SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การหมั้น
การที่ ชาย หญิง จะทาการสมรส เป็น สามี ภริยากันนั้น จะมีการหมั้นกันก่อนก็ได้ หรือ จะไม่หมั้นก็ได้จะทาการสมรสกัน
ทีเดียวก็ได้ ไม่มี
กฎหมายบังคับว่า จะต้องมีการหมั้นก่อน แล้วจึงจะสมรสกันได้ ดังนั้น กฎหมายจึงได้บัญญัติอายุของชายหญิงที่จะสามารถจะทาการ
หมั้นกันได้
ไว้เท่ากับอายุของชายหญิงที่จะสามารถทาการสมรสเป็น สามี ภริยากัน แต่ถ้ามีการหมั้น ก็ต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายว่าด้วยการ
หมั้น
ขอบเขตหรือเนื้อหาสาระของการหมั้น
1. ความหมายของการหมั้น
2. คู่สัญญาในการหมั้น
3. เงื่อนไขการหมั้น
4. ผลของสัญญาหมั้น
5. การสิ้นสุดสัญญาหมั้น
ความหมายของการหมั้น
การที่ ชาย และหญิงนั้น ทาการตกลงกัน เพื่อที่จะทาการสมรสกัน ในภายภาคหน้า หรือในอนาคต ( อาจจะมีกาหนด
ระยะเวลา หรือไม่ก็ได้)
ผลของสัญญาหมั้น (มาตรา 1438)
มาตรา 1438 “ การหมั้นไม่เป็นเหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ถ้าไม่มีข้อตกลงกันไว้ว่าจะให้เบี้ยปรับ
ในเมื่อผิดสัญญาหมั้น ข้อตกลงนั้น เป็นโมฆะ ”
มาตรา 1439 เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่ง มีสิทธิเรียกให้รับผิด ใช้ค่าทดแทน ใน
กรณีที่ฝ่ายหญิง เป็นฝ่ายที่ผิด สัญญาหมั้น ให้คืนของหมั้น แก่ฝ่ายชายด้วย
มาตรา 1440 ค่าทดแทนนั้น อาจเรียกได้ดังต่อไปนี้
1. ทดแทนความเสียหาย ต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชาย หรือหญิงนั้น
2. ทดแทนความเสียหาย เนื่องจากการที่ คู่หมั้น บิดา มารดาหรือบุคคล ผู้กระทาการในฐานะเช่น บิดา มารดา ได้ใช้จ่าย หรือต้องตก เป็นลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรส
โดยสุจริต และตามสมควร
3. ทดแทนความเสียหาย เนื่องจาก การที่คู่หมั้น ได้จัดการทรัพย์สิน หรือการอื่น อันเกี่ยวกับอาชีพ หรือทางทามาหาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการ
สมรส
การกาหนดค่าทดแทนเนื่องจากการผิดสัญญาหมั้น
ในกรณีที่หญิง เป็นผู้มีสิทธิได้ค่าทดแทน ศาลอาจชี้ขาดว่า ของหมั้น ที่ตกเป็นสิทธิแก่หญิง
นั้น เป็นค่าทดแทนทั้งหมด หรือ เป็นส่วนหนึ่ง ของค่าทดแทน ที่หญิงพึงได้รับ หรือ ศาล อาจ
ให้ค่า ทดแทน โดยไม่คานึงถึงของหมั้น ที่ตกเป็นสิทธิ แก่หญิงนั้นก็ได้
ค่าทดแทนอันอาจจะสามารถเรียกได้เนื่องจากการหมั้น
(1) ค่าทดแทนความเสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น
เมื่อฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง ผิดสัญญาหมั้น อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อกาย หรือ ชื่อเสียง ของอีกฝ่ายหนึ่งได้ความ
เสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงนี้ ต้องเป็นความเสียหาย ซึ่งตามปกติ จะเกิดจากการผิดสัญญาหมั้นโดยตรง เช่น หญิง เมื่อได้
หมั้นกับชายแล้ว ได้แต่งงานอยู่กิน ฉันสามี ภริยา โดยยังมิได้จดทะเบียนสมรส หากชายไม่ยอมทาการสมรส อันเป็น การ
ผิดสัญญาหมั้น หญิง ย่อมได้รับความเสียหาย ต่อกาย ที่ได้เสียความบริสุทธิ์ไป
กรณีดังกล่าวข้างต้น แม้หญิงจะสมัครใจอยู่กินกับชาย ก็เป็นไปตาม ประเพณี และมีข้อผูกพันตามสัญญาหมั้นว่าจะได้ทาการสมรสกันตามกฎหมาย ต่อไป เมื่อชายผิดสัญญาหมั้น ย่อม
ทาให้หญิง ได้รับความเสียหายต่อกาย
และเรียกค่าทดแทนได้
* คลิกดูตัวอย่าง *
ข้อสังเกตอื่น ๆ
