SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
1
1. สาระสาคัญ
ภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector) รูปแบบการแทนค่าสี ความละเอียดของ
ภาพ (Resolution) ชนิดของไฟล์รูปภาพ การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ
2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
นักเรียนสามารถอธิบายการใช้งานเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกได้ถูกต้อง
บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก
3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม
หลักความมีเหตุผล
1. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2. จัดสรรเนื้อหาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถ
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
หน่วยที่ 1
จานวน 4 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
2
6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
หลักภูมิคุ้มกัน
1. มีทักษะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ประยุกต์ในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
เงื่อนไขความรู้
1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก
2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก
3. ลาดับการทางานของโปรแกรมบราวเซอร์
4. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
5. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
6. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพอเพียง
การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ
มิติสังคม
นักเรียนได้เข้าใจขบวนการทางานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ช่วยเหลือสังคมในการ
ประกอบอาชีพได้
3
มิติเศรษฐกิจ
- เข้าใจความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้ถูกต้อง
- ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย เข้าใจขบวนการทางานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้ถูกต้อง
มิติวัฒนธรรม
- การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา
- การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด
มิติสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกที่ถูกต้อง
การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน
ด้านประชาธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่
เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ
ติดอย่างแท้จริง
4
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ศึกษา (Study) ภาพแบบราสเตอร์
3.2 อธิบาย (Explain) ภาพแบบเวคเตอร์
3.3 จาแนก (Distinguish) รูปแบบการแทนค่าสี
3.4 บอก (Describable) ความละเอียดของภาพ
3.5 ระบุ (Identify) ชนิดของไฟล์รูปภาพ
3.6 อธิบายและยกตัวอย่าง (Enumerate) การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ
3.7 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์”
3.8 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ”
3.9 อภิปราย (Discuss) “งานทางด้านกราฟฟิกส์กาลังเป็นที่ต้องการของธุรกิจในปัจจุบัน จริง หรือ ไม่
จริง”
3.10 อธิบายคาศัพท์ได้ 12 คา
4. สาระการเรียนรู้
4.1 ภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector) รูปแบบการแทนค่าสี ความละเอียดของ
ภาพ (Resolution)
4.2 ชนิดของไฟล์รูปภาพ การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 อธิบายการวางแผนการเรียน โครงสร้างเนื้อหาบทเรียน กิจกรรม งาน ภารกิจ (บทที่ 1-11)
5.2 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ
5.3 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน
5.4 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ
5.5 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม)
วิธีการ : ให้นักศึกษานับหมายเลข 1, 2 นับ 1 มารวมกันเป็นกลุ่มที่ 1 นับ 2 กลุ่มที่ 2 เลือก
ผู้จัดการด้านการจัดแต่งรูปภาพ ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ
กลุ่มที่ 1 : คัดเลือกคาศัพท์ บทที่ 1-11 จานวน 69 คา คาอ่าน-คาอธิบาย จัดบอร์ดโดยใช้หัวข้อ
ว่า “ตกแต่งรูปภาพด้วยคอมพิวเตอร์” 69 วัน 69 คา ภาพประกอบ คาศัพท์ให้
สอดคล้องกับความหมายคาศัพท์แต่ละคา โดยใช้ตัวการ์ตูน “Mr. CS3” (ออกแบบให้
เปลี่ยนชุดได้) เป็นผู้นาเสนอ
5
กลุ่มที่ 2 : นาคาศัพท์จากกลุ่มที่ 1 69 คา ประสานงานกับอาจารย์สอนภาษาอังกฤษ/ ชาว
ต่างประเทศ อ่านออกเสียงคาศัพท์ บันทึกเทป/CD มาเปิดให้นักศึกษาฟังทุกครั้งใน
ชั่วโมงการสอนและอ่านออกเสียงตามอย่างถูกต้อง ใช้เวลาครั้งละ 10 นาที ตลอดภาค
เรียน และนาคาศัพท์จัดรายการวิทยุศึกษาของโรงเรียน/วิทยาลัย
เลือกตัวแทนกลุ่มที่ 1, 2 : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบ
ความถูกต้องทางวิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ การจัดบอร์ด การจัด
รายการคาศัพท์เพื่อบูรณาการ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและประเมินผล สรุปจุดแข็ง
จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็นผู้บริหารเวลาและ นาเสนอใช้เวลา 10 นาที
นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา
อุปสรรค วิธีการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 5 บรรทัด และนาเสนอคนละ 3 นาที
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
2. ใบความรู้ประจาหน่วย
3. ใบงานและแบบฝึกหัด
4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
6. ซีดีสื่อการสอน
7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต
8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย
7. หลักฐานการเรียนรู้
1. แบบทดสอบ
2. แบบฝึกหัด
3. รายงาน
4. ชิ้นงาน บอร์ดประชาสัมพันธ์
6
8. การวัดและประเมินผล
8.1 เครื่องมือประเมิน
- แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมินชิ้นงานที่มี
- แบบประเมินปัญชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8.2 เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80%
- การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50%
- การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70%
- การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80%
- การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
7
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.2 ปัญหาที่พบ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.3 แนวทางแก้ปัญหา
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
8
1. สาระสาคัญ
ความต้องการของ Photoshop CS3 การเริ่มใช้งาน Photoshop CS3 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
Photoshop CS3 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) การใช้งาน Adobe Bridge CS3
2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบของ Photoshop CS3 ได้ถูกต้องตามกระบวนการ
บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม
กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการใช้ลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์
2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม
หลักความมีเหตุผล
1. เห็นคุณค่าของลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ได้อย่างถูกต้อง
และชัดเจน
2. จัดสรรเนื้อหาลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ได้อย่างถูกต้องมี
เหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
หน่วยที่ 2
จานวน 4 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
ชื่อหน่วย องค์ประกอบของ Photoshop CS3
ชื่อเรื่อง องค์ประกอบของ Photoshop CS3 (บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
9
7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
หลักภูมิคุ้มกัน
1. มีทักษะในการลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ประยุกต์ในชีวิตประจาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามลักษณะต่าง ๆ ของ
เว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
เงื่อนไขความรู้
1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบของ Photoshop CS3
2. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของ Photoshop CS3
3. ลาดับความรู้ลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ใช้วัสดุอย่างประหยัดและ
คุ้มค่า
4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
10
การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ
มิติสังคม
นักเรียนได้เรียนเกี่ยวการใช้ลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ช่วยเหลือสังคม
ในการประกอบอาชีพได้
มิติเศรษฐกิจ
- รู้จักองค์ประกอบของ Photoshop CS3 ที่ถูกต้อง
- ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถโปรแกรมลักษณะต่าง ๆ องค์ประกอบของ Photoshop CS3
มิติวัฒนธรรม
- การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา
- การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด
มิติสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การใช้ลักษณะต่าง ๆ องค์ประกอบของ Photoshop
CS3 ที่ถูกต้อง
การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน
ด้านประชาธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่
เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ
ติดอย่างแท้จริง
11
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ศึกษา (Study) ความต้องการของ Photoshop CS3
3.2 ปฏิบัติการลาดับขั้นตอนการเริ่มใช้งาน Photoshop CS3
3.3 บอก (Describable) ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3
3.4 จาแนก (Distinguish) กล่องเครื่องมือ (Toolbox)
3.5 ลาดับขั้นตอนการใช้งาน Adobe Bridge CS3
3.6 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop CS3”
3.7 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3”
3.8 อภิปราย (Discuss) “กล่องเครื่องมือใน Photoshop CS3 มีเครื่องมือให้ใช้งานมากกว่า
Photoshop ในเวอร์ชั่นก่อน ๆ ใช่ หรือ ไม่ใช่”
3.9 อธิบายคาศัพท์ได้ 10 คา
4. สาระการเรียนรู้
4.1 ความต้องการของ Photoshop CS3 การเริ่มใช้งาน Photoshop CS3 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
Photoshop CS3
4.2 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) การใช้งาน Adobe Bridge CS3
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ
5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน
5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ
5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม)
วิธีการ : แบ่งกลุ่มเพื่อนสนิท 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้าแผนก Photoshop CS3
ระดับ 4 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ จัดเตรียมสื่อ ภาพ อุปกรณ์
ตัวอย่าง ที่ช่วยสนับสนุนการนาเสนอให้เกิดความชัดเจน และครบสาระการเรียนรู้ บริหาร
เวลากลุ่มละ 25 นาที บริหารเอกสาร 3 หน้า นาเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส
จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้
1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop CS3”
2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3”
3. อภิปราย “กล่องเครื่องมือใน Photoshop CS3 มีเครื่องมือให้ใช้งานมากกว่า
Photoshop ในเวอร์ชั่นก่อน ๆ ใช่ หรือ ไม่ใช่”
4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 2, 3”
12
เลือกตัวแทนกลุ่ม : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทาง
วิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและประเมินผล
เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงาน เป็นผู้บริหารเวลา และ
นาเสนอใช้เวลา 10 นาที
นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค
วิธีการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 5 บรรทัด และเลือก ตัวแทนกลุ่มงาน 4 คน นาเสนอคนละ
3 นาที
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
2. ใบความรู้ประจาหน่วย
3. ใบงานและแบบฝึกหัด
4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
6. ซีดีสื่อการสอน
7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต
8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย
7. หลักฐานการเรียนรู้
1. แบบทดสอบ
2. แบบฝึกหัด
3. รายงาน
4. อินเตอร์เน็ต
13
8. การวัดและประเมินผล
8.1 เครื่องมือประเมิน
- แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมินชิ้นงานที่มี
- แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8.2 เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80%
- การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50%
- การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70%
- การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80%
- การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
14
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.2 ปัญหาที่พบ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.3 แนวทางแก้ปัญหา
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
15
1. สาระสาคัญ
การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area การเปิดไฟล์ภาพ การปรับย่อขยายมุมมองของ
รูปภาพ การปรับขนาดของรูปภาพ การเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ การบันทึกงานที่สร้าง
2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการไฟล์รูปภาพได้ตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง
บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ
อดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
หลักความมีเหตุผล
1. เห็นคุณค่าของการจัดการไฟล์รูปภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2.จัดสรรการออกแบบการจัดการไฟล์รูปภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้
ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
หน่วยที่ 3
จานวน 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
ชื่อหน่วย การจัดการไฟล์รูปภาพ
ชื่อเรื่อง การจัดการไฟล์รูปภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
16
หลักภูมิคุ้มกัน
1. มีทักษะในการการจัดการไฟล์รูปภาพในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการใช้
อินเตอร์เน็ตที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
เงื่อนไขความรู้
1. ผู้เรียนได้นาการจัดการไฟล์รูปภาพมาใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานการการจัดการไฟล์รูปภาพด้วยโปรแกรม photoshop
3. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ
มิติสังคม
นักเรียนได้เรียนการการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้
มิติเศรษฐกิจ
