SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
1



วิชาบาลีเสริม ๑๑
วากยสัมพันธ์
บรรยายโดย




พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.



บทที่ ๑ ชื่อสัมพันธ์

ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง
๑. เป็นประธานในประโยคกตฺตุวาจก



เรียกว่า ส

ยกตฺตา
๒. เป็น ปธ. ใน ปย.



เหตุกตฺตุวาจก เรียกว่า

เหตุกตฺตา
๓. เป็น ปธ. ใน ปย. กมฺมวาจก หรือ เหตุกมฺมวาจก



เรียกว่า วุตฺตกมฺม
๔. เป็น ปธ. ใน ปย. กิริยาปธานนัย (ตฺวา ปัจจัยคุม



พากย์) เรียกว่า ปกติกตฺตา
๕. เป็น ปธ. ใน ปย. ไม่มีกิริยคุมพากย์



เรียกว่า ลิงฺ

คตฺถ
๖. เป็น ปธ. ใน ปย. เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย, อิว,ยถา



ศัพท์) เรียกว่า อุปมาลิงฺคตฺถ


ทุติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา
2



๑. แปลว่า ซึง
่

เรียกว่า

อวุตฺตกมฺม



๒. แปลว่า สู่



๓. แปลว่า ยัง



๔. แปลว่า สิ้น, ตลอด



๕. แปลว่า กะ



๖. แปลไม่ออกสําเนียงอายตนิบาต เรียกว่า กิริยาวิเส

เรียกว่า
เรียกว่า

การิตกมฺม

เรียกว่า

เรียกว่า

สมฺปาปุณิยกมฺม
อจฺจนฺตสํโยค

อกถิตกมฺม

สน


ตติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง

เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง อัพยยศัพท์บ้าง


๑. แปลว่า ด้วย

เรียกว่า กรณ



๒. แปลว่า โดย, ตาม, ทาง, ข้าง

เรียกว่า ตติยาวิเส

สน


๓. แปลว่า อัน

เรียกว่า อนภิหิตกตฺตา



๔. แปลว่า เพราะ



๕. แปลว่า มี (เข้ากับนาม), ด้วยทั้ง (เข้ากับกิริยา)

เรียกว่า เหตุ

เรียกว่า อิตฺถมฺภูต
๖. แปลว่า ด้วย เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ เรียกว่า



สหตฺถตติยา


จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง
3

กิริยาบ้าง
แปลว่า แก่, เพื่อ, ต่อ, แด่



เรียกว่า สมฺ

ปาทาน

ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง



กิริยาบ้าง


๑. แปลว่า แต่, จาก, กว่า

เรียกว่า

อปาทาน



๒. แปลว่า เหตุ, เพราะ

เรียกว่า

เหตุ



ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม

๑. แปลว่า แห่ง, ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้า เรียกว่า สามี



สมฺพนฺธ
๒. แปลว่า แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์ที่



แปลว่า ความ การ อัน เรียกว่า ภาวาทิสมฺพนฺธ


๓. แปลว่า แห่ง เนื่องในหมู่

เรียกว่า สมุหสมฺพนฺธ



๔. แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียก
ว่า อนาทร
๕. แปลว่า ซึง เข้ากับนามกิตก์ (ณวุ ตุ ยุ)
่



ฉฏฺฐีกมฺม

เรียกว่า
4



สัตตมีวิภัตติใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง
กิริยาบ้าง
๑. แปลว่า ใน เป็นที่กําบัง, เป็นที่ปกปิด เรียกว่า ปฏิ



จฺฉนฺนาธาร


๒. แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร



๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย

เรียกว่า วิสยา

ธาร
๔. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียก



ว่า อาธาร
๕. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน เรียก



ว่า ภินฺนาธาร
๖. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสตฺ


ตมี

๗. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง



เรียกว่า สมีปา

ธาร
๘. แปลว่า ในเพราะ



เรียกว่า นิมิตฺตสตฺ

ตมี
๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก



เรียกว่า ลกฺขณ
๑๐. แปลว่า เหนือ, บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้ เรียกว่า



อุปสิเลสิกาธาร
5

๑๑. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน)



เรียกว่า นิทฺ

ธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ)
๑๒. แปลว่า อันว่า (อ.) เป็นประธาน ลงในอรรถปฐมา



วิภัตติ เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา


อาลปน

สัมพันธ์แล้วปล่อย


แปลว่า แนะ, ดูก่อน, ข้าแต่, ข้าแด่

เรียกว่า อาลปน



หมายเหตุ ถ้าอาลปนนาม มาคู่กับอาลปนนิบาต ให้
สัมพันธ์อาลปนนิบาต เป็นวิเสสนะของอาลปนนาม เช่น



อาวุโส โมคฺคลฺลาน ดูก่อนโมคคัลลานะ ผู้มีอายุ



สัมพันธ์ อาวุโส วิเสสน ของ โมคฺคลฺลาน ๆ อาลปน


วิเสสนะ

เข้ากับนามบ้าง สัพพนามบ้าง



๑. คุณนาม

เรียกว่า

วิเสสน



๒. วิเสสนสัพพนาม

เรียกว่า

วิเสสน



๓. นามกิตก์ที่เป็นคุณนาม



๔. อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ

เรียกว่า

วิเสสน

ประกอบด้วยวิภัตติอื่นจากปฐมาวิภัตติ จะอยู่หน้าหรือหลัง
6

ตัวประธานก็ตาม เรียกว่า วิเสสน
๕. ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยาคุมพากย์



หรือ วิกติกตฺตา เรียกว่า วิเสสน
๖. ตูนาทิปัจจัย แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังนาม



เรียกว่า วิเสสน
๗. สมาสคุณนามและตัทธิตคุณนาม เรียกว่า วิเสสน





ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม



๑. ตถา อ. เหมือนอย่างนั้น

เรียกว่า ลิงฺคตฺถ



๒. เอวํ อ. อย่างนั้น

เรียกว่า สจฺจวาจกลิงฺ



๓. อลํ อ. อย่าเลย

เรียกว่า ปฏิเสธลิงฺคตฺถ



๔. อลํ อ. พอละ

เรียกว่า ลิงฺคตฺถ



๕. อชฺช อ. วันนี้

เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส

คตฺถ

ยกตฺตา
๖. อิทานิ อ.กาลนี้



เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส

ยกตฺตา
๗. ตทา อ.กาลนั้น



เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส

ยกตฺตา


๘. สาธุ อ. ดีละ

เรียกว่า ลิงฺคตฺถ



๙. ตุํ ปัจจัย ใช้เป็นประธาน เรียกว่า ตุมตฺถกตฺตา
7




กิริยาคุมพากย์

กิริยาคุมพากย์ ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้



๑. กิริยาอาขยาต

เรียกว่า อาขฺยาตบท



กตฺตุวาจก เช่น ปจติ เรียกว่า อาขฺยาตบท กตฺตุ
วาจก
กมฺมวาจก เช่น ปจิยเต เรียกว่า อาขฺยาตบท กมฺมวาจก
ภาววาจก เช่น ภูยเต

เรียกว่า

อาขฺยาตบท ภาววาจก

เหตุกตฺตุวาจก เช่น ปาเจติ เรียกว่า อาขฺยาตบท เหตุกตฺตุ
วาจก
เหตุกมฺมวาจก เช่น ปาจาปิยเต เรียกว่า อาขฺยาตบท เหตุ
กมฺมวาจก
๒. นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย ใช้คุมพากย์ เช่น



คารยฺหา เรียกว่า กิตบท กมฺมวาจก
๓. กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ ปัจจัยใช้คุมพากย์



เรียกว่า กิตบท
กตฺตุวาจก เช่น ปวิฏฺโฐ เรียกว่า กิตบท กตฺตุ


วาจก

กมฺมวาจก เช่น อธิคโต เรียกว่า กิตบท กมฺม


วาจก


ภาววาจก เช่น ภวิตพฺพํ เรียกว่า กิตบท ภาว
8

วาจก
เหตุกตฺตุกมฺมวาจก เช่น ปติฏฺฐาปิโต เรียกว่า กิตบท เหตุ
กมฺมวาจก
๔. ตฺวา ปัจจัย คุมพากย์



เรียกว่า กิริยาปธาน

นัย
๕. สกฺกา และ อลํ ใช้คุมพากย์



เรียกว่า กิริยาบท

ภาววาจก บ้าง
กิริยาบท กมฺมวาจก


บ้าง

๖. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภัตติ เป็น



กิริยาของประโยคอนาทร เรียกว่า อนาทรกิริยา
๗. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยสัตตมีวิภัตติเป็น



กิริยาของประโยคลักขณะ เรียกว่า ลกฺขณกิริยา



หมายเหตุ



ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย และ สกฺกา ใช้คุมพากย์ได้
เมื่อตัวประธานเป็นประถมบุรุษเท่านั้น ถ้าตัวประธานเป็น
มัธยมบุรุษหรืออุตตมบุรุษ ให้แปล ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย
หรือ สกฺกา เป็นวิกติกตฺตา ในกิริยาอาขยาต



กิริยาในระหว่าง

กิริยาในระหว่าง ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้
9

๑. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ



อยู่หลังตัวประธาน เรียกว่า อพฺภนฺตรกิริยา


๒. ตูน ตฺวา ตฺวาน ปัจจัย ที่เรียกว่า ตูนาทิปัจจัย



แปลว่า แล้ว แปลตามลําดับกิริยา เรียกว่า ปุพฺพกาล
กิริยา
แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า อปร



กาลกิริยา


แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า เหตุ



แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย ตามลําดับกิริยา เรียกว่า
สมานกาลกิริยา
แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังกิริยา เรียกว่า กิริยาวิ



เสสน


แปลว่า ครั้น....แล้ว

เรียกว่า ปริโยสานกาลกิริยา
10

∗ การสัม พัน ธ์บ ท ปฐมาวิภ ัต ติ
∗ ปฐมาวิภ ัต ติใ ช้ใ นอรรถ ๖ อย่า ง ดัง นี้
∗ ๑. เป็นประธานในประโยคที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เรียกชื่อว่า
“ลิงคตฺถ”
∗ กึ (ปโยชนํ) เม ฆราวาเสน ฯ
∗ อ. ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองเรือน ฯ
∗ กึ วิเสสน ของ ปโยชนํ ๆ ลิง ฺค ตฺถ เม สามีสมฺพนฺธ ใน

ฆ

ราวาเสน ๆ กรณ ใน กึ ปโยชนํ ฯ
∗ ประโยชน์นี้สัมพันธ์ได้ ๒ อย่าง อย่างแรก สัมพันธ์เหมือน
ตัวอย่างข้างบน อย่างที่ ๒ สัมพันธ์ บท เม เป็น จตุตถีวิภัตติ
ออกสําเนียงว่า แก่ เช่น
∗ กึ วิเสสน ของ ปโยชนํ ๆ ลิงฺคตฺถ เม สมฺปทาน ใน กึ ปโย
ชนํ ฆราวาเสน กรณ ใน กึ ปโยชนํ ฯ
∗ ๒. เป็นประธานในประโยคอุปมา เรียกชื่อว่า “อุปมาลิงฺ
คตฺถ”
∗ ปุริโส ปุญฺญํ กโรนฺโต วิว ฏมุข ภาชนํ อุท กสฺส (ปู
รนฺต ํ) วิย ปุญฺญสฺส ปูรติ ฯ
∗ อ.บุรุษ กระทําอยู่ ซึ่ง บุญ ย่อมเต็ม ด้วยบุญ ราวกะ อ.
ภาชนะมีปากอันบุคคลเปิดแล้ว อันเต็มอยู่ ด้วยนํ้า
11

ฉะนั้น ฯ
∗ ปุริโส สยกตฺตา ใน ปูรติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
ปุญฺญํ อวุตฺตกมฺม ใน กโรนฺโต ๆ อพฺภนฺตรกิริยา ของ ปุ
ริโส วิย ศัพท์ อุปมาโชตก เข้ากับ วิวฏมุขภาชนํ อุ
ทกสฺส (ปูรนฺตํ) อุทกสฺส ฉฏฺฐีกรณ ใน ปูรนฺตํ ๆ วิเสสน
ของ วิว ฏมุข ภาชนํ ๆ อุป มาลิง ฺค ตฺถ ปุญฺญสฺส ฉัฏฐี
กรณ ใน ปูรติ ฯ
∗ ศัพท์ที่ว่าด้วย เข้ากับ ปูร ธาตุ นิยมแปลงเป็นฉัฏฐี
วิภัตติ เวลาแปลออกสําเนียงอายตนิบาต ของ ตติยา
วิภัตติ
∗ ๓. เป็นประธานในประโยคกัตตุวาจก เรียกชื่อว่า “สยกตฺ
ตา”
∗ สูโ ท โอทนํ ปจติ ฯ
∗ อ. พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก ฯ
∗ สูโ ท สยกตฺต า ใน ปจติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก โอทนํ
อวุตฺตกมฺม ใน ปจติ ฯ
∗ ๔. เป็นประธานในประโยค เหตุกัตตุวาจก เรียกชื่อว่า “เห
ตุกตฺตา”
∗ สามิโ ก สูทํ/สูเทน โอทนํ ปาจาเปติ ฯ
∗ อ. นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึงข้าวสุก ฯ
่
∗ สามิโ ก เหตุก ตฺต า ใน ปาจาเปติ ๆ อาขยาตบท เห
ตุกตฺตุวาจก สูทํ /สูเทน การิตกมฺม ใน ปาจาเปติ โอทนํ
12

อวุตฺตกมฺม ใน ปาจาเปติ ฯ
∗ อาจริโ ย สิสฺเส พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหาเปติ ฯ
∗ อ. อาจารย์ ยังศิษย์ ท. ให้เรียนอยู่ ซึงพระพุทธพจน์ ฯ
่
∗ อาจริโ ย เหตุก ตฺต า ใน อุคฺคณฺหาเปติ ๆ อาขยาตบท เห
ตุกตฺตุวาจก สิสฺเส การิตกมฺม ใน อุคฺคณฺหาเปติ พุทฺธวจนํ
อวุตฺตกมฺม ใน อุคฺคณฺหาเปติ ฯ
∗ ๕. เป็นประธานในประโยคกัมมวาจก เรียกชื่อว่า “วุตฺ
ตกมฺม”
∗

สูเทน โอทโน ปจิยเต ฯ

∗

อ. ข้าวสุก อันพ่อครัว หุงอยู่ ฯ

∗

สูเทน อนภิหิตกตฺตา ใน โอทโน ๆ วุต ฺต กมฺม ใน ปจิยเต
ๆ อาขายาตบท กมฺมวาจก ฯ

∗ มยา กมฺม ํ กตํ ฯ
∗ อ.การงาน อันผม กระทําแล้ว ฯ
∗ มยา อนภิหิตกตฺตา ใน กมฺม ํ ๆ วุต ฺต กมฺม ใน กตํ ๆ กิตบท
กมฺมวาจก ฯ
∗ ๖. เป็นประธานในประโยคเหตุกัมมวาจก เรียกชื่อว่า “วุตฺ
ตกมฺม”
∗ สามิเกน สูเทน/สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต ฯ
∗ อ.ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ฯ
∗ สามิเกน อนภิหิตกตฺตา ใน โอทโน ๆ วุต ฺต กมฺม ใน ปาจา
ปิยเต ๆ อาขยาตบท เหตุกมฺมวาจก สูทํ การิตกมฺม ใน ปาจา
13

ปิยเต ฯ
∗ อาจริเยน สิสฺเส พุท ฺธ วจนํ สิกฺขาปิยเต ฯ
∗ อ.พระพุทธพจน์ อันอาจารย์ ยังศิษย์ ท. ให้ศึกษาอยู่ ฯ
∗ อาจริเยน อนภิหิตกตฺตา ใน สิกฺขาปิยเต พุท ฺธ จวนํ วุต ฺ
ตกมฺม ใน สิกฺขาปิยเต ๆ อาขยาตบท เหตุกมฺมวาจก สิสฺเส
การิตกมฺม ใน สิกฺขาปิยเต ฯ

∗ หลัก สัม พัน ธ์บ ททุต ิย าวิภ ัต ติ
∗ ทุติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยาอย่างเดียว
ดังนี้
∗ ๑. แปลว่า ซึง เรียกว่า อวุต ฺต กมฺม
่
∗ สามเณโร ปณฺณ ํ ลิขติ ฯ
14

∗ อ.สามเณร ย่อมเขียน ซึงหนังสือ ฯ
่
∗ สามเณโร สยกตฺตา ใน ลิขติ ๆ อาขยาตบท กตฺตวาจก
ปณฺณ ํ อวุต ฺต กมฺม ใน ลิขติ ฯ
∗ ภิกฺขุ ปิณ ฺฑ ปาตํ ภุญฺชติ ฯ
∗ อ. ภิกษุ ฉันอยู่ ซึ่งบิณฑบาต ฯ
∗ ภิกฺขุ สยกตฺตา ใน ภุญฺชติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปิณ ฺฑ
ปาตํ อวุต ฺต กมฺม ใน ภุญฺชติ ฯ
∗ ๒. แปลว่า สู่ เรียกชื่อว่า สมฺปาปุณิยกมฺม
∗ ภิกฺขุ ปิณฺฑาย คามํ ปาวิสิ ฯ
∗ อ. ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑบาต ฯ
∗ ภิกฺขุ สยกตฺตา ใน ปาวิสิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปิณฺฑาย
สมฺปทาน ใน คามํ ๆ สมฺป าปุณ ิย กมฺม ใน ปาวิสิ ฯ
∗ นิสิตา มหาวิท ฺย าลยํ อาคจฺฉนฺติ ฯ
∗ อ.นิสิต ท. ย่อมมา สู่ มหาวิทยาลัย ฯ
∗ นิสิตา สยกตฺตา ใน อาคจฺฉนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
มหาวิท ฺย าลยํ สมฺป าปุณ ิย กมฺม ใน อาคจฺฉนฺติ ฯ
∗ ๓. แปลว่า ยัง เรียกชื่อว่า การิตกมฺม
∗ อาจริโย สิส ฺเ ส พุทฺธวจนํ สิกฺขาเปติ ฯ
∗ อ. อาจารย์ ยัง ศิษ ย์ ท . ให้ศึกษาอยู่ ซึ่งพระพุทธพจน์
ฯ
∗ อาจริโย เหตุกตฺตา ใน สิกฺขาเปติ ๆ อาขยาตบท เห
ตุกตฺตุวาจก สิส ฺเ ส การิต กมฺม ใน สิกฺขาเปติ พุทฺธว
15

จนํ อวุตฺตกมฺม ใน สิกฺขาเปติ ฯ
∗ ๔. แปลว่า สิ้น,ตลอด เรียกชื่อว่า อจฺจนฺตสํโยค
∗ อิมสฺมึ อาวาเส อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ ฯ
∗ อ.ข้าพเจ้า เข้าอยู่จํา ซึ่งพรรษา ตลอดเดือน ๓ นี้ ใน
อาวาส นี้ ฯ
∗ อหํ สยกตฺตา ใน อุเปมิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก อิมสฺมึ
วิเสสน ของ อาวาเส ๆ วิสยาธาร ใน อุเปมิ อิมํ วิเสสน
ของ เตมาสํ ๆ อจฺจ นฺต สํโ ยค ใน อุเปมิ ฯ
∗ ๕. แปลว่า กะ,เฉพาะ เรียกชื่อว่า “อกถิตกมฺม”
∗ ปิตา ปุต ฺต ํ กเถติ ฯ
∗ อ. บิดา กล่าวอยู่ กะ บุตร ฯ
∗ ปิตา สยกตฺตา ใน กเถติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
ปุต ฺต ํ อกถิต กมฺม ใน กเถติ ฯ
∗ ๖. แปลไม่ออกสําเนียงอายตนิบาต เรียกชื่อว่า “กิริยาวิเส
สน”
∗

ธมฺมจารี (ปุคฺคโล) สุข ํ เสติ ฯ

∗

อ. บุคคลผู้ประพฤติธรรมเป็นปกติ ย่อมอยู่ เป็นสุข ฯ

∗

ธมฺมจารี วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน เสติ ๆ

∗

อาขยาตบท กตฺตุวาจก สุข ํ กิร ิย าวิเ สสน ใน เสติ ฯ

หลักสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
16

∗ ตติยาวิภัตติ ใน อรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยาบ้าง เข้ากับนาม
บ้าง เข้ากับอัพยยศัพท์บ้าง
∗ ๑. แปลว่า ด้วย เรียกว่า กรณ
∗ อุ.

กาเยน กมฺมํ กโรติ.

∗ ป.

อ.บุคคล ย่อมกระทําซึ่งกรรม ด้วยกาย

∗ ส.

ปุคฺคโล สยกตฺตา ใน กโรติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

กาเยน กรณ ใน กโรติิ กมฺมํ อวุตฺตกมฺม ใน กโรติ ฯ
∗ ๒. แปลว่า โดย, ตาม, เรียกชื่อว่า ตติย าวิเ สสน
∗ อุ.

สตฺถา ทกฺขิเณน ปสฺเ สน สีหเสยฺยํ กปฺเปติ.

∗ ป.

อ. พระศาสดา ทรงสําเร็จ ซึงสีหไสยาส โดยพระปรัส
่

เบื้องขวา ฯ
∗ ส.

สตฺถา สยกตฺตา ใน กปฺเปติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

∗

ทกฺขิเณน วิเสสน ของ ปสฺเ สน ๆ ตติย าวิเ สสน ใน

กปฺเ ปติ
∗
สีหเสยฺยํ อวุตฺตกมฺม ใน กปฺเปติ ฯ
∗ อุ.

มม วจเนน เอวํ วเทหิ.

∗ ป.

อ.ท่าน จงกล่าว อย่างนี้ ตามคํา ของเรา ฯ

∗ ส.

ตฺวํ สยกตฺตา ใน วเทหิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มม

∗

สามีสมฺพนฺธ ใน วจเนน ๆ ตติย าวิเ สสน ใน วเทหิ ฯ

∗ ๓. แปลว่า อัน เรียกชื่อว่า อนภิห ิต กตฺต า
∗ อุ.

สูเ ทน โอทโน ปจิยเต.
17

∗ ป.

อ. ข้าวสุก อัน พ่อ ครัว หุงอยู่ ฯ

∗ ส.

โอทโน วุตฺตกมฺม ใน ปจิยเต ๆ อาขยาตบท กมฺมวาจก

สูเ ทน
∗
อนภิห ิต กตฺต า ใน ปจิย เต ฯ
∗ ๔. แปลว่า เพราะ เรียกชื่อว่า เหตุ
∗ อุ.

อยํ โลกิยมหาชโน ปญฺญาจกฺขุโน อภาเวน อนฺธภูโต

(โหติ).
∗ ป.

อ. โลกิยมหาชโน นี้ ชืิ่อว่าเป็นผู้เป็นคนบอด เป็นแล้ว
่

∗

เพราะความไม่ม ิี แห่งจักษุคือปัญญา ย่อมเป็น ฯ

∗ ส.

อยํ วิเสสน ของ โลกิยมหาชโน ๆ สยกตฺตา ใน โหติ ๆ

∗

อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปญฺญาจกฺขุโน ภาวาทิสมฺพนฺธ
ใน
อภาเวน ๆ เหตุ ใน อนฺธ ภูโ ต ๆ วิกติกตฺตา ใน โหติ

∗
ฯ

• ๕. แปลว่า มี หรือ ด้วยทั้ง เรียกชื่อว่า อิต ฺถ มฺภ ูต
∗ อิตฺถมฺภูต มีหลักการ ๒ อย่าง ดังนี้
∗ ๑. ถ้าแปลต่อจากตัวประธานหรือนาม ก่อนกิริยา แปลว่า มี
สัมพันธ์เข้ากับตัวประธานหรือนาม ใช้คําเชื่อมว่า ใน
∗ อุ.

โส ปุคฺคโล ปสนฺเนน จิตฺเตน กาลมกาสิ.

∗ ป.

อ.บุคคล นั้น มีใ จเลื่อ มใสแล้ว กระทําแล้ว ซึงกาละ
่

ฯ
∗ ส. โส วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน อกาสิ ๆ
18

อาขยาตบท
กตฺตุวาจก ปสนฺเนน วิเสสน ของ จิต ฺเ ตน ๆ อิต ฺถ มฺภ ูต

∗
∗

ใน

ปุค ฺค โล กาลํ อวุตฺตกมฺม ใน อกาสิ ฯ

∗ ๒. ถ้าแปลหลังกิริยา แปลว่า ด้วยทั้ง สัมพันธ์เข้ากับกิริยา
ใช้คําเชื่อมว่า ใน
∗ อุ.

สา (สิริมา) ...ปเวธมาเนน สรีเ รน ภิกฺขู วนฺทิ.

∗ ป.

อ.นางสิริมา นั้น ...ไหว้แล้ว ซึงภิกษุ ท. ด้ว ยทั้ง สรีร ะ
่

∗

อันสั่นอยู่ ฯ

∗ ส.

สา วิเสสน ของ สิริมา ๆ สยกตฺตา ใน วนฺทิ ๆ อาขยาต

บท
กตฺตุวาจก ปเวธมาเนน วิเสสน ของ สรีเ รน ๆ อิต ฺถ มฺ

∗

ภูต ใน
∗
วนฺท ิ ฯ
• ๖. ตติยาวิภัตติ เข้ากับ สห,สทฺธึ ศัพท์
∗ ตติยาวิภัตติ ที่เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ ตัวตติยาวิภัตติ
แปลว่า ด้ว ย สัมพันธ์ว่า สหตฺถ ตติย า ใช้คําเชื่อมว่า เข้า
กับ
∗ ส่วน สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ แปลว่า กับ เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ ๒
อย่าง คือ
∗ ๑. เข้ากับนาม เรียกชื่อว่า ทพฺพ สมวาย ใช้คําเชื่อมว่า ใน
∗ ๒. เข้ากับกิริยา เรียกชื่อว่า กิร ิย าสมวาย ใช้คําเชื่อมว่า
ใน
19

∗ ๑. เข้ากับนาม เรียกชื่อว่า ทพฺพสมวาย
∗ อุ.

เต ภิกฺขู สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณึสุ.

∗ ป.

อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น บรรลุแล้ว ซึงพระอรหัต กับ ด้ว ย
่

∗

ปฏิสัมภิทา ท. ฯ

∗ ส.

เต วิสสน ของ ภิกฺขู ๆ สยกตฺตา ใน ปาปุณึสุ ๆ อาขยาต

บท
กตฺตุวาจก ปฏิส มฺภ ิท าหิ สหตฺถ ตติย า เข้า กับ สห ๆ

∗
ศัพท์

ทพฺพ สมวาย ใน อรหตฺตํ ๆ อวุตฺตกมฺม ใน ปาปุณึสุ ฯ

∗

∗ ๒. เข้ากับกิริยา เรียกชื่อว่า กิร ิย าสมวาย
∗ อุ.

ภิิิกฺขู เตน (วาณิเชน) สทฺธึ มคฺคํ ปฏิปชฺชึสุ.

∗ ป.

อ.ภิกษุ ท. ดําเนินไปแล้ว สู่หนทาง กับ ด้ว ย พ่อค้า นั้น

ฯ
∗ ส.

ภิกฺขู สยกตฺตา ใน ปฏิปชฺชึสุ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

เตน
วิเสสน ของ วาณิเ ชน ๆ สหตฺถ ตติย า เข้า กับ สทฺธ ึ

∗
∗

ๆ

กิร ิย าสมวาย ใน ปฏิปชฺชึสุ ฯ

หลักการสัมพันธ์บทจตุตถีวิภัตติ
∗ จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถ ๓ อย่าง เข้ากับกิริยา อย่างเดียว
20

เรียกชื่อว่า สมฺป ทาน
∗ ๑. แปลว่า แก่
∗ อุ.

พุทฺธสาสนิกชโน สงฺฆ สฺส ทานํ เทติ.

∗ ป.

อ.พุทธศาสนิกชน ย่อมถวาย ซึงทาน แก่ สงฆ์ ฯ
่

∗ ส.

พุทฺธสาสนิกชโน สยกตฺตา ใน เทติ ๆ อาขยาตบท

∗

กตฺตุวาจก สงฺฆ สฺส สมฺป ทาน ใน เทติ ทานํ อวุตฺ
ตกมฺม

∗

ใน เทติ ฯ

๒. แปลว่า เพื่อ
อุ.

มหามจฺโจ รญฺโ ญ ปณฺณาการํ เปเสติ.

ป.

อ. มหาอํามาตย์ (นายกรัฐมนตรี) ย่อมส่งไป
ซึ่งเครื่องบรรณาการ เพื่อ พระราชา ฯ

ส.

มหามจฺโจ สยกตฺตา ใน เปเสติ ๆ อาขยาตบท
กตฺตุวาจก รญฺโ ญ สมฺป ทาน ใน เปเสติ ปณฺณาการํ
อวุตฺตกมฺม ใน เปเสติ
 หลักการสัมพันธ์บทฉัฏฐีวิภัตติ
 ฉัฏฐีวิภัตติ แปลว่า แห่ง,ของ, เมื่อ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้า
กับนาม
 ๑. แปลว่า แห่ง , ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้าของ เรียกว่า สามี
สมฺพ นฺธ
 อุ. ภิกฺขุโน จีวรํ.
21

 ป.

อ.จีวร ของภิก ษุ ฯ

 ส.

จีวรํ ลิงฺคตฺถ ภิก ฺข ุโ น สามีส มฺพ นฺธ ใน จีวรํ ฯ

 ๒. แปลว่า แห่ง , ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์ที่แปลว่า
ความ การ อัน เรียกว่า ภาวาทิส มฺพ นฺธ
 อุ.

อชฺช โน โลเก อรหนฺต านํ นตฺถิภาโว ญาโต .

 ป.

อ. ความที่แห่งพระอรหันต์ ท. ย่อมไม่มี ในโลก อันเรา

ท. รู้แล้ว ในวันนี้ ฯ
 ส.

นตฺถิภาโว วุตฺตกมฺม ใน ญาโต ๆ กิตบท กมฺมวาจก

อชฺช กาลสตฺตมี ใน ญาโต โน อนภิหิตกตฺตา ใน ญาโต โล
เก อาธาร ใน นตฺถิ- อรหนฺต านํ ภาวาทิส มฺพ นฺธ ใน นตฺถิ
ภาโว ฯ
 ๓. แปลว่า แห่ง เนื่องในหมู่ เรียกว่า สมุหสมฺพนฺธ
 อุ.

ภิก ฺข ูน ํ สงฺโฆ.

 ป.

อ. หมู่ แห่ง ภิก ษุ ท .

 ส.

สงฺโฆ ลิงฺคตฺถ ภิก ฺข ูน ํ สมุห สมฺพ นฺธ ใน สงฺโฆ ฯ

 อุ.

โคณานํ ยูโถ.

 ป.

อ. ฝูง แห่งโค ท.

 ส.

ยูโถ ลิงฺคตฺถ โคณานํ สมุห สมฺพ นฺธ ใน ยูโถ ฯ

 ๔. แปลว่า แห่ง ...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า นิท ฺธ ารณ
(มี นิทฺธารณีย รับ)
 อุ.

อหํ เตสํ (อรหนฺต านํ) อญฺญตโร (อมฺหิ).

 ป.

อ.- แห่ง พระอรหัน ต์ ท . หนา -เราเป็นพระอรหันต์
22

องค์ใดองค์หนึ่ง ย่อมเป็น ฯ
 ส.

อหํ สยกตฺตา ใน อมฺหิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก เตสํ วิ

เสสน ของ อรหนฺต านํ ๆ นิท ฺธ ารณ ใน อญฺญ ตโร ๆ นิท ฺ
ธารณีย และ วิกติกตฺตา ใน อมฺหิ ฯ
 ๕. แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียกว่า
อนาทร
 อุ.

ปุค ฺค ลสฺส เอวํ กโรนฺตสฺส.

 ป.

เมื่อ บุค คล กระทําอยู่ อย่างนี้ ฯ

 ส.

ปุค ฺค ลสฺส อนาทร ใน กโรนฺตสฺส ๆ อนาทรกิริยา เอวํ

ศัพท์ กิริยาวิเสสน ใน กโรนฺตสฺส ฯ
 ๖. แปลว่า ซึง เข้ากับนามกิตก์ (ณฺวุ ตุ ยุ ปัจจัย) เรียกว่า
่
ฉฏฺฐีกมฺม
 อุ.

จิต ฺต สฺส ทมโถ สาธุ (โหติ).

 ป.

อ.การฝึก ซึง จิต เป็นความดี ฯ
่

 ส.

ทมโถ สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก จิต ฺ

ตสฺส ฉฏฺฐ ีก มฺม ใน ทมโถ สาธุ วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ
• หลักการสัมพันธ์บทกาลสัตตมีวิภัตติ
• กาลสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง
กิริยาบ้าง
• ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กําบัง,เป็นที่ปกปิด เรียกว่า ปฏิจฺฉนฺนา
23

ธาร
• อุ.

กรณฺฑเก มณิ อตฺถิ.

• ป.

อ. แก้วมณี มีอยู่ ใน ซอกเขา.

• ส.

มณิ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท

•

กตฺตุวาจก กรณฺฑเก ปฏิจฺฉนฺนาธาร ใน อตฺถิ ฯ

• ๒.แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร
• อุ.

ติเลสุ เตลํ อตฺถิ.

• ป.

อ.นํ้ามัน มีอยู่ ในงา ท.

• ส.

เตลํ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

•

ติเลสุ พฺยาปิกาธาร ใน อตฺถิ ฯ

• ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า วิสยาธาร
• อุ.

ชเล มจฺฉา โหติ.

• ป.

อ.ปลา ย่อมอยู่ ในนํ้า ฯ

• ส.

มจฺฉา สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท

•

กตฺตุวาจก ชเล วิสยาธาร ใน โหติ ฯ

• ๔. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า สมีปาธาร
• อุ.

นครทฺวาเร คามา ติฏฺฐนฺติ.

• ป.

อ.บ้าน ท. ตั้งอยู่ ใกล้ ประตูแห่งพระนคร ฯ

• ส.

คามา สยกตฺตา ใน ติฏฺฐนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

นครทฺวาเร สมีปาธาร ใน ติฏฺฐนฺติ
• ๕. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ เป็นประธาน
เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
24

• อุ.

อชฺช สตฺตโม ทิวโส (โหติ).

• ป.

อ.วันนี้ เป็นวันที่ ๗ ย่อมเป็น ฯ

• ส.

อชฺช สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท

กตฺตุวาจก สตฺตโม วิเสสน ของ ทิวโส ๆ วิกติกตฺตา ใน โหติ
ฯ
• ๖. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า
•

นิทฺธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ)

• อ.

ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ (โหติ).

• ป.

อ._ในมนุษย์ ท.หนา _บุคคลผู้ที่ฝึกแล้ว เป็นผู้

•

ประเสริฐที่สุด ย่อมเป็น ฯ

• ส.

ทนฺโต วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน

•

โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มนุสฺเสสุ

•

นิทฺธารณ ใน ปุคฺคโล ๆ นิทฺธาณีย และ

•

วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ

• ๗. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสตฺตมี
• อุ.

ตสฺมึ สมเย ภิกฺขู โหนฺติ.

• ป.

ในสมัยนั้น อ.ภิกฺษุ ท. ย่อมมี ฯ

• ส.

ภิกฺขู สยกตฺตา ใน โหนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

ตสฺมึ วิเสสน ของ สมเย ๆ กาลสตฺตมี ใน โหนฺติ ฯ
• ๘. แปลว่า ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย เข้ากับนามบ้าง กิริยา
บ้าง เรียกว่า นิมิตตสตฺตมี
• เข้ากับนาม
25

• อุ.

การเณเนตฺถ ภวิตพฺพํ.

• ป.

อันเหตุ ในเพราะเรื่องน้ีี พึงมี ฯ

• ส.

เอตฺถ วิเสสน ของ วตฺถุมฺหิ ๆ นิมิตฺตสตฺตมี ใน การเณน

ๆ อนภิหิตกตฺตา ใน ภวิตพฺพํ ๆ กิริยาบท ภาววาจก ฯ
• ๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียกว่า
ลกฺขณ
• อุ.

สุริเย อฏฺฐงฺคเต, จนฺโท อุคฺคจฺฉติ.

• ป.

ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ ตกแล้ว, อ.พระจันท์ ย่อมขึ้นมา ฯ

• ส.

สุริเย ลกฺขณ ใน อฏฺฐงฺคเต ๆ ลกฺขณกิริยา, จนฺโท ส

ยกตฺตา ใน อุคฺคจฺฉติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ฯ
• ๑๐. แปลว่า เหนือ,บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้ เรียกว่า อุปสิเลสิ
กาธาร
• อุ.

สตฺถา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.

• ป.

อ.พระศาสดา ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะ อันบุคคลปู

ลาดแล้ว ฯ
• ส.

สตฺถา สยกตฺตา ใน นิสีทิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก

ปญฺญตฺเต วิเสสน ของ อาสเน ๆ อุปสิเลสิกาธาร ใน นิสีทิ ฯ
• ๑๑. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า ภินฺ
นาธาร
• อุ.

อิมสฺมึ สรีเร สาโร อตฺถิ.

• ป.

อ.สาระ ในสรีระ นี้ มีอยู่ ฯ

• ส.

สาโร สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
26

อิมสฺมึ วิเสสน ของ สรีเร ๆ ภินฺนาธาร ใน สาโร ฯ
• ๑๒. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า
อาธาร
• อุ.

โย ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเฐสุ (ขีณาสเวสุ) ทุสฺสติ.

• ป.

อ.บุคคล ใด ย่อมประทุษร้าย ในพระขีณาสพ ท. ผู้ไม่มี

อาชญา ด้วยอาชญา ผู้ไม่ประทุษร้ายแล้ว ฯ
• ส.

โย วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน ทุสฺสติ ๆ

อาขยาตบท กตฺตุวาจก ทณฺเฑน กรณ ใน ทุสสติ อทณฺเฑสุ
ฺ
ก็ดี อปฺปทุฏเฐสุ ก็ดี วิเสสน ของ ขีณาสเวสุ ๆ อาธาร ใน ทุสฺ
ฺ
สติ ฯ
• อุ.

เอตฺถ (สรีเร) อาพาโธ โอทหิโต.

• ป.

อ. อาพาธ ตั้งลงแล้ว ใน สรีระ นี้ ฯ

• ส.

อาพาโธ สยกตฺตา ใน โอทหิโต ๆ กิตบท กตฺตุวาจ

เอตฺถ วิเสสน ของ สรีเร ๆ อาธาร ใน โอทหิโต ฯ

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกTheeraphisith Candasaro
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์Tongsamut vorasan
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 

What's hot (20)

หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 

Viewers also liked

1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์Wataustin Austin
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์Wataustin Austin
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Wataustin Austin
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนWataustin Austin
 
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishWataustin Austin
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromiseAdrian Buban
 

Viewers also liked (20)

ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
อธิบายวากยสัมพันธ์
อธิบายวากยสัมพันธ์อธิบายวากยสัมพันธ์
อธิบายวากยสัมพันธ์
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
 
Bookchant
BookchantBookchant
Bookchant
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
Pali chant
Pali chantPali chant
Pali chant
 
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromise
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
A wise builder
A wise builderA wise builder
A wise builder
 

Similar to วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 
บาลี 05 80
บาลี 05 80บาลี 05 80
บาลี 05 80Rose Banioki
 
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์Tongsamut vorasan
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์Tongsamut vorasan
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Wataustin Austin
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
บาลี 18 80
บาลี 18 80บาลี 18 80
บาลี 18 80Rose Banioki
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 

Similar to วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์ (20)

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลี 05 80
บาลี 05 80บาลี 05 80
บาลี 05 80
 
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
บาลี 18 80
บาลี 18 80บาลี 18 80
บาลี 18 80
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์

  • 1. 1  วิชาบาลีเสริม ๑๑ วากยสัมพันธ์ บรรยายโดย   พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.   บทที่ ๑ ชื่อสัมพันธ์ ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง ๑. เป็นประธานในประโยคกตฺตุวาจก  เรียกว่า ส ยกตฺตา ๒. เป็น ปธ. ใน ปย.  เหตุกตฺตุวาจก เรียกว่า เหตุกตฺตา ๓. เป็น ปธ. ใน ปย. กมฺมวาจก หรือ เหตุกมฺมวาจก  เรียกว่า วุตฺตกมฺม ๔. เป็น ปธ. ใน ปย. กิริยาปธานนัย (ตฺวา ปัจจัยคุม  พากย์) เรียกว่า ปกติกตฺตา ๕. เป็น ปธ. ใน ปย. ไม่มีกิริยคุมพากย์  เรียกว่า ลิงฺ คตฺถ ๖. เป็น ปธ. ใน ปย. เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย, อิว,ยถา  ศัพท์) เรียกว่า อุปมาลิงฺคตฺถ  ทุติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา
  • 2. 2  ๑. แปลว่า ซึง ่ เรียกว่า อวุตฺตกมฺม  ๒. แปลว่า สู่  ๓. แปลว่า ยัง  ๔. แปลว่า สิ้น, ตลอด  ๕. แปลว่า กะ  ๖. แปลไม่ออกสําเนียงอายตนิบาต เรียกว่า กิริยาวิเส เรียกว่า เรียกว่า การิตกมฺม เรียกว่า เรียกว่า สมฺปาปุณิยกมฺม อจฺจนฺตสํโยค อกถิตกมฺม สน  ตติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง อัพยยศัพท์บ้าง  ๑. แปลว่า ด้วย เรียกว่า กรณ  ๒. แปลว่า โดย, ตาม, ทาง, ข้าง เรียกว่า ตติยาวิเส สน  ๓. แปลว่า อัน เรียกว่า อนภิหิตกตฺตา  ๔. แปลว่า เพราะ  ๕. แปลว่า มี (เข้ากับนาม), ด้วยทั้ง (เข้ากับกิริยา) เรียกว่า เหตุ เรียกว่า อิตฺถมฺภูต ๖. แปลว่า ด้วย เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ เรียกว่า  สหตฺถตติยา  จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง
  • 3. 3 กิริยาบ้าง แปลว่า แก่, เพื่อ, ต่อ, แด่  เรียกว่า สมฺ ปาทาน ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง  กิริยาบ้าง  ๑. แปลว่า แต่, จาก, กว่า เรียกว่า อปาทาน  ๒. แปลว่า เหตุ, เพราะ เรียกว่า เหตุ  ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม ๑. แปลว่า แห่ง, ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้า เรียกว่า สามี  สมฺพนฺธ ๒. แปลว่า แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์ที่  แปลว่า ความ การ อัน เรียกว่า ภาวาทิสมฺพนฺธ  ๓. แปลว่า แห่ง เนื่องในหมู่ เรียกว่า สมุหสมฺพนฺธ  ๔. แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียก ว่า อนาทร ๕. แปลว่า ซึง เข้ากับนามกิตก์ (ณวุ ตุ ยุ) ่  ฉฏฺฐีกมฺม เรียกว่า
  • 4. 4  สัตตมีวิภัตติใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กําบัง, เป็นที่ปกปิด เรียกว่า ปฏิ  จฺฉนฺนาธาร  ๒. แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร  ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า วิสยา ธาร ๔. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียก  ว่า อาธาร ๕. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน เรียก  ว่า ภินฺนาธาร ๖. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสตฺ  ตมี ๗. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง  เรียกว่า สมีปา ธาร ๘. แปลว่า ในเพราะ  เรียกว่า นิมิตฺตสตฺ ตมี ๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก  เรียกว่า ลกฺขณ ๑๐. แปลว่า เหนือ, บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้ เรียกว่า  อุปสิเลสิกาธาร
  • 5. 5 ๑๑. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน)  เรียกว่า นิทฺ ธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ) ๑๒. แปลว่า อันว่า (อ.) เป็นประธาน ลงในอรรถปฐมา  วิภัตติ เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา  อาลปน สัมพันธ์แล้วปล่อย  แปลว่า แนะ, ดูก่อน, ข้าแต่, ข้าแด่ เรียกว่า อาลปน  หมายเหตุ ถ้าอาลปนนาม มาคู่กับอาลปนนิบาต ให้ สัมพันธ์อาลปนนิบาต เป็นวิเสสนะของอาลปนนาม เช่น  อาวุโส โมคฺคลฺลาน ดูก่อนโมคคัลลานะ ผู้มีอายุ  สัมพันธ์ อาวุโส วิเสสน ของ โมคฺคลฺลาน ๆ อาลปน  วิเสสนะ เข้ากับนามบ้าง สัพพนามบ้าง  ๑. คุณนาม เรียกว่า วิเสสน  ๒. วิเสสนสัพพนาม เรียกว่า วิเสสน  ๓. นามกิตก์ที่เป็นคุณนาม  ๔. อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ เรียกว่า วิเสสน ประกอบด้วยวิภัตติอื่นจากปฐมาวิภัตติ จะอยู่หน้าหรือหลัง
  • 6. 6 ตัวประธานก็ตาม เรียกว่า วิเสสน ๕. ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยาคุมพากย์  หรือ วิกติกตฺตา เรียกว่า วิเสสน ๖. ตูนาทิปัจจัย แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังนาม  เรียกว่า วิเสสน ๗. สมาสคุณนามและตัทธิตคุณนาม เรียกว่า วิเสสน   ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม  ๑. ตถา อ. เหมือนอย่างนั้น เรียกว่า ลิงฺคตฺถ  ๒. เอวํ อ. อย่างนั้น เรียกว่า สจฺจวาจกลิงฺ  ๓. อลํ อ. อย่าเลย เรียกว่า ปฏิเสธลิงฺคตฺถ  ๔. อลํ อ. พอละ เรียกว่า ลิงฺคตฺถ  ๕. อชฺช อ. วันนี้ เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส คตฺถ ยกตฺตา ๖. อิทานิ อ.กาลนี้  เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส ยกตฺตา ๗. ตทา อ.กาลนั้น  เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตส ยกตฺตา  ๘. สาธุ อ. ดีละ เรียกว่า ลิงฺคตฺถ  ๙. ตุํ ปัจจัย ใช้เป็นประธาน เรียกว่า ตุมตฺถกตฺตา
  • 7. 7   กิริยาคุมพากย์ กิริยาคุมพากย์ ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้  ๑. กิริยาอาขยาต เรียกว่า อาขฺยาตบท  กตฺตุวาจก เช่น ปจติ เรียกว่า อาขฺยาตบท กตฺตุ วาจก กมฺมวาจก เช่น ปจิยเต เรียกว่า อาขฺยาตบท กมฺมวาจก ภาววาจก เช่น ภูยเต เรียกว่า อาขฺยาตบท ภาววาจก เหตุกตฺตุวาจก เช่น ปาเจติ เรียกว่า อาขฺยาตบท เหตุกตฺตุ วาจก เหตุกมฺมวาจก เช่น ปาจาปิยเต เรียกว่า อาขฺยาตบท เหตุ กมฺมวาจก ๒. นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย ใช้คุมพากย์ เช่น  คารยฺหา เรียกว่า กิตบท กมฺมวาจก ๓. กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ ปัจจัยใช้คุมพากย์  เรียกว่า กิตบท กตฺตุวาจก เช่น ปวิฏฺโฐ เรียกว่า กิตบท กตฺตุ  วาจก กมฺมวาจก เช่น อธิคโต เรียกว่า กิตบท กมฺม  วาจก  ภาววาจก เช่น ภวิตพฺพํ เรียกว่า กิตบท ภาว
  • 8. 8 วาจก เหตุกตฺตุกมฺมวาจก เช่น ปติฏฺฐาปิโต เรียกว่า กิตบท เหตุ กมฺมวาจก ๔. ตฺวา ปัจจัย คุมพากย์  เรียกว่า กิริยาปธาน นัย ๕. สกฺกา และ อลํ ใช้คุมพากย์  เรียกว่า กิริยาบท ภาววาจก บ้าง กิริยาบท กมฺมวาจก  บ้าง ๖. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภัตติ เป็น  กิริยาของประโยคอนาทร เรียกว่า อนาทรกิริยา ๗. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยสัตตมีวิภัตติเป็น  กิริยาของประโยคลักขณะ เรียกว่า ลกฺขณกิริยา  หมายเหตุ  ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย และ สกฺกา ใช้คุมพากย์ได้ เมื่อตัวประธานเป็นประถมบุรุษเท่านั้น ถ้าตัวประธานเป็น มัธยมบุรุษหรืออุตตมบุรุษ ให้แปล ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย หรือ สกฺกา เป็นวิกติกตฺตา ในกิริยาอาขยาต   กิริยาในระหว่าง กิริยาในระหว่าง ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้
  • 9. 9 ๑. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ  อยู่หลังตัวประธาน เรียกว่า อพฺภนฺตรกิริยา  ๒. ตูน ตฺวา ตฺวาน ปัจจัย ที่เรียกว่า ตูนาทิปัจจัย  แปลว่า แล้ว แปลตามลําดับกิริยา เรียกว่า ปุพฺพกาล กิริยา แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า อปร  กาลกิริยา  แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า เหตุ  แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย ตามลําดับกิริยา เรียกว่า สมานกาลกิริยา แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังกิริยา เรียกว่า กิริยาวิ  เสสน  แปลว่า ครั้น....แล้ว เรียกว่า ปริโยสานกาลกิริยา
  • 10. 10 ∗ การสัม พัน ธ์บ ท ปฐมาวิภ ัต ติ ∗ ปฐมาวิภ ัต ติใ ช้ใ นอรรถ ๖ อย่า ง ดัง นี้ ∗ ๑. เป็นประธานในประโยคที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เรียกชื่อว่า “ลิงคตฺถ” ∗ กึ (ปโยชนํ) เม ฆราวาเสน ฯ ∗ อ. ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองเรือน ฯ ∗ กึ วิเสสน ของ ปโยชนํ ๆ ลิง ฺค ตฺถ เม สามีสมฺพนฺธ ใน ฆ ราวาเสน ๆ กรณ ใน กึ ปโยชนํ ฯ ∗ ประโยชน์นี้สัมพันธ์ได้ ๒ อย่าง อย่างแรก สัมพันธ์เหมือน ตัวอย่างข้างบน อย่างที่ ๒ สัมพันธ์ บท เม เป็น จตุตถีวิภัตติ ออกสําเนียงว่า แก่ เช่น ∗ กึ วิเสสน ของ ปโยชนํ ๆ ลิงฺคตฺถ เม สมฺปทาน ใน กึ ปโย ชนํ ฆราวาเสน กรณ ใน กึ ปโยชนํ ฯ ∗ ๒. เป็นประธานในประโยคอุปมา เรียกชื่อว่า “อุปมาลิงฺ คตฺถ” ∗ ปุริโส ปุญฺญํ กโรนฺโต วิว ฏมุข ภาชนํ อุท กสฺส (ปู รนฺต ํ) วิย ปุญฺญสฺส ปูรติ ฯ ∗ อ.บุรุษ กระทําอยู่ ซึ่ง บุญ ย่อมเต็ม ด้วยบุญ ราวกะ อ. ภาชนะมีปากอันบุคคลเปิดแล้ว อันเต็มอยู่ ด้วยนํ้า
  • 11. 11 ฉะนั้น ฯ ∗ ปุริโส สยกตฺตา ใน ปูรติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปุญฺญํ อวุตฺตกมฺม ใน กโรนฺโต ๆ อพฺภนฺตรกิริยา ของ ปุ ริโส วิย ศัพท์ อุปมาโชตก เข้ากับ วิวฏมุขภาชนํ อุ ทกสฺส (ปูรนฺตํ) อุทกสฺส ฉฏฺฐีกรณ ใน ปูรนฺตํ ๆ วิเสสน ของ วิว ฏมุข ภาชนํ ๆ อุป มาลิง ฺค ตฺถ ปุญฺญสฺส ฉัฏฐี กรณ ใน ปูรติ ฯ ∗ ศัพท์ที่ว่าด้วย เข้ากับ ปูร ธาตุ นิยมแปลงเป็นฉัฏฐี วิภัตติ เวลาแปลออกสําเนียงอายตนิบาต ของ ตติยา วิภัตติ ∗ ๓. เป็นประธานในประโยคกัตตุวาจก เรียกชื่อว่า “สยกตฺ ตา” ∗ สูโ ท โอทนํ ปจติ ฯ ∗ อ. พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก ฯ ∗ สูโ ท สยกตฺต า ใน ปจติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก โอทนํ อวุตฺตกมฺม ใน ปจติ ฯ ∗ ๔. เป็นประธานในประโยค เหตุกัตตุวาจก เรียกชื่อว่า “เห ตุกตฺตา” ∗ สามิโ ก สูทํ/สูเทน โอทนํ ปาจาเปติ ฯ ∗ อ. นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึงข้าวสุก ฯ ่ ∗ สามิโ ก เหตุก ตฺต า ใน ปาจาเปติ ๆ อาขยาตบท เห ตุกตฺตุวาจก สูทํ /สูเทน การิตกมฺม ใน ปาจาเปติ โอทนํ
  • 12. 12 อวุตฺตกมฺม ใน ปาจาเปติ ฯ ∗ อาจริโ ย สิสฺเส พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหาเปติ ฯ ∗ อ. อาจารย์ ยังศิษย์ ท. ให้เรียนอยู่ ซึงพระพุทธพจน์ ฯ ่ ∗ อาจริโ ย เหตุก ตฺต า ใน อุคฺคณฺหาเปติ ๆ อาขยาตบท เห ตุกตฺตุวาจก สิสฺเส การิตกมฺม ใน อุคฺคณฺหาเปติ พุทฺธวจนํ อวุตฺตกมฺม ใน อุคฺคณฺหาเปติ ฯ ∗ ๕. เป็นประธานในประโยคกัมมวาจก เรียกชื่อว่า “วุตฺ ตกมฺม” ∗ สูเทน โอทโน ปจิยเต ฯ ∗ อ. ข้าวสุก อันพ่อครัว หุงอยู่ ฯ ∗ สูเทน อนภิหิตกตฺตา ใน โอทโน ๆ วุต ฺต กมฺม ใน ปจิยเต ๆ อาขายาตบท กมฺมวาจก ฯ ∗ มยา กมฺม ํ กตํ ฯ ∗ อ.การงาน อันผม กระทําแล้ว ฯ ∗ มยา อนภิหิตกตฺตา ใน กมฺม ํ ๆ วุต ฺต กมฺม ใน กตํ ๆ กิตบท กมฺมวาจก ฯ ∗ ๖. เป็นประธานในประโยคเหตุกัมมวาจก เรียกชื่อว่า “วุตฺ ตกมฺม” ∗ สามิเกน สูเทน/สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต ฯ ∗ อ.ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ฯ ∗ สามิเกน อนภิหิตกตฺตา ใน โอทโน ๆ วุต ฺต กมฺม ใน ปาจา ปิยเต ๆ อาขยาตบท เหตุกมฺมวาจก สูทํ การิตกมฺม ใน ปาจา
  • 13. 13 ปิยเต ฯ ∗ อาจริเยน สิสฺเส พุท ฺธ วจนํ สิกฺขาปิยเต ฯ ∗ อ.พระพุทธพจน์ อันอาจารย์ ยังศิษย์ ท. ให้ศึกษาอยู่ ฯ ∗ อาจริเยน อนภิหิตกตฺตา ใน สิกฺขาปิยเต พุท ฺธ จวนํ วุต ฺ ตกมฺม ใน สิกฺขาปิยเต ๆ อาขยาตบท เหตุกมฺมวาจก สิสฺเส การิตกมฺม ใน สิกฺขาปิยเต ฯ ∗ หลัก สัม พัน ธ์บ ททุต ิย าวิภ ัต ติ ∗ ทุติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยาอย่างเดียว ดังนี้ ∗ ๑. แปลว่า ซึง เรียกว่า อวุต ฺต กมฺม ่ ∗ สามเณโร ปณฺณ ํ ลิขติ ฯ
  • 14. 14 ∗ อ.สามเณร ย่อมเขียน ซึงหนังสือ ฯ ่ ∗ สามเณโร สยกตฺตา ใน ลิขติ ๆ อาขยาตบท กตฺตวาจก ปณฺณ ํ อวุต ฺต กมฺม ใน ลิขติ ฯ ∗ ภิกฺขุ ปิณ ฺฑ ปาตํ ภุญฺชติ ฯ ∗ อ. ภิกษุ ฉันอยู่ ซึ่งบิณฑบาต ฯ ∗ ภิกฺขุ สยกตฺตา ใน ภุญฺชติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปิณ ฺฑ ปาตํ อวุต ฺต กมฺม ใน ภุญฺชติ ฯ ∗ ๒. แปลว่า สู่ เรียกชื่อว่า สมฺปาปุณิยกมฺม ∗ ภิกฺขุ ปิณฺฑาย คามํ ปาวิสิ ฯ ∗ อ. ภิกษุ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑบาต ฯ ∗ ภิกฺขุ สยกตฺตา ใน ปาวิสิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปิณฺฑาย สมฺปทาน ใน คามํ ๆ สมฺป าปุณ ิย กมฺม ใน ปาวิสิ ฯ ∗ นิสิตา มหาวิท ฺย าลยํ อาคจฺฉนฺติ ฯ ∗ อ.นิสิต ท. ย่อมมา สู่ มหาวิทยาลัย ฯ ∗ นิสิตา สยกตฺตา ใน อาคจฺฉนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มหาวิท ฺย าลยํ สมฺป าปุณ ิย กมฺม ใน อาคจฺฉนฺติ ฯ ∗ ๓. แปลว่า ยัง เรียกชื่อว่า การิตกมฺม ∗ อาจริโย สิส ฺเ ส พุทฺธวจนํ สิกฺขาเปติ ฯ ∗ อ. อาจารย์ ยัง ศิษ ย์ ท . ให้ศึกษาอยู่ ซึ่งพระพุทธพจน์ ฯ ∗ อาจริโย เหตุกตฺตา ใน สิกฺขาเปติ ๆ อาขยาตบท เห ตุกตฺตุวาจก สิส ฺเ ส การิต กมฺม ใน สิกฺขาเปติ พุทฺธว
  • 15. 15 จนํ อวุตฺตกมฺม ใน สิกฺขาเปติ ฯ ∗ ๔. แปลว่า สิ้น,ตลอด เรียกชื่อว่า อจฺจนฺตสํโยค ∗ อิมสฺมึ อาวาเส อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ ฯ ∗ อ.ข้าพเจ้า เข้าอยู่จํา ซึ่งพรรษา ตลอดเดือน ๓ นี้ ใน อาวาส นี้ ฯ ∗ อหํ สยกตฺตา ใน อุเปมิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก อิมสฺมึ วิเสสน ของ อาวาเส ๆ วิสยาธาร ใน อุเปมิ อิมํ วิเสสน ของ เตมาสํ ๆ อจฺจ นฺต สํโ ยค ใน อุเปมิ ฯ ∗ ๕. แปลว่า กะ,เฉพาะ เรียกชื่อว่า “อกถิตกมฺม” ∗ ปิตา ปุต ฺต ํ กเถติ ฯ ∗ อ. บิดา กล่าวอยู่ กะ บุตร ฯ ∗ ปิตา สยกตฺตา ใน กเถติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปุต ฺต ํ อกถิต กมฺม ใน กเถติ ฯ ∗ ๖. แปลไม่ออกสําเนียงอายตนิบาต เรียกชื่อว่า “กิริยาวิเส สน” ∗ ธมฺมจารี (ปุคฺคโล) สุข ํ เสติ ฯ ∗ อ. บุคคลผู้ประพฤติธรรมเป็นปกติ ย่อมอยู่ เป็นสุข ฯ ∗ ธมฺมจารี วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน เสติ ๆ ∗ อาขยาตบท กตฺตุวาจก สุข ํ กิร ิย าวิเ สสน ใน เสติ ฯ หลักสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
  • 16. 16 ∗ ตติยาวิภัตติ ใน อรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยาบ้าง เข้ากับนาม บ้าง เข้ากับอัพยยศัพท์บ้าง ∗ ๑. แปลว่า ด้วย เรียกว่า กรณ ∗ อุ. กาเยน กมฺมํ กโรติ. ∗ ป. อ.บุคคล ย่อมกระทําซึ่งกรรม ด้วยกาย ∗ ส. ปุคฺคโล สยกตฺตา ใน กโรติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก กาเยน กรณ ใน กโรติิ กมฺมํ อวุตฺตกมฺม ใน กโรติ ฯ ∗ ๒. แปลว่า โดย, ตาม, เรียกชื่อว่า ตติย าวิเ สสน ∗ อุ. สตฺถา ทกฺขิเณน ปสฺเ สน สีหเสยฺยํ กปฺเปติ. ∗ ป. อ. พระศาสดา ทรงสําเร็จ ซึงสีหไสยาส โดยพระปรัส ่ เบื้องขวา ฯ ∗ ส. สตฺถา สยกตฺตา ใน กปฺเปติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ∗ ทกฺขิเณน วิเสสน ของ ปสฺเ สน ๆ ตติย าวิเ สสน ใน กปฺเ ปติ ∗ สีหเสยฺยํ อวุตฺตกมฺม ใน กปฺเปติ ฯ ∗ อุ. มม วจเนน เอวํ วเทหิ. ∗ ป. อ.ท่าน จงกล่าว อย่างนี้ ตามคํา ของเรา ฯ ∗ ส. ตฺวํ สยกตฺตา ใน วเทหิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มม ∗ สามีสมฺพนฺธ ใน วจเนน ๆ ตติย าวิเ สสน ใน วเทหิ ฯ ∗ ๓. แปลว่า อัน เรียกชื่อว่า อนภิห ิต กตฺต า ∗ อุ. สูเ ทน โอทโน ปจิยเต.
  • 17. 17 ∗ ป. อ. ข้าวสุก อัน พ่อ ครัว หุงอยู่ ฯ ∗ ส. โอทโน วุตฺตกมฺม ใน ปจิยเต ๆ อาขยาตบท กมฺมวาจก สูเ ทน ∗ อนภิห ิต กตฺต า ใน ปจิย เต ฯ ∗ ๔. แปลว่า เพราะ เรียกชื่อว่า เหตุ ∗ อุ. อยํ โลกิยมหาชโน ปญฺญาจกฺขุโน อภาเวน อนฺธภูโต (โหติ). ∗ ป. อ. โลกิยมหาชโน นี้ ชืิ่อว่าเป็นผู้เป็นคนบอด เป็นแล้ว ่ ∗ เพราะความไม่ม ิี แห่งจักษุคือปัญญา ย่อมเป็น ฯ ∗ ส. อยํ วิเสสน ของ โลกิยมหาชโน ๆ สยกตฺตา ใน โหติ ๆ ∗ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปญฺญาจกฺขุโน ภาวาทิสมฺพนฺธ ใน อภาเวน ๆ เหตุ ใน อนฺธ ภูโ ต ๆ วิกติกตฺตา ใน โหติ ∗ ฯ • ๕. แปลว่า มี หรือ ด้วยทั้ง เรียกชื่อว่า อิต ฺถ มฺภ ูต ∗ อิตฺถมฺภูต มีหลักการ ๒ อย่าง ดังนี้ ∗ ๑. ถ้าแปลต่อจากตัวประธานหรือนาม ก่อนกิริยา แปลว่า มี สัมพันธ์เข้ากับตัวประธานหรือนาม ใช้คําเชื่อมว่า ใน ∗ อุ. โส ปุคฺคโล ปสนฺเนน จิตฺเตน กาลมกาสิ. ∗ ป. อ.บุคคล นั้น มีใ จเลื่อ มใสแล้ว กระทําแล้ว ซึงกาละ ่ ฯ ∗ ส. โส วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน อกาสิ ๆ
  • 18. 18 อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปสนฺเนน วิเสสน ของ จิต ฺเ ตน ๆ อิต ฺถ มฺภ ูต ∗ ∗ ใน ปุค ฺค โล กาลํ อวุตฺตกมฺม ใน อกาสิ ฯ ∗ ๒. ถ้าแปลหลังกิริยา แปลว่า ด้วยทั้ง สัมพันธ์เข้ากับกิริยา ใช้คําเชื่อมว่า ใน ∗ อุ. สา (สิริมา) ...ปเวธมาเนน สรีเ รน ภิกฺขู วนฺทิ. ∗ ป. อ.นางสิริมา นั้น ...ไหว้แล้ว ซึงภิกษุ ท. ด้ว ยทั้ง สรีร ะ ่ ∗ อันสั่นอยู่ ฯ ∗ ส. สา วิเสสน ของ สิริมา ๆ สยกตฺตา ใน วนฺทิ ๆ อาขยาต บท กตฺตุวาจก ปเวธมาเนน วิเสสน ของ สรีเ รน ๆ อิต ฺถ มฺ ∗ ภูต ใน ∗ วนฺท ิ ฯ • ๖. ตติยาวิภัตติ เข้ากับ สห,สทฺธึ ศัพท์ ∗ ตติยาวิภัตติ ที่เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ ตัวตติยาวิภัตติ แปลว่า ด้ว ย สัมพันธ์ว่า สหตฺถ ตติย า ใช้คําเชื่อมว่า เข้า กับ ∗ ส่วน สห หรือ สทฺธึ ศัพท์ แปลว่า กับ เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ ๒ อย่าง คือ ∗ ๑. เข้ากับนาม เรียกชื่อว่า ทพฺพ สมวาย ใช้คําเชื่อมว่า ใน ∗ ๒. เข้ากับกิริยา เรียกชื่อว่า กิร ิย าสมวาย ใช้คําเชื่อมว่า ใน
  • 19. 19 ∗ ๑. เข้ากับนาม เรียกชื่อว่า ทพฺพสมวาย ∗ อุ. เต ภิกฺขู สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณึสุ. ∗ ป. อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น บรรลุแล้ว ซึงพระอรหัต กับ ด้ว ย ่ ∗ ปฏิสัมภิทา ท. ฯ ∗ ส. เต วิสสน ของ ภิกฺขู ๆ สยกตฺตา ใน ปาปุณึสุ ๆ อาขยาต บท กตฺตุวาจก ปฏิส มฺภ ิท าหิ สหตฺถ ตติย า เข้า กับ สห ๆ ∗ ศัพท์ ทพฺพ สมวาย ใน อรหตฺตํ ๆ อวุตฺตกมฺม ใน ปาปุณึสุ ฯ ∗ ∗ ๒. เข้ากับกิริยา เรียกชื่อว่า กิร ิย าสมวาย ∗ อุ. ภิิิกฺขู เตน (วาณิเชน) สทฺธึ มคฺคํ ปฏิปชฺชึสุ. ∗ ป. อ.ภิกษุ ท. ดําเนินไปแล้ว สู่หนทาง กับ ด้ว ย พ่อค้า นั้น ฯ ∗ ส. ภิกฺขู สยกตฺตา ใน ปฏิปชฺชึสุ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก เตน วิเสสน ของ วาณิเ ชน ๆ สหตฺถ ตติย า เข้า กับ สทฺธ ึ ∗ ∗ ๆ กิร ิย าสมวาย ใน ปฏิปชฺชึสุ ฯ หลักการสัมพันธ์บทจตุตถีวิภัตติ ∗ จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถ ๓ อย่าง เข้ากับกิริยา อย่างเดียว
  • 20. 20 เรียกชื่อว่า สมฺป ทาน ∗ ๑. แปลว่า แก่ ∗ อุ. พุทฺธสาสนิกชโน สงฺฆ สฺส ทานํ เทติ. ∗ ป. อ.พุทธศาสนิกชน ย่อมถวาย ซึงทาน แก่ สงฆ์ ฯ ่ ∗ ส. พุทฺธสาสนิกชโน สยกตฺตา ใน เทติ ๆ อาขยาตบท ∗ กตฺตุวาจก สงฺฆ สฺส สมฺป ทาน ใน เทติ ทานํ อวุตฺ ตกมฺม ∗ ใน เทติ ฯ ๒. แปลว่า เพื่อ อุ. มหามจฺโจ รญฺโ ญ ปณฺณาการํ เปเสติ. ป. อ. มหาอํามาตย์ (นายกรัฐมนตรี) ย่อมส่งไป ซึ่งเครื่องบรรณาการ เพื่อ พระราชา ฯ ส. มหามจฺโจ สยกตฺตา ใน เปเสติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก รญฺโ ญ สมฺป ทาน ใน เปเสติ ปณฺณาการํ อวุตฺตกมฺม ใน เปเสติ  หลักการสัมพันธ์บทฉัฏฐีวิภัตติ  ฉัฏฐีวิภัตติ แปลว่า แห่ง,ของ, เมื่อ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้า กับนาม  ๑. แปลว่า แห่ง , ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้าของ เรียกว่า สามี สมฺพ นฺธ  อุ. ภิกฺขุโน จีวรํ.
  • 21. 21  ป. อ.จีวร ของภิก ษุ ฯ  ส. จีวรํ ลิงฺคตฺถ ภิก ฺข ุโ น สามีส มฺพ นฺธ ใน จีวรํ ฯ  ๒. แปลว่า แห่ง , ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์ที่แปลว่า ความ การ อัน เรียกว่า ภาวาทิส มฺพ นฺธ  อุ. อชฺช โน โลเก อรหนฺต านํ นตฺถิภาโว ญาโต .  ป. อ. ความที่แห่งพระอรหันต์ ท. ย่อมไม่มี ในโลก อันเรา ท. รู้แล้ว ในวันนี้ ฯ  ส. นตฺถิภาโว วุตฺตกมฺม ใน ญาโต ๆ กิตบท กมฺมวาจก อชฺช กาลสตฺตมี ใน ญาโต โน อนภิหิตกตฺตา ใน ญาโต โล เก อาธาร ใน นตฺถิ- อรหนฺต านํ ภาวาทิส มฺพ นฺธ ใน นตฺถิ ภาโว ฯ  ๓. แปลว่า แห่ง เนื่องในหมู่ เรียกว่า สมุหสมฺพนฺธ  อุ. ภิก ฺข ูน ํ สงฺโฆ.  ป. อ. หมู่ แห่ง ภิก ษุ ท .  ส. สงฺโฆ ลิงฺคตฺถ ภิก ฺข ูน ํ สมุห สมฺพ นฺธ ใน สงฺโฆ ฯ  อุ. โคณานํ ยูโถ.  ป. อ. ฝูง แห่งโค ท.  ส. ยูโถ ลิงฺคตฺถ โคณานํ สมุห สมฺพ นฺธ ใน ยูโถ ฯ  ๔. แปลว่า แห่ง ...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า นิท ฺธ ารณ (มี นิทฺธารณีย รับ)  อุ. อหํ เตสํ (อรหนฺต านํ) อญฺญตโร (อมฺหิ).  ป. อ.- แห่ง พระอรหัน ต์ ท . หนา -เราเป็นพระอรหันต์
  • 22. 22 องค์ใดองค์หนึ่ง ย่อมเป็น ฯ  ส. อหํ สยกตฺตา ใน อมฺหิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก เตสํ วิ เสสน ของ อรหนฺต านํ ๆ นิท ฺธ ารณ ใน อญฺญ ตโร ๆ นิท ฺ ธารณีย และ วิกติกตฺตา ใน อมฺหิ ฯ  ๕. แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียกว่า อนาทร  อุ. ปุค ฺค ลสฺส เอวํ กโรนฺตสฺส.  ป. เมื่อ บุค คล กระทําอยู่ อย่างนี้ ฯ  ส. ปุค ฺค ลสฺส อนาทร ใน กโรนฺตสฺส ๆ อนาทรกิริยา เอวํ ศัพท์ กิริยาวิเสสน ใน กโรนฺตสฺส ฯ  ๖. แปลว่า ซึง เข้ากับนามกิตก์ (ณฺวุ ตุ ยุ ปัจจัย) เรียกว่า ่ ฉฏฺฐีกมฺม  อุ. จิต ฺต สฺส ทมโถ สาธุ (โหติ).  ป. อ.การฝึก ซึง จิต เป็นความดี ฯ ่  ส. ทมโถ สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก จิต ฺ ตสฺส ฉฏฺฐ ีก มฺม ใน ทมโถ สาธุ วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ • หลักการสัมพันธ์บทกาลสัตตมีวิภัตติ • กาลสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง • ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กําบัง,เป็นที่ปกปิด เรียกว่า ปฏิจฺฉนฺนา
  • 23. 23 ธาร • อุ. กรณฺฑเก มณิ อตฺถิ. • ป. อ. แก้วมณี มีอยู่ ใน ซอกเขา. • ส. มณิ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท • กตฺตุวาจก กรณฺฑเก ปฏิจฺฉนฺนาธาร ใน อตฺถิ ฯ • ๒.แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร • อุ. ติเลสุ เตลํ อตฺถิ. • ป. อ.นํ้ามัน มีอยู่ ในงา ท. • ส. เตลํ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก • ติเลสุ พฺยาปิกาธาร ใน อตฺถิ ฯ • ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า วิสยาธาร • อุ. ชเล มจฺฉา โหติ. • ป. อ.ปลา ย่อมอยู่ ในนํ้า ฯ • ส. มจฺฉา สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท • กตฺตุวาจก ชเล วิสยาธาร ใน โหติ ฯ • ๔. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า สมีปาธาร • อุ. นครทฺวาเร คามา ติฏฺฐนฺติ. • ป. อ.บ้าน ท. ตั้งอยู่ ใกล้ ประตูแห่งพระนคร ฯ • ส. คามา สยกตฺตา ใน ติฏฺฐนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก นครทฺวาเร สมีปาธาร ใน ติฏฺฐนฺติ • ๕. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ เป็นประธาน เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
  • 24. 24 • อุ. อชฺช สตฺตโม ทิวโส (โหติ). • ป. อ.วันนี้ เป็นวันที่ ๗ ย่อมเป็น ฯ • ส. อชฺช สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก สตฺตโม วิเสสน ของ ทิวโส ๆ วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ • ๖. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า • นิทฺธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ) • อ. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ (โหติ). • ป. อ._ในมนุษย์ ท.หนา _บุคคลผู้ที่ฝึกแล้ว เป็นผู้ • ประเสริฐที่สุด ย่อมเป็น ฯ • ส. ทนฺโต วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน • โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มนุสฺเสสุ • นิทฺธารณ ใน ปุคฺคโล ๆ นิทฺธาณีย และ • วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ • ๗. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสตฺตมี • อุ. ตสฺมึ สมเย ภิกฺขู โหนฺติ. • ป. ในสมัยนั้น อ.ภิกฺษุ ท. ย่อมมี ฯ • ส. ภิกฺขู สยกตฺตา ใน โหนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ตสฺมึ วิเสสน ของ สมเย ๆ กาลสตฺตมี ใน โหนฺติ ฯ • ๘. แปลว่า ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย เข้ากับนามบ้าง กิริยา บ้าง เรียกว่า นิมิตตสตฺตมี • เข้ากับนาม
  • 25. 25 • อุ. การเณเนตฺถ ภวิตพฺพํ. • ป. อันเหตุ ในเพราะเรื่องน้ีี พึงมี ฯ • ส. เอตฺถ วิเสสน ของ วตฺถุมฺหิ ๆ นิมิตฺตสตฺตมี ใน การเณน ๆ อนภิหิตกตฺตา ใน ภวิตพฺพํ ๆ กิริยาบท ภาววาจก ฯ • ๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียกว่า ลกฺขณ • อุ. สุริเย อฏฺฐงฺคเต, จนฺโท อุคฺคจฺฉติ. • ป. ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ ตกแล้ว, อ.พระจันท์ ย่อมขึ้นมา ฯ • ส. สุริเย ลกฺขณ ใน อฏฺฐงฺคเต ๆ ลกฺขณกิริยา, จนฺโท ส ยกตฺตา ใน อุคฺคจฺฉติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ฯ • ๑๐. แปลว่า เหนือ,บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้ เรียกว่า อุปสิเลสิ กาธาร • อุ. สตฺถา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ. • ป. อ.พระศาสดา ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะ อันบุคคลปู ลาดแล้ว ฯ • ส. สตฺถา สยกตฺตา ใน นิสีทิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปญฺญตฺเต วิเสสน ของ อาสเน ๆ อุปสิเลสิกาธาร ใน นิสีทิ ฯ • ๑๑. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า ภินฺ นาธาร • อุ. อิมสฺมึ สรีเร สาโร อตฺถิ. • ป. อ.สาระ ในสรีระ นี้ มีอยู่ ฯ • ส. สาโร สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
  • 26. 26 อิมสฺมึ วิเสสน ของ สรีเร ๆ ภินฺนาธาร ใน สาโร ฯ • ๑๒. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า อาธาร • อุ. โย ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเฐสุ (ขีณาสเวสุ) ทุสฺสติ. • ป. อ.บุคคล ใด ย่อมประทุษร้าย ในพระขีณาสพ ท. ผู้ไม่มี อาชญา ด้วยอาชญา ผู้ไม่ประทุษร้ายแล้ว ฯ • ส. โย วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน ทุสฺสติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ทณฺเฑน กรณ ใน ทุสสติ อทณฺเฑสุ ฺ ก็ดี อปฺปทุฏเฐสุ ก็ดี วิเสสน ของ ขีณาสเวสุ ๆ อาธาร ใน ทุสฺ ฺ สติ ฯ • อุ. เอตฺถ (สรีเร) อาพาโธ โอทหิโต. • ป. อ. อาพาธ ตั้งลงแล้ว ใน สรีระ นี้ ฯ • ส. อาพาโธ สยกตฺตา ใน โอทหิโต ๆ กิตบท กตฺตุวาจ เอตฺถ วิเสสน ของ สรีเร ๆ อาธาร ใน โอทหิโต ฯ