ในการพิจารณา เกี่ยวกับค่าทดแทน ตามความใน มาตรา 1440 (1) คือ
ก. การพิจารณา ต้องคานึงถึงสภาพความเป็นจริง ที่หญิงอาจเสียหายต่อชื่อเสียง ได้ง่ายกว่า การที่ชายปฏิเสธไม่ยอมสมรสกับหญิง แม้จะไม่ปรากฏว่าได้ทาอะไรอย่างอื่น อันเป็นการ
กระทบกระเทือน ชื่อเสียงของหญิงบางกรณี ก็ทาให้หญิง ได้รับความเสียหาย ต่อชื่อเสียงได้เช่น ชายผิดสัญญาหมั้น ไม่ยอมมาแต่งงานกับหญิง ตามที่กาหนดไว้ถึง 2 ครั้ง โดยปราศจากเหตุผล
เช่นนี้ หญิงย่อมได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง และเรียกค่าทดแทนในส่วนนี้ได้แต่ หากการที่ชายไม่ยอมสมรส มีเหตุซึ่งไม่กระทบกระเทือน ต่อชื่อเสียง ของหญิง ก็ไม่เป็นเหตุให้
หญิงเรียกค่า ทดแทน ความเสียหายต่อชื่อเสียงได้เช่น ชายหมั้นหญิง แล้วต่อมาได้อุปสมบท เป็นพระภิกษุแล้วเกิดมีจิตศรัทธา ในสมณเพศ ไปตลอดชีวิต จึงปฏิเสธการสมรส ดังนี้ ชายเป็นผู้ผิด
สัญญาหมั้น เมื่อไม่ปรากฎ ว่าชายได้หาอะไรอย่างอื่น ให้กระทบกระเทือน ต่อชื่อเสียง ของหญิง เหตุผลเพียงเท่านี้ไม่ถึงกับทาให้หญิง ได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียง
ข . ลาพังแต่เพียงที่ฝ่ายชาย หรือฝ่ายหญิง ผิดสัญญาหมั้น ไม่เป็นผล ให้เกิดความเสียหายต่อกาย และชื่อเสียงเสมอไป หมายความว่า เมื่อฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง ผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่ง
จะต้องได้รับความเสียหายต่อกาย หรือ ชื่อเสียง ต่อการผิดสัญญาหมั้นด้วย จึงจะเรียกค่าทดแทนได้การอ้างว่า ได้รับความเสียหาย โดยไม่ปรากฏว่าได้รับความเสียหายอย่างไรจึงไม่พอเพียง ที่จะ
ให้อีกฝ่ายหนึ่ง ใช้ค่าทดแทนให ้้
ค . กฎหมายบัญญัติ ให้เรียกค่าทดแทน ได้เฉพาะความเสียหาย ต่อกายหรือชื่อเสียงเท่านั้น ดังนั้น ความอับอาย ความเสียใจ อันเป็นความเสียหาย ทางจิตใจ จึงไม่สามารถนามาอ้าง
เพื่อเรียกค่าทดแทนได้
ค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากการค่าเนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร
ทดแทน
ค่าความเสียหาย เนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดา มารดา หรือบุคคล ผู้กระทาการในฐานะ เช่น บิดา มารดาได้ใช้จ่าย หรือต้องตกเป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริต และตาม
สมควร
กรณีที่จะเป็นความเสียหายตามมาตรา 1440(2)
1. ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส
หมายถึง ค่าใช้จ่ายอันจาเป็น เพื่อเตรียมการที่ ชาย หญิงจะได้อยู่กิน เป็น สามี ภริยากันโดยตรง เช่น ค่าใช้จ่ายในการซื้อ เครื่องครัวเรือน ที่นอนหมอนมุ้ง เป็นต้น ส่วนค่าใช้จ่ายอย่างอื่น
แม้จะใช้จ่ายไปในการสมรส แต่ถ้าไม่ใช่สิ่งจาเป็นเพื่อการที่ชายหญิง จะอยู่กินเป็นสามีภาริยากันแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียม การสมรส เช่น ค่าใช้จ่ายในพิธีหมั้น ค่าใช้จ่ายในการ
เลี้ยงดู แขกในงาน เป็นต้น
* คลิกดูตัวอย่าง *
2. ต้องเป็นค่าใช้จ่ายโดยสุจริตและตามสมควร
หมายถึง ต้องเข้าใจโดยสุจริต ว่าจะได้มีการสมรส หากทราบอยู่แล้ว ว่าอีกฝ่ายหนึ่งปฏิเสธ ไม่ยอมทาการสมรส ยังขืนซื้อข้าวของ
เพื่อเตรียมการสมรสอีก ดังนี้ ถือว่าไม่สุจริต จะเรียกค่าทดแทนมิได้การใช้จ่าย ต้องเป็นไปตามสมควร แก่ฐานานุรูปเพียงใดจะถือว่าเป็น
การสมควรนั้น ต้องพิจารณาเป็นเรื่อง ๆ ไป เพราะความสมควรแก่ ฐานานุรูป ของแต่ละบุคคล ย่อมไม่เหมือนกัน ฉะนั้น หากฝ่ายใด