- รู้จักแถบเครื่องมือการการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย
มิติวัฒนธรรม
17
- การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา
- การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด
มิติสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การใช้การการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง
การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน
ด้านประชาธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่
เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ
ติดอย่างแท้จริง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 อธิบาย (Explain) การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area
3.2 ลาดับขั้นตอนการเปิดไฟล์ภาพ
3.3 ศึกษา (Study) การปรับย่อขยายมุมมองของรูปภาพ
3.4 ปฏิบัติการลาดับขั้นตอนการปรับขนาดของรูปภาพ
3.5 ลาดับขั้นตอนการเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ
3.6 บอกวิธีปฏิบัติการบันทึกงานที่สร้าง
3.7 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การจัดการไฟล์รูปภาพ”
3.8 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การเปิดไฟล์ภาพ”
3.9 อภิปราย (Discuss) “การปรับย่อขยายมีผลต่อพิกเซลของรูปภาพ จริง หรือ ไม่จริง”
18
4. สาระการเรียนรู้
4.1 การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area การเปิดไฟล์ภาพ การปรับย่อขยายมุมมองของ
รูปภาพ
4.2 การปรับขนาดของรูปภาพ การเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ การบันทึกงานที่สร้าง
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ
5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน
5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ
5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม)
วิธีการ : แบ่งกลุ่มนักศึกษาชายและหญิงคละกัน 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้ากลุ่มงาน
การจัดการไฟล์รูปภาพ ระดับ 5 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ
จัดเตรียมสื่อ ภาพ อุปกรณ์ ตัวอย่าง ที่ช่วยสนับสนุนการนาเสนอให้เกิดความชัดเจนและ
ครบสาระการเรียนรู้ บริหารเวลากลุ่มละ 30 นาที บริหารเอกสาร 3 หน้า นาเสนอด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้
1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การจัดการไฟล์รูปภาพ”
2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การเปิดไฟล์ภาพ”
3. อภิปราย “การปรับย่อขยายมีผลต่อพิกเซลของรูปภาพ จริง หรือ ไม่จริง”
4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 2, 3”
เลือกตัวแทนกลุ่ม : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทาง
วิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและ
ประเมินผล เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็น
ผู้บริหารเวลา ใช้เวลา 10 นาที
นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา
อุปสรรค การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือกตัวแทนกลุ่มงาน 4 คน
นาเสนอคนละ 3 นาที
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
2. ใบความรู้ประจาหน่วย
3. ใบงานและแบบฝึกหัด
4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
19
6. ซีดีสื่อการสอน
7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต
8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย
7. หลักฐานการเรียนรู้
1. แบบทดสอบ
2. แบบฝึกหัด
3. รายงาน
4. อินเตอร์เน็ต
8. การวัดและประเมินผล
8.1 เครื่องมือประเมิน
- แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมินชิ้นงานที่มี
- แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8.2 เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80%
- การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50%
- การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70%
- การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80%
- การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
20
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.2 ปัญหาที่พบ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.3 แนวทางแก้ปัญหา
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
21
1. สาระสาคัญ
การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee การเคลื่อน ย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้ การปรับขนาด
ของส่วนที่เลือกไว้ การกาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ ถูกเลือกไว้ การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ
Lasso การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand การเลือกพื้นที่โดยใช้คาสั่ง Color Range การ
เคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้ การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก
2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
มีความรู้ในการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้อง
บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการใช้ระบบอินเตอร์เน็ต
3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม
หลักความมีเหตุผล
1. เห็นคุณค่าการกาหนดปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2. จัดสรรเนื้อหาการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
หน่วยที่ 4
จานวน 8 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
ชื่อหน่วย การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ
ชื่อเรื่อง การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
22
4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6.ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
หลักภูมิคุ้มกัน
1. มีทักษะในกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของรูปภาพประยุกต์ในชีวิต
ประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการใช้
กาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของรูปภาพที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
เงื่อนไขความรู้
1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของ
รูปภาพมีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบของกาหนดการรักษาความ
ปลอดภัยและการปรับแต่งระบบอินเตอร์เน็ต
2. กาหนดการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้อง
3. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
23
การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ
มิติสังคม
นักเรียนได้เรียนกาหนดการปรับแต่งส่วนของรูปภาพช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้
มิติเศรษฐกิจ
- รู้จักการปรับแต่งส่วนของรูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถระบบกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของ
รูปภาพเบื้องต้นที่มีขนาดใหญ่ ๆ ได้
มิติวัฒนธรรม
- การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา
- การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด
มิติสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์กาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วน
ของรูปภาพเบื้องต้นเบื้องต้นที่ถูกต้อง
การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน
ด้านประชาธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)
1. ปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่
เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ
ติดอย่างแท้จริง
24
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ศึกษา (Study) การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee
3.2 อธิบาย (Explain) การเคลื่อนย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้
3.3 ปฏิบัติ (Perform) การปรับขนาดของส่วนที่เลือกไว้
3.4 ดาเนินการ (Conduct) กาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ถูกเลือกไว้
3.5 ปฏิบัติการเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Lasso
3.6 กาหนด (Locate) การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand
3.7 ปฏิบัติการเลือกพื้นที่โดยใช้คาสั่ง Color Range
3.8 อธิบายการเคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้
3.9 บอก (Describable) การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก
3.10 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ”
3.11 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก”
3.12 อภิปราย (Discuss) “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพมีความจาเป็น จริง หรือ ไม่จริง”
3.13 อธิบายคาศัพท์ได้ 10 คา
4. สาระการเรียนรู้
4.1 การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee การเคลื่อนย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้ การปรับขนาด
ของส่วนที่เลือกไว้ การกาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ถูกเลือกไว้
4.2 การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Lasso การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand การเลือกพื้นที่
โดยใช้คาสั่ง Color Range
4.3 การเคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้ การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ
5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน
5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ
5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม)
วิธีการ : แบ่งกลุ่มเพื่อนสนิท 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้าทีมงานการปรับแต่งส่วนของ
รูปภาพ ระดับ 4 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ จัดเตรียมสื่อ
อุปกรณ์ ตัวอย่างที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดความชัดเจน และครบสาระการเรียนรู้ บริหาร
25
เวลากลุ่มละ 20 นาที บริหารเอกสาร 2 หน้า นาเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ /
แผ่นใส จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้
1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ”
2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก”
3. อภิปราย “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพมีความจาเป็น จริง หรือ ไม่จริง”
4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 1, 2, 3”
เลือกตัวแทนกลุ่มงาน : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความ ถูกต้อง
ทางวิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและ
ประเมินผล เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็น
ผู้บริหารเวลา ใช้เวลานาเสนอ 10 นาที
นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา
อุปสรรค การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือกตัวแทนกลุ่มงานจานวน 4
คน นาเสนอคนละ 3 นาที
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
2. ใบความรู้ประจาหน่วย
3. ใบงานและแบบฝึกหัด
4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
6. ซีดีสื่อการสอน
7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต
8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย
7. หลักฐานการเรียนรู้
1. แบบทดสอบ
2. แบบฝึกหัด
3. รายงาน
4. อินเตอร์เน็ต
26
8. การวัดและประเมินผล
8.1 เครื่องมือประเมิน
- แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ
- แบบทดสอบภาคความรู้
- แบบนาเสนอผลงาน
- แบบประเมินชิ้นงานที่มี
- แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8.2 เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80%
- การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50%
- การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70%
- การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80%
- การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
27
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.2 ปัญหาที่พบ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
9.3 แนวทางแก้ปัญหา
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
28
1. สาระสาคัญ
การเติมสีลงในพื้นที่ที่เลือกไว้ ขั้นตอนการใช้เครื่องมือ Brush และ Pencil การปรับรูปแบบหัว
แปรงด้วย Brush Preset การระบายเปลี่ยนสีวัตถุ การระบายด้วยภาพจากสถานะเดิม (History Brush)
การเติม Pattern การเติมสีและลวดลายด้วย Paint Bucket การเติมสีแบบไล่ระดับ (Gradient) การลบ
ภาพด้วยเครื่องมือ Eraser
สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้
นักเรียนสามารถออกแบบการวาดและระบายสีภาพด้วยโปรแกรม Photoshop ได้ตามกระบวนการ
บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม
2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการวาดและระบายสีภาพ
3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์การวาดและระบายสีภาพอย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม
หลักความมีเหตุผล
1. เห็นคุณค่าของการวาดและระบายสีภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2.จัดสรรเนื้อหาของการวาดและระบายสีภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้
3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ
5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน
หน่วยที่ 5
จานวน 6 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก
ชื่อหน่วย การวาดและระบายสีภาพ
ชื่อเรื่อง การวาดและระบายสีภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
29
7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น
8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
หลักภูมิคุ้มกัน
1. มีทักษะในการใช้การวาดและระบายสีภาพประยุกต์ในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการการวาดและ
ระบายสีภาพที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์
3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน
4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ
5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล
6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
เงื่อนไขคุณธรรม
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
เงื่อนไขความรู้
1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นการการวาดและระบายสีภาพได้ถูกต้อง
2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบการวาดและระบายสีภาพ
3. ลาดับประวัติความเป็นมาของการวาดและระบายสีภาพ
4. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า
5. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
6. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพอเพียง
การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ
มิติสังคม
นักเรียนได้เรียนการวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้
30
มิติเศรษฐกิจ
- รู้จักแถบเครื่องมือการวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถใช้การวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นเบื้องต้นที่มีขนาดใหญ่ ๆ
มิติวัฒนธรรม
- การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา
- การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด
มิติสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง
การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน
ด้านประชาธิปไตย (Democracy)
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ
ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)
1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ)
2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน)
ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน)
ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free)
การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่
เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ
ติดอย่างแท้จริง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ศึกษา (Study) การเติมสีลงในพื้นที่ที่เลือกไว้
3.2 อธิบาย (Explain) ขั้นตอนการใช้เครื่องมือ Brush และ Pencil
3.3 ปฏิบัติ (Perform) การปรับรูปแบบหัวแปรงด้วย Brush Preset
3.4 ระบุ (Identify) การระบายเปลี่ยนสีวัตถุ
3.5 อธิบายการระบายด้วยภาพจากสถานะเดิม (History Brush)
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก
แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
Meaw Sukee
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
Kanon Dhasanon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
Suporn Silipee
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
sukanya5729
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Meaw Sukee
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
Hathaichon Nonruongrit
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
Rungdawan Rungrattanachai
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
krunuy5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
นายอุุเทน มาดา
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
krunuy5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
Meaw Sukee
 

What's hot (20)

คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
 
2562 final-pai2
2562 final-pai22562 final-pai2
2562 final-pai2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความหมายและความสำคัญ
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
Course4311704
Course4311704Course4311704
Course4311704
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ Ict ป.4 ฉบับปรับปรุง
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 

Similar to แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Meaw Sukee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Jakkrapong Bantawang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Meaw Sukee
 

Similar to แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก (20)

Infor
InforInfor
Infor
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
E6
E6E6
E6
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

แผนการจัดการเรียนวิชากราฟฟิก

  • 1. 1 1. สาระสาคัญ ภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector) รูปแบบการแทนค่าสี ความละเอียดของ ภาพ (Resolution) ชนิดของไฟล์รูปภาพ การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายการใช้งานเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกได้ถูกต้อง บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม 2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก 3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม หลักความมีเหตุผล 1. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 2. จัดสรรเนื้อหาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถ ประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้ 3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น หน่วยที่ 1 จานวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก ชื่อหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
  • 2. 2 6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หลักภูมิคุ้มกัน 1. มีทักษะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ประยุกต์ในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์ 3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ 5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล 6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ 7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เงื่อนไขคุณธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ 1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก 2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิก 3. ลาดับการทางานของโปรแกรมบราวเซอร์ 4. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 5. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 6. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพอเพียง การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ มิติสังคม นักเรียนได้เข้าใจขบวนการทางานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ช่วยเหลือสังคมในการ ประกอบอาชีพได้
  • 3. 3 มิติเศรษฐกิจ - เข้าใจความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้ถูกต้อง - ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย เข้าใจขบวนการทางานความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์ได้ถูกต้อง มิติวัฒนธรรม - การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด มิติสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกที่ถูกต้อง การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย (Democracy) 1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ 2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency) 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free) การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่ เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ ติดอย่างแท้จริง
  • 4. 4 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ศึกษา (Study) ภาพแบบราสเตอร์ 3.2 อธิบาย (Explain) ภาพแบบเวคเตอร์ 3.3 จาแนก (Distinguish) รูปแบบการแทนค่าสี 3.4 บอก (Describable) ความละเอียดของภาพ 3.5 ระบุ (Identify) ชนิดของไฟล์รูปภาพ 3.6 อธิบายและยกตัวอย่าง (Enumerate) การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ 3.7 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์” 3.8 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ” 3.9 อภิปราย (Discuss) “งานทางด้านกราฟฟิกส์กาลังเป็นที่ต้องการของธุรกิจในปัจจุบัน จริง หรือ ไม่ จริง” 3.10 อธิบายคาศัพท์ได้ 12 คา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ภาพแบบราสเตอร์ (Raster) ภาพแบบเวคเตอร์ (Vector) รูปแบบการแทนค่าสี ความละเอียดของ ภาพ (Resolution) 4.2 ชนิดของไฟล์รูปภาพ การนางานกราฟฟิกส์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 อธิบายการวางแผนการเรียน โครงสร้างเนื้อหาบทเรียน กิจกรรม งาน ภารกิจ (บทที่ 1-11) 5.2 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ 5.3 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน 5.4 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 5.5 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม) วิธีการ : ให้นักศึกษานับหมายเลข 1, 2 นับ 1 มารวมกันเป็นกลุ่มที่ 1 นับ 2 กลุ่มที่ 2 เลือก ผู้จัดการด้านการจัดแต่งรูปภาพ ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ กลุ่มที่ 1 : คัดเลือกคาศัพท์ บทที่ 1-11 จานวน 69 คา คาอ่าน-คาอธิบาย จัดบอร์ดโดยใช้หัวข้อ ว่า “ตกแต่งรูปภาพด้วยคอมพิวเตอร์” 69 วัน 69 คา ภาพประกอบ คาศัพท์ให้ สอดคล้องกับความหมายคาศัพท์แต่ละคา โดยใช้ตัวการ์ตูน “Mr. CS3” (ออกแบบให้ เปลี่ยนชุดได้) เป็นผู้นาเสนอ
  • 5. 5 กลุ่มที่ 2 : นาคาศัพท์จากกลุ่มที่ 1 69 คา ประสานงานกับอาจารย์สอนภาษาอังกฤษ/ ชาว ต่างประเทศ อ่านออกเสียงคาศัพท์ บันทึกเทป/CD มาเปิดให้นักศึกษาฟังทุกครั้งใน ชั่วโมงการสอนและอ่านออกเสียงตามอย่างถูกต้อง ใช้เวลาครั้งละ 10 นาที ตลอดภาค เรียน และนาคาศัพท์จัดรายการวิทยุศึกษาของโรงเรียน/วิทยาลัย เลือกตัวแทนกลุ่มที่ 1, 2 : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบ ความถูกต้องทางวิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ การจัดบอร์ด การจัด รายการคาศัพท์เพื่อบูรณาการ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและประเมินผล สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็นผู้บริหารเวลาและ นาเสนอใช้เวลา 10 นาที นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 5 บรรทัด และนาเสนอคนละ 3 นาที 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก 2. ใบความรู้ประจาหน่วย 3. ใบงานและแบบฝึกหัด 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ 6. ซีดีสื่อการสอน 7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต 8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย 7. หลักฐานการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบ 2. แบบฝึกหัด 3. รายงาน 4. ชิ้นงาน บอร์ดประชาสัมพันธ์
  • 6. 6 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ - แบบทดสอบภาคความรู้ - แบบนาเสนอผลงาน - แบบประเมินชิ้นงานที่มี - แบบประเมินปัญชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.2 เกณฑ์การประเมิน - การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80% - การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50% - การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70% - การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80% - การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
  • 7. 7 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 8. 8 1. สาระสาคัญ ความต้องการของ Photoshop CS3 การเริ่มใช้งาน Photoshop CS3 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) การใช้งาน Adobe Bridge CS3 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบของ Photoshop CS3 ได้ถูกต้องตามกระบวนการ บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการใช้ลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ 2. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า 3. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 4. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม หลักความมีเหตุผล 1. เห็นคุณค่าของลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน 2. จัดสรรเนื้อหาลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ได้อย่างถูกต้องมี เหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้ 3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน หน่วยที่ 2 จานวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก ชื่อหน่วย องค์ประกอบของ Photoshop CS3 ชื่อเรื่อง องค์ประกอบของ Photoshop CS3 (บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
  • 9. 9 7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หลักภูมิคุ้มกัน 1. มีทักษะในการลักษณะต่าง ๆ ของเว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ประยุกต์ในชีวิตประจาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามลักษณะต่าง ๆ ของ เว็บไซต์ และโครงสร้างของเว็บไซต์ที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์ 3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ 5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล 6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ 7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เงื่อนไขคุณธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ 1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบของ Photoshop CS3 2. มีความรู้และเข้าใจองค์ประกอบของ Photoshop CS3 3. ลาดับความรู้ลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ใช้วัสดุอย่างประหยัดและ คุ้มค่า 4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 10. 10 การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ มิติสังคม นักเรียนได้เรียนเกี่ยวการใช้ลักษณะต่าง ๆ ขององค์ประกอบของ Photoshop CS3 ช่วยเหลือสังคม ในการประกอบอาชีพได้ มิติเศรษฐกิจ - รู้จักองค์ประกอบของ Photoshop CS3 ที่ถูกต้อง - ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถโปรแกรมลักษณะต่าง ๆ องค์ประกอบของ Photoshop CS3 มิติวัฒนธรรม - การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด มิติสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การใช้ลักษณะต่าง ๆ องค์ประกอบของ Photoshop CS3 ที่ถูกต้อง การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย (Democracy) 1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ 2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency) 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free) การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่ เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ ติดอย่างแท้จริง
  • 11. 11 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ศึกษา (Study) ความต้องการของ Photoshop CS3 3.2 ปฏิบัติการลาดับขั้นตอนการเริ่มใช้งาน Photoshop CS3 3.3 บอก (Describable) ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3 3.4 จาแนก (Distinguish) กล่องเครื่องมือ (Toolbox) 3.5 ลาดับขั้นตอนการใช้งาน Adobe Bridge CS3 3.6 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop CS3” 3.7 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3” 3.8 อภิปราย (Discuss) “กล่องเครื่องมือใน Photoshop CS3 มีเครื่องมือให้ใช้งานมากกว่า Photoshop ในเวอร์ชั่นก่อน ๆ ใช่ หรือ ไม่ใช่” 3.9 อธิบายคาศัพท์ได้ 10 คา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความต้องการของ Photoshop CS3 การเริ่มใช้งาน Photoshop CS3 ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3 4.2 กล่องเครื่องมือ (Toolbox) การใช้งาน Adobe Bridge CS3 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ 5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน 5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม) วิธีการ : แบ่งกลุ่มเพื่อนสนิท 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้าแผนก Photoshop CS3 ระดับ 4 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ จัดเตรียมสื่อ ภาพ อุปกรณ์ ตัวอย่าง ที่ช่วยสนับสนุนการนาเสนอให้เกิดความชัดเจน และครบสาระการเรียนรู้ บริหาร เวลากลุ่มละ 25 นาที บริหารเอกสาร 3 หน้า นาเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้ 1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “องค์ประกอบของโปรแกรม Photoshop CS3” 2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ Photoshop CS3” 3. อภิปราย “กล่องเครื่องมือใน Photoshop CS3 มีเครื่องมือให้ใช้งานมากกว่า Photoshop ในเวอร์ชั่นก่อน ๆ ใช่ หรือ ไม่ใช่” 4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 2, 3”
  • 12. 12 เลือกตัวแทนกลุ่ม : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทาง วิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและประเมินผล เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงาน เป็นผู้บริหารเวลา และ นาเสนอใช้เวลา 10 นาที นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 5 บรรทัด และเลือก ตัวแทนกลุ่มงาน 4 คน นาเสนอคนละ 3 นาที 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก 2. ใบความรู้ประจาหน่วย 3. ใบงานและแบบฝึกหัด 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ 6. ซีดีสื่อการสอน 7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต 8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย 7. หลักฐานการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบ 2. แบบฝึกหัด 3. รายงาน 4. อินเตอร์เน็ต
  • 13. 13 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ - แบบทดสอบภาคความรู้ - แบบนาเสนอผลงาน - แบบประเมินชิ้นงานที่มี - แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.2 เกณฑ์การประเมิน - การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80% - การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50% - การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70% - การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80% - การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
  • 14. 14 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 15. 15 1. สาระสาคัญ การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area การเปิดไฟล์ภาพ การปรับย่อขยายมุมมองของ รูปภาพ การปรับขนาดของรูปภาพ การเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ การบันทึกงานที่สร้าง 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการไฟล์รูปภาพได้ตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความ อดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) หลักความมีเหตุผล 1. เห็นคุณค่าของการจัดการไฟล์รูปภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 2.จัดสรรการออกแบบการจัดการไฟล์รูปภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ ในการดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้ 3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม หน่วยที่ 3 จานวน 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก ชื่อหน่วย การจัดการไฟล์รูปภาพ ชื่อเรื่อง การจัดการไฟล์รูปภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
  • 16. 16 หลักภูมิคุ้มกัน 1. มีทักษะในการการจัดการไฟล์รูปภาพในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการใช้ อินเตอร์เน็ตที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์ 3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ 5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล 6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ 7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เงื่อนไขคุณธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ 1. ผู้เรียนได้นาการจัดการไฟล์รูปภาพมาใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานการการจัดการไฟล์รูปภาพด้วยโปรแกรม photoshop 3. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ มิติสังคม นักเรียนได้เรียนการการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้ มิติเศรษฐกิจ - รู้จักแถบเครื่องมือการการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง - ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย มิติวัฒนธรรม
  • 17. 17 - การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด มิติสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การใช้การการจัดการไฟล์รูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย (Democracy) 1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ 2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency) 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free) การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่ เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ ติดอย่างแท้จริง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบาย (Explain) การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area 3.2 ลาดับขั้นตอนการเปิดไฟล์ภาพ 3.3 ศึกษา (Study) การปรับย่อขยายมุมมองของรูปภาพ 3.4 ปฏิบัติการลาดับขั้นตอนการปรับขนาดของรูปภาพ 3.5 ลาดับขั้นตอนการเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ 3.6 บอกวิธีปฏิบัติการบันทึกงานที่สร้าง 3.7 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การจัดการไฟล์รูปภาพ” 3.8 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การเปิดไฟล์ภาพ” 3.9 อภิปราย (Discuss) “การปรับย่อขยายมีผลต่อพิกเซลของรูปภาพ จริง หรือ ไม่จริง”
  • 18. 18 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การสร้างงานใหม่และกาหนดขนาด Working Area การเปิดไฟล์ภาพ การปรับย่อขยายมุมมองของ รูปภาพ 4.2 การปรับขนาดของรูปภาพ การเพิ่มพื้นที่ของรูปภาพ การบันทึกงานที่สร้าง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ 5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน 5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม) วิธีการ : แบ่งกลุ่มนักศึกษาชายและหญิงคละกัน 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้ากลุ่มงาน การจัดการไฟล์รูปภาพ ระดับ 5 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ จัดเตรียมสื่อ ภาพ อุปกรณ์ ตัวอย่าง ที่ช่วยสนับสนุนการนาเสนอให้เกิดความชัดเจนและ ครบสาระการเรียนรู้ บริหารเวลากลุ่มละ 30 นาที บริหารเอกสาร 3 หน้า นาเสนอด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้ 1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การจัดการไฟล์รูปภาพ” 2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การเปิดไฟล์ภาพ” 3. อภิปราย “การปรับย่อขยายมีผลต่อพิกเซลของรูปภาพ จริง หรือ ไม่จริง” 4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 2, 3” เลือกตัวแทนกลุ่ม : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความถูกต้องทาง วิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและ ประเมินผล เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็น ผู้บริหารเวลา ใช้เวลา 10 นาที นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือกตัวแทนกลุ่มงาน 4 คน นาเสนอคนละ 3 นาที 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก 2. ใบความรู้ประจาหน่วย 3. ใบงานและแบบฝึกหัด 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
  • 19. 19 6. ซีดีสื่อการสอน 7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต 8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย 7. หลักฐานการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบ 2. แบบฝึกหัด 3. รายงาน 4. อินเตอร์เน็ต 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ - แบบทดสอบภาคความรู้ - แบบนาเสนอผลงาน - แบบประเมินชิ้นงานที่มี - แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.2 เกณฑ์การประเมิน - การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80% - การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50% - การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70% - การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80% - การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
  • 20. 20 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 21. 21 1. สาระสาคัญ การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee การเคลื่อน ย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้ การปรับขนาด ของส่วนที่เลือกไว้ การกาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ ถูกเลือกไว้ การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Lasso การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand การเลือกพื้นที่โดยใช้คาสั่ง Color Range การ เคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้ การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ มีความรู้ในการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้อง บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม 2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการใช้ระบบอินเตอร์เน็ต 3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม หลักความมีเหตุผล 1. เห็นคุณค่าการกาหนดปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 2. จัดสรรเนื้อหาการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้ 3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล หน่วยที่ 4 จานวน 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก ชื่อหน่วย การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ ชื่อเรื่อง การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
  • 22. 22 4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6.ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หลักภูมิคุ้มกัน 1. มีทักษะในกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของรูปภาพประยุกต์ในชีวิต ประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้องพร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการใช้ กาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของรูปภาพที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์ 3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ 5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล 6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ 7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เงื่อนไขคุณธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ 1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของ รูปภาพมีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบของกาหนดการรักษาความ ปลอดภัยและการปรับแต่งระบบอินเตอร์เน็ต 2. กาหนดการปรับแต่งส่วนของรูปภาพได้อย่างถูกต้อง 3. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 23. 23 การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ มิติสังคม นักเรียนได้เรียนกาหนดการปรับแต่งส่วนของรูปภาพช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้ มิติเศรษฐกิจ - รู้จักการปรับแต่งส่วนของรูปภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง - ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถระบบกาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วนของ รูปภาพเบื้องต้นที่มีขนาดใหญ่ ๆ ได้ มิติวัฒนธรรม - การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด มิติสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์กาหนดการรักษาความปลอดภัยและการปรับแต่งส่วน ของรูปภาพเบื้องต้นเบื้องต้นที่ถูกต้อง การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย (Democracy) 1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ 2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency) 1. ปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free) การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่ เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ ติดอย่างแท้จริง
  • 24. 24 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ศึกษา (Study) การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee 3.2 อธิบาย (Explain) การเคลื่อนย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้ 3.3 ปฏิบัติ (Perform) การปรับขนาดของส่วนที่เลือกไว้ 3.4 ดาเนินการ (Conduct) กาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ถูกเลือกไว้ 3.5 ปฏิบัติการเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Lasso 3.6 กาหนด (Locate) การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand 3.7 ปฏิบัติการเลือกพื้นที่โดยใช้คาสั่ง Color Range 3.8 อธิบายการเคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้ 3.9 บอก (Describable) การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก 3.10 จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ” 3.11 สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก” 3.12 อภิปราย (Discuss) “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพมีความจาเป็น จริง หรือ ไม่จริง” 3.13 อธิบายคาศัพท์ได้ 10 คา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Marquee การเคลื่อนย้ายตาแหน่งของส่วนที่เลือกไว้ การปรับขนาด ของส่วนที่เลือกไว้ การกาหนดลักษณะของขอบรูปภาพในส่วนที่ถูกเลือกไว้ 4.2 การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Lasso การเลือกพื้นที่โดยใช้เครื่องมือ Magic Wand การเลือกพื้นที่ โดยใช้คาสั่ง Color Range 4.3 การเคลื่อนย้ายตาแหน่งส่วนที่เลือกไว้ การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 5.1 สรุปบทเรียนส่วนที่เป็นสาระสาคัญ 5.2 สรุปคาศัพท์ ตอบคาถามเพื่อการทบทวน 5.3 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 5.4 แบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมดังต่อไปนี้ (ให้ความสาคัญการทางานเป็นทีม) วิธีการ : แบ่งกลุ่มเพื่อนสนิท 4 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน เลือกหัวหน้าทีมงานการปรับแต่งส่วนของ รูปภาพ ระดับ 4 ประชุมคