเทศไทย สำหรับชุดผู้หญิงคือ ชุดไทยจักรี เป็นชุดไทยที่ประกอบด้วย สไบเฉียง ใช้ผ้ำยกมีเชิง มีชำยพกใช้เข็มขัดไทยคำด ส่วนท่อน บนเป็นสไบ จะเย็บให้ติดกับซิ่นเป็นท่อนเดียวกัน เปิดบ่ำข้ำง หนึ่ง ชำยสไบคลุมไหล่ ทิ้งชำยด้ำนหลังยำวตำมที่สำหรับชุด ผู้ชำยคือ ใส่เสื้อพระรำชทำน
  • 15. การแต่งกายของประเทศเวียดนาม อ่ำวหญ่ำย เป็นชุดประจำชำติของประเทศเวียดนำมที่ ประกอบไปด้วยชุดผ้ำไหมที่พอดีตัวสวมทับกำงเกงขำวยำวซึ่ง เป็นชุดที่มักสวม ใส่ในงำนแต่งงำนและพิธีกำรสำคัญของ ประเทศมีลักษณะคล้ำยชุดกี่เพ้ำของจีน ในปัจจุบันเป็นชุดที่ ได้รับควำมนิยมจำกผู้หญิงเวียดนำม ส่วนผู้ชำยเวียดนำมจะ สวมใส่ชุดอ่ำหญ่ำยในพิธีแต่งำน การแต่งกายของประเทศพม่า ลองยีเป็นชุดแต่งกำยประจำชำติของประเทศพม่ำโดยมีกำร ออกแบบในรูปทรงกระบอกมีควำมยำวจำกเอวจรดปลำยเท้ำ กำรสวมใส่ใช้วิธีกำรขมวดผ้ำเข้ำด้วยกันโดยไม่มัดหรือพับขึ้น มำถึงหัวเข่ำเพื่อควำมสะดวกในกำรสวมใส่ หน้าแรก