ฝ่ายหนึ่ง เตรียมการสมรสไป จนเกิดสมควร แก่ฐานานุรูปส่วนที่ เกินสมควรไปนั้น ย่อมนามาเรียกค่าทดแทนจ ากอีกฝ่ายหนึ่ง มิได้
3. ต้องเป็นค่าทดแทนที่ได้เสียหายไปจริงเนื่องจากการเตรียมการสมรส
ไม่ใช่จะเรียกค่าทดแทน ได้เต็มจานวนที่ได้ใช้จ่ายเสมอไปเพราะการใช้จ่ายเช่นนั้น อาจไม่เกิดความเสียหาย หรือ
เสียหาย น้อยกว่า
จานวนที่ได้ใช้จ่ายไปก็ได้เช่นเมื่อหมั้นแล้วฝ่ายหญิงได้ซื้อเครื่องเรือน เครื่องครัวไปเป็นเงิน 40,000 บาท ฝ่ายชายผิด
สัญญา ฝ่ายหญิง
จึงนาเอาของเหล่านั้นไปขาย ได้เงินมา 25,000 บาท
ดังนี้ฝ่ายหญิงมีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้เฉพาะจานวนที่ขาดทุนไป คือ 15,000 บาทจะเรียกเต็มจานวนที่ได้ใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส
คือ 40,000 บาทไม่ได้หรือตามตัวอย่างดังกล่าวข้างต้นหากฝ่ายหญิง นาเครื่องเรือนเครื่องครัวนั้น ขายคืนให้แก่ร้านที่ซื้อมา ได้ราคาเต็ม
จานวน40,000 บาทกรณีเช่นนี้ก็ถือว่าฝ่ายหญิงไม่ได้รับความเสียหาย แต่อย่างใด จึงไม่สามารถเรียกค่าทดแทนตามมาตรา 1440 (2) ได้
4. การเตรียมการสมรสที่เรียกค่าทดแทนได้ตามความในมาตรา 1440 (2)
การเตรียมการสมรส ที่เรียกค่าทดแทน ได้ตามความในมาตรา 1440(2) นั้น นอกจากความเสียหาย เนื่องจากการใช้จ่ายแล้ว
ถ้าความเสียหายนั้น เกิดเพราะต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรส แม้ยังมิได้ใช้จ่ายไปจริง กฎหมายก็ให้สิทธิ ที่จะ
เรียกค่าทดแทนได้เพราะการตกเป็นลูกหนี้นั้น ต้องรับผิด ในการชาระหนี้อยู่แล้ว
5. ผู้มีสิทธิเรียกค่าทดแทนตามความมาตรา 1440(2)
นอกจากตัวคู่หมั้นแล้ว ยังรวมถึง บิดา มารดา หรือ บุคคล ผู้กระทาการ ในฐานะเช่น บิดา มารดาด้วย
บุคคลผู้กระทาการในฐานะเช่น บิดา มารดา หมายความถึง ผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น ซึ่งกระทาการในฐานะ เช่น บิดา มารดา ในทางพฤตินัย แม้จะไม่ใช่ผู้ปกครองตามกฎหมาย บุคคล
ดังกล่าว เหล่านี้ มีสิทธิที่จะเรียกค่าทดแทน ความเสียหาย ในการเตรียมการสมรส ในมาตรา 1440 (2) นี้ได้ทั้งสิ้น
ข้อสังเกตบางประการในการพิจารณาค่าทดแทนตามมาตรา 1440(2)
ก. "ผู้ใช้สิทธิเรียกค่าทดแทน ในการเตรียม การสมรส ต้องนาสืบให้ชัดแจ้ง ว่าได้ใช้จ่ายไปอย่างไร อันเป็นการเตรียม การสมรส " การกล่าวอ้างว่าได้ใช้จ่าย เป็นจานวน โดยเท่านั้นเท่านี้
โดยไม่ระบุว่า ใช้จ่ายเป็นค่าอะไร ย่อมจะบังคับให้อีกฝ่ายชาระ ค่าทดแทนความเสียหายให้ไม่ได้
ตัวอย่าง
ค่าใช้จ่ายในพิธีแต่งงาน โจทก์ว่าใช้จ่ายไป 1,500 บาท ไม่ปรากฏว่า เป็นค่าอะไร แม้เป็นทานองว่า เป็นค่าเลี้ยงดู
กันก็ไม่เข้า
ลักษณะอันพึงเรียกได้ตามมาตรา 1440 (2) ปัจจุบัน
ข. ค่าใช้จ่ายตามประเพณี เช่น การทาบุญตักบาตรค่าอาหาร เลี้ยงพระ ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่าย เนื่องในการเตรียมการสมรส
ค . เมื่อมีการหมั้น และอยู่กินด้วยกันฉันสามีภาริยาแล้วแม้จะเป็นเวลานานเท่าใดก็ตาม หากยังมิได้จดทะเบียนสมรส ก็คงถือว่าอยู่ใน
ระหว่างหมั้น อาจต้องรับผิดตามสัญญาหมั้นได้ถ้าไม่ปรากฏว่า ทั้งสองฝ่ายไม่นาพา หรือไม่สนใจ ต่อการจดทะเบียนสมรสกันเอง
ค่าทดแทนความเสียหาย เนื่องจากที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สินหรือการอื่นอันเกี่ยวแก่
อาชีพ
หรือการทามาหาได้ของตนไปโดยสมควรด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส
ในมาตรา 1440(3) นี้ แสดงว่าจะเรียกค่าทดแทนได้ก็ต่อเมื่อ คู่หมั้น
ก . ได้จัดการทรัพย์สินของตน หรือ
ข. จัดการอื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทามาหาได้ของตน
กรณีนี้แสดงว่า การจัดการ ตามมาตรา 1440 (3) นี้ ต้องเป็น การจัดการของตัวคู่หมั้นเอง โดยเฉพาะ ไม่รวมถึงการจัดการ ของบุคคลอื่น แม้จะเป็น บิดา มารดา หรือผู้ปกครองก็ตาม
การจัดการของคู่หมั้นดังกล่าว มีอยู่ 2 กรณี คือ การจัดทรัพย์สินของตน หรือ การอื่น อันเกี่ยวกับอาชีพ หรือทางทามาหาได้ของตน หมายความว่า ต้องเป็นทรัพย์สิน , ทางทามาหาได้หรือ อาชีพ
ของคู่หมั้นด้วย ถ้าคู่หมั้น ไปจัดการทรัพย์สินของ บิดา มารดา หรือผู้อื่น น่าจะไม่เข้าตาม ในมาตรา 1440 (3)
การจัดการของคู่หมั้นตามข้อ 1. ต้องเป็นไปโดยสมควร
อย่างไร เป็นการสมควร ต้องคานึงถึงพฤติการณ์ และ ข้อเท็จจริง เป็นกรณีไป เช่น ได้ขายทรัพย์สินของตนไปโดยรีบร้อน ทาให้ขาดทุน ซึ่งหากจะรอไปอีก ให้ได้ราคามากขึ้น ก็สามารถ
ทาได้เช่นนี้ ถือได้ว่า จัดการโดยไม่สมควร จะเรียกค่าทดแทน ในส่วนที่ขาดทุน โดยไม่สมควรนี้ไม่ได้
ต้องเป็นการจัดการด้วยความคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส
หมายความว่า เพราะเหตุว่า ที่จะได้มีการสมรสในภายหน้า จึงได้จัดการไปเช่นนั้น ดังนั้น หากรู้อยู่แล้วว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะไม่ทาการสมรสด้วย หรือ ในกรณีที่ ฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งจัดการไป
ตามปกติของอาชีพ หรือด้วยเจตนาที่แม้จะไม่มีการสมรส ก็ควรจัดการเช่นนั้น จึงไม่ถือว่า เป็นการจัดการด้วยความคาดหมาย ว่าจะได้มีการสมรส ไม่สามารถ เรียกค่าทดแทนตามความ ใน
มาตรา 1440 (3) ได้
* คลิกดูตัวอย่าง *
คู่หมั้นฝ่ ายที่จัดการได้รับความเสียหายเนื่องจากคู่หมั้นอีกฝ่ ายหนึ่งผิดสัญญาหมั้น
หมายความว่า ต้องได้รับความเสียหายจริง ๆ จากการจัดการดังกล่าว หากการจัดการทรัพย์สิน หรือทางทามาหา
ได้นั้นได้รับกาไร
หรือไม่ขาดทุน ย่อมถือไม่ได้ได้มาเกิดความเสียหาย กรณีเช่นนี้ จึงเรียกค่าทดแทนกันไม่ได้หรือ ความเสียหายนั้น
เกิดขึ้นตามปกติ ถึงแม้อีกฝ่ายหนึ่ง จะไม่ผิดสัญญาหมั้น เช่นนี้ ก็น่าจะเรียกค่าทดแทน ในส่วนนี้ ไม่ได้เช่นกัน
ข้อสังเกต ประการหนึ่ง จากมาตรา 1440 (3) แม้จะมิได้กล่าวถึง ความสุจริตของคู่หมั้นไว้ด้วย แต่หากความเสียหายนั้น เกิดขึ้นเพราะฝ่ายที่จัดการ เป็นผู้ก่อขึ้นเอง อาจเรียกค่าทดแทน
ไม่ได้เลย หรือได้ไม่เต็มจานวน ทั้งน ้ี้้ ตามหลักทั่วไปในมาตรา 223
มาตรา 1446 บัญญัติว่า “ ชายคู่หมั้น อาจเรียกค่าทดแทนจากชายอื่น ซึ่งได้ข่มขืนกระทาชาเรา หรือพยายามข่มขืน กระทา
ชาเรา หญิงคู่หมั้น โดยรู้ หรือควรจะรู้ว่า หญิงได้หมั้นแล้ว ได้โดยไม่จาต้องบอกเลิกสัญญาหมั้น ”
ชายคู่หมั้น อาจเรียกค่าทดแทน จากชายอื่นตามมาตรานี้ โดยมีเงื่อนไข ว่า ชายอื่นต้องรู้ หรือควรรู้ว่าหญิงนั้น ได้หมั้นกับชายคู่หมั้นนั้นแล้ว และสาหรับกรณีข่มขืนนี้ ถือว่ามิได้เกิดจาก
ความสมัครใจ หรือเกิดจากความยินยอม ของหญิงคู่หมั้น และมิใช่ เป็นการกระทาชั่ว ของหญิงนั้นแต่อย่างใด จึงไม่ใช่ความผิดของหญิง กฎหมายจึงบัญญัติให้ชาย เรียกค่าทดแทนได้โดยไม่ต้อง
มีการบอกเลิกสัญญาหมั้น ซึ่งแตกต่างกับ มาตรา 1445

More Related Content

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 

กฎหมายครอบครัว การหมั้น

  • 1. การหมั้น การที่ ชาย หญิง จะทาการสมรส เป็น สามี ภริยากันนั้น จะมีการหมั้นกันก่อนก็ได้ หรือ จะไม่หมั้นก็ได้จะทาการสมรสกัน ทีเดียวก็ได้ ไม่มี กฎหมายบังคับว่า จะต้องมีการหมั้นก่อน แล้วจึงจะสมรสกันได้ ดังนั้น กฎหมายจึงได้บัญญัติอายุของชายหญิงที่จะสามารถจะทาการ หมั้นกันได้ ไว้เท่ากับอายุของชายหญิงที่จะสามารถทาการสมรสเป็น สามี ภริยากัน แต่ถ้ามีการหมั้น ก็ต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายว่าด้วยการ หมั้น ขอบเขตหรือเนื้อหาสาระของการหมั้น 1. ความหมายของการหมั้น 2. คู่สัญญาในการหมั้น 3. เงื่อนไขการหมั้น 4. ผลของสัญญาหมั้น 5. การสิ้นสุดสัญญาหมั้น ความหมายของการหมั้น การที่ ชาย และหญิงนั้น ทาการตกลงกัน เพื่อที่จะทาการสมรสกัน ในภายภาคหน้า หรือในอนาคต ( อาจจะมีกาหนด ระยะเวลา หรือไม่ก็ได้) ผลของสัญญาหมั้น (มาตรา 1438) มาตรา 1438 “ การหมั้นไม่เป็นเหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ถ้าไม่มีข้อตกลงกันไว้ว่าจะให้เบี้ยปรับ ในเมื่อผิดสัญญาหมั้น ข้อตกลงนั้น เป็นโมฆะ ” มาตรา 1439 เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่ง มีสิทธิเรียกให้รับผิด ใช้ค่าทดแทน ใน
  • 2. กรณีที่ฝ่ายหญิง เป็นฝ่ายที่ผิด สัญญาหมั้น ให้คืนของหมั้น แก่ฝ่ายชายด้วย มาตรา 1440 ค่าทดแทนนั้น อาจเรียกได้ดังต่อไปนี้ 1. ทดแทนความเสียหาย ต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชาย หรือหญิงนั้น 2. ทดแทนความเสียหาย เนื่องจากการที่ คู่หมั้น บิดา มารดาหรือบุคคล ผู้กระทาการในฐานะเช่น บิดา มารดา ได้ใช้จ่าย หรือต้องตก เป็นลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรส โดยสุจริต และตามสมควร 3. ทดแทนความเสียหาย เนื่องจาก การที่คู่หมั้น ได้จัดการทรัพย์สิน หรือการอื่น อันเกี่ยวกับอาชีพ หรือทางทามาหาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการ สมรส การกาหนดค่าทดแทนเนื่องจากการผิดสัญญาหมั้น ในกรณีที่หญิง เป็นผู้มีสิทธิได้ค่าทดแทน ศาลอาจชี้ขาดว่า ของหมั้น ที่ตกเป็นสิทธิแก่หญิง นั้น เป็นค่าทดแทนทั้งหมด หรือ เป็นส่วนหนึ่ง ของค่าทดแทน ที่หญิงพึงได้รับ หรือ ศาล อาจ ให้ค่า ทดแทน โดยไม่คานึงถึงของหมั้น ที่ตกเป็นสิทธิ แก่หญิงนั้นก็ได้ ค่าทดแทนอันอาจจะสามารถเรียกได้เนื่องจากการหมั้น (1) ค่าทดแทนความเสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น เมื่อฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง ผิดสัญญาหมั้น อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อกาย หรือ ชื่อเสียง ของอีกฝ่ายหนึ่งได้ความ เสียหายต่อกาย หรือชื่อเสียงนี้ ต้องเป็นความเสียหาย ซึ่งตามปกติ จะเกิดจากการผิดสัญญาหมั้นโดยตรง เช่น หญิง เมื่อได้ หมั้นกับชายแล้ว ได้แต่งงานอยู่กิน ฉันสามี ภริยา โดยยังมิได้จดทะเบียนสมรส หากชายไม่ยอมทาการสมรส อันเป็น การ ผิดสัญญาหมั้น หญิง ย่อมได้รับความเสียหาย ต่อกาย ที่ได้เสียความบริสุทธิ์ไป กรณีดังกล่าวข้างต้น แม้หญิงจะสมัครใจอยู่กินกับชาย ก็เป็นไปตาม ประเพณี และมีข้อผูกพันตามสัญญาหมั้นว่าจะได้ทาการสมรสกันตามกฎหมาย ต่อไป เมื่อชายผิดสัญญาหมั้น ย่อม ทาให้หญิง ได้รับความเสียหายต่อกาย และเรียกค่าทดแทนได้ * คลิกดูตัวอย่าง * ข้อสังเกตอื่น ๆ
  • 3. ในการพิจารณา เกี่ยวกับค่าทดแทน ตามความใน มาตรา 1440 (1) คือ ก. การพิจารณา ต้องคานึงถึงสภาพความเป็นจริง ที่หญิงอาจเสียหายต่อชื่อเสียง ได้ง่ายกว่า การที่ชายปฏิเสธไม่ยอมสมรสกับหญิง แม้จะไม่ปรากฏว่าได้ทาอะไรอย่างอื่น อันเป็นการ กระทบกระเทือน ชื่อเสียงของหญิงบางกรณี ก็ทาให้หญิง ได้รับความเสียหาย ต่อชื่อเสียงได้เช่น ชายผิดสัญญาหมั้น ไม่ยอมมาแต่งงานกับหญิง ตามที่กาหนดไว้ถึง 2 ครั้ง โดยปราศจากเหตุผล เช่นนี้ หญิงย่อมได้รับความเสียหายแก่ชื่อเสียง และเรียกค่าทดแทนในส่วนนี้ได้แต่ หากการที่ชายไม่ยอมสมรส มีเหตุซึ่งไม่กระทบกระเทือน ต่อชื่อเสียง ของหญิง ก็ไม่เป็นเหตุให้ หญิงเรียกค่า ทดแทน ความเสียหายต่อชื่อเสียงได้เช่น ชายหมั้นหญิง แล้วต่อมาได้อุปสมบท เป็นพระภิกษุแล้วเกิดมีจิตศรัทธา ในสมณเพศ ไปตลอดชีวิต จึงปฏิเสธการสมรส ดังนี้ ชายเป็นผู้ผิด สัญญาหมั้น เมื่อไม่ปรากฎ ว่าชายได้หาอะไรอย่างอื่น ให้กระทบกระเทือน ต่อชื่อเสียง ของหญิง เหตุผลเพียงเท่านี้ไม่ถึงกับทาให้หญิง ได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียง ข . ลาพังแต่เพียงที่ฝ่ายชาย หรือฝ่ายหญิง ผิดสัญญาหมั้น ไม่เป็นผล ให้เกิดความเสียหายต่อกาย และชื่อเสียงเสมอไป หมายความว่า เมื่อฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง ผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่ง จะต้องได้รับความเสียหายต่อกาย หรือ ชื่อเสียง ต่อการผิดสัญญาหมั้นด้วย จึงจะเรียกค่าทดแทนได้การอ้างว่า ได้รับความเสียหาย โดยไม่ปรากฏว่าได้รับความเสียหายอย่างไรจึงไม่พอเพียง ที่จะ ให้อีกฝ่ายหนึ่ง ใช้ค่าทดแทนให ้้ ค . กฎหมายบัญญัติ ให้เรียกค่าทดแทน ได้เฉพาะความเสียหาย ต่อกายหรือชื่อเสียงเท่านั้น ดังนั้น ความอับอาย ความเสียใจ อันเป็นความเสียหาย ทางจิตใจ จึงไม่สามารถนามาอ้าง เพื่อเรียกค่าทดแทนได้ ค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากการค่าเนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร ทดแทน ค่าความเสียหาย เนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดา มารดา หรือบุคคล ผู้กระทาการในฐานะ เช่น บิดา มารดาได้ใช้จ่าย หรือต้องตกเป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริต และตาม สมควร กรณีที่จะเป็นความเสียหายตามมาตรา 1440(2) 1. ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส หมายถึง ค่าใช้จ่ายอันจาเป็น เพื่อเตรียมการที่ ชาย หญิงจะได้อยู่กิน เป็น สามี ภริยากันโดยตรง เช่น ค่าใช้จ่ายในการซื้อ เครื่องครัวเรือน ที่นอนหมอนมุ้ง เป็นต้น ส่วนค่าใช้จ่ายอย่างอื่น แม้จะใช้จ่ายไปในการสมรส แต่ถ้าไม่ใช่สิ่งจาเป็นเพื่อการที่ชายหญิง จะอยู่กินเป็นสามีภาริยากันแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียม การสมรส เช่น ค่าใช้จ่ายในพิธีหมั้น ค่าใช้จ่ายในการ เลี้ยงดู แขกในงาน เป็นต้น * คลิกดูตัวอย่าง * 2. ต้องเป็นค่าใช้จ่ายโดยสุจริตและตามสมควร หมายถึง ต้องเข้าใจโดยสุจริต ว่าจะได้มีการสมรส หากทราบอยู่แล้ว ว่าอีกฝ่ายหนึ่งปฏิเสธ ไม่ยอมทาการสมรส ยังขืนซื้อข้าวของ เพื่อเตรียมการสมรสอีก ดังนี้ ถือว่าไม่สุจริต จะเรียกค่าทดแทนมิได้การใช้จ่าย ต้องเป็นไปตามสมควร แก่ฐานานุรูปเพียงใดจะถือว่าเป็น การสมควรนั้น ต้องพิจารณาเป็นเรื่อง ๆ ไป เพราะความสมควรแก่ ฐานานุรูป ของแต่ละบุคคล ย่อมไม่เหมือนกัน ฉะนั้น หากฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง เตรียมการสมรสไป จนเกิดสมควร แก่ฐานานุรูปส่วนที่ เกินสมควรไปนั้น ย่อมนามาเรียกค่าทดแทนจ ากอีกฝ่ายหนึ่ง มิได้ 3. ต้องเป็นค่าทดแทนที่ได้เสียหายไปจริงเนื่องจากการเตรียมการสมรส ไม่ใช่จะเรียกค่าทดแทน ได้เต็มจานวนที่ได้ใช้จ่ายเสมอไปเพราะการใช้จ่ายเช่นนั้น อาจไม่เกิดความเสียหาย หรือ เสียหาย น้อยกว่า จานวนที่ได้ใช้จ่ายไปก็ได้เช่นเมื่อหมั้นแล้วฝ่ายหญิงได้ซื้อเครื่องเรือน เครื่องครัวไปเป็นเงิน 40,000 บาท ฝ่ายชายผิด สัญญา ฝ่ายหญิง จึงนาเอาของเหล่านั้นไปขาย ได้เงินมา 25,000 บาท ดังนี้ฝ่ายหญิงมีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้เฉพาะจานวนที่ขาดทุนไป คือ 15,000 บาทจะเรียกเต็มจานวนที่ได้ใช้จ่ายในการเตรียมการสมรส
  • 4. คือ 40,000 บาทไม่ได้หรือตามตัวอย่างดังกล่าวข้างต้นหากฝ่ายหญิง นาเครื่องเรือนเครื่องครัวนั้น ขายคืนให้แก่ร้านที่ซื้อมา ได้ราคาเต็ม จานวน40,000 บาทกรณีเช่นนี้ก็ถือว่าฝ่ายหญิงไม่ได้รับความเสียหาย แต่อย่างใด จึงไม่สามารถเรียกค่าทดแทนตามมาตรา 1440 (2) ได้ 4. การเตรียมการสมรสที่เรียกค่าทดแทนได้ตามความในมาตรา 1440 (2) การเตรียมการสมรส ที่เรียกค่าทดแทน ได้ตามความในมาตรา 1440(2) นั้น นอกจากความเสียหาย เนื่องจากการใช้จ่ายแล้ว ถ้าความเสียหายนั้น เกิดเพราะต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรส แม้ยังมิได้ใช้จ่ายไปจริง กฎหมายก็ให้สิทธิ ที่จะ เรียกค่าทดแทนได้เพราะการตกเป็นลูกหนี้นั้น ต้องรับผิด ในการชาระหนี้อยู่แล้ว 5. ผู้มีสิทธิเรียกค่าทดแทนตามความมาตรา 1440(2) นอกจากตัวคู่หมั้นแล้ว ยังรวมถึง บิดา มารดา หรือ บุคคล ผู้กระทาการ ในฐานะเช่น บิดา มารดาด้วย บุคคลผู้กระทาการในฐานะเช่น บิดา มารดา หมายความถึง ผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่น ซึ่งกระทาการในฐานะ เช่น บิดา มารดา ในทางพฤตินัย แม้จะไม่ใช่ผู้ปกครองตามกฎหมาย บุคคล ดังกล่าว เหล่านี้ มีสิทธิที่จะเรียกค่าทดแทน ความเสียหาย ในการเตรียมการสมรส ในมาตรา 1440 (2) นี้ได้ทั้งสิ้น ข้อสังเกตบางประการในการพิจารณาค่าทดแทนตามมาตรา 1440(2) ก. "ผู้ใช้สิทธิเรียกค่าทดแทน ในการเตรียม การสมรส ต้องนาสืบให้ชัดแจ้ง ว่าได้ใช้จ่ายไปอย่างไร อันเป็นการเตรียม การสมรส " การกล่าวอ้างว่าได้ใช้จ่าย เป็นจานวน โดยเท่านั้นเท่านี้ โดยไม่ระบุว่า ใช้จ่ายเป็นค่าอะไร ย่อมจะบังคับให้อีกฝ่ายชาระ ค่าทดแทนความเสียหายให้ไม่ได้ ตัวอย่าง ค่าใช้จ่ายในพิธีแต่งงาน โจทก์ว่าใช้จ่ายไป 1,500 บาท ไม่ปรากฏว่า เป็นค่าอะไร แม้เป็นทานองว่า เป็นค่าเลี้ยงดู กันก็ไม่เข้า ลักษณะอันพึงเรียกได้ตามมาตรา 1440 (2) ปัจจุบัน ข. ค่าใช้จ่ายตามประเพณี เช่น การทาบุญตักบาตรค่าอาหาร เลี้ยงพระ ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่าย เนื่องในการเตรียมการสมรส ค . เมื่อมีการหมั้น และอยู่กินด้วยกันฉันสามีภาริยาแล้วแม้จะเป็นเวลานานเท่าใดก็ตาม หากยังมิได้จดทะเบียนสมรส ก็คงถือว่าอยู่ใน ระหว่างหมั้น อาจต้องรับผิดตามสัญญาหมั้นได้ถ้าไม่ปรากฏว่า ทั้งสองฝ่ายไม่นาพา หรือไม่สนใจ ต่อการจดทะเบียนสมรสกันเอง ค่าทดแทนความเสียหาย เนื่องจากที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สินหรือการอื่นอันเกี่ยวแก่ อาชีพ หรือการทามาหาได้ของตนไปโดยสมควรด้วยการคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส
  • 5. ในมาตรา 1440(3) นี้ แสดงว่าจะเรียกค่าทดแทนได้ก็ต่อเมื่อ คู่หมั้น ก . ได้จัดการทรัพย์สินของตน หรือ ข. จัดการอื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพหรือทางทามาหาได้ของตน กรณีนี้แสดงว่า การจัดการ ตามมาตรา 1440 (3) นี้ ต้องเป็น การจัดการของตัวคู่หมั้นเอง โดยเฉพาะ ไม่รวมถึงการจัดการ ของบุคคลอื่น แม้จะเป็น บิดา มารดา หรือผู้ปกครองก็ตาม การจัดการของคู่หมั้นดังกล่าว มีอยู่ 2 กรณี คือ การจัดทรัพย์สินของตน หรือ การอื่น อันเกี่ยวกับอาชีพ หรือทางทามาหาได้ของตน หมายความว่า ต้องเป็นทรัพย์สิน , ทางทามาหาได้หรือ อาชีพ ของคู่หมั้นด้วย ถ้าคู่หมั้น ไปจัดการทรัพย์สินของ บิดา มารดา หรือผู้อื่น น่าจะไม่เข้าตาม ในมาตรา 1440 (3) การจัดการของคู่หมั้นตามข้อ 1. ต้องเป็นไปโดยสมควร อย่างไร เป็นการสมควร ต้องคานึงถึงพฤติการณ์ และ ข้อเท็จจริง เป็นกรณีไป เช่น ได้ขายทรัพย์สินของตนไปโดยรีบร้อน ทาให้ขาดทุน ซึ่งหากจะรอไปอีก ให้ได้ราคามากขึ้น ก็สามารถ ทาได้เช่นนี้ ถือได้ว่า จัดการโดยไม่สมควร จะเรียกค่าทดแทน ในส่วนที่ขาดทุน โดยไม่สมควรนี้ไม่ได้ ต้องเป็นการจัดการด้วยความคาดหมายว่าจะได้มีการสมรส หมายความว่า เพราะเหตุว่า ที่จะได้มีการสมรสในภายหน้า จึงได้จัดการไปเช่นนั้น ดังนั้น หากรู้อยู่แล้วว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะไม่ทาการสมรสด้วย หรือ ในกรณีที่ ฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งจัดการไป ตามปกติของอาชีพ หรือด้วยเจตนาที่แม้จะไม่มีการสมรส ก็ควรจัดการเช่นนั้น จึงไม่ถือว่า เป็นการจัดการด้วยความคาดหมาย ว่าจะได้มีการสมรส ไม่สามารถ เรียกค่าทดแทนตามความ ใน มาตรา 1440 (3) ได้ * คลิกดูตัวอย่าง * คู่หมั้นฝ่ ายที่จัดการได้รับความเสียหายเนื่องจากคู่หมั้นอีกฝ่ ายหนึ่งผิดสัญญาหมั้น หมายความว่า ต้องได้รับความเสียหายจริง ๆ จากการจัดการดังกล่าว หากการจัดการทรัพย์สิน หรือทางทามาหา ได้นั้นได้รับกาไร หรือไม่ขาดทุน ย่อมถือไม่ได้ได้มาเกิดความเสียหาย กรณีเช่นนี้ จึงเรียกค่าทดแทนกันไม่ได้หรือ ความเสียหายนั้น เกิดขึ้นตามปกติ ถึงแม้อีกฝ่ายหนึ่ง จะไม่ผิดสัญญาหมั้น เช่นนี้ ก็น่าจะเรียกค่าทดแทน ในส่วนนี้ ไม่ได้เช่นกัน ข้อสังเกต ประการหนึ่ง จากมาตรา 1440 (3) แม้จะมิได้กล่าวถึง ความสุจริตของคู่หมั้นไว้ด้วย แต่หากความเสียหายนั้น เกิดขึ้นเพราะฝ่ายที่จัดการ เป็นผู้ก่อขึ้นเอง อาจเรียกค่าทดแทน ไม่ได้เลย หรือได้ไม่เต็มจานวน ทั้งน ้ี้้ ตามหลักทั่วไปในมาตรา 223 มาตรา 1446 บัญญัติว่า “ ชายคู่หมั้น อาจเรียกค่าทดแทนจากชายอื่น ซึ่งได้ข่มขืนกระทาชาเรา หรือพยายามข่มขืน กระทา ชาเรา หญิงคู่หมั้น โดยรู้ หรือควรจะรู้ว่า หญิงได้หมั้นแล้ว ได้โดยไม่จาต้องบอกเลิกสัญญาหมั้น ” ชายคู่หมั้น อาจเรียกค่าทดแทน จากชายอื่นตามมาตรานี้ โดยมีเงื่อนไข ว่า ชายอื่นต้องรู้ หรือควรรู้ว่าหญิงนั้น ได้หมั้นกับชายคู่หมั้นนั้นแล้ว และสาหรับกรณีข่มขืนนี้ ถือว่ามิได้เกิดจาก ความสมัครใจ หรือเกิดจากความยินยอม ของหญิงคู่หมั้น และมิใช่ เป็นการกระทาชั่ว ของหญิงนั้นแต่อย่างใด จึงไม่ใช่ความผิดของหญิง กฎหมายจึงบัญญัติให้ชาย เรียกค่าทดแทนได้โดยไม่ต้อง มีการบอกเลิกสัญญาหมั้น ซึ่งแตกต่างกับ มาตรา 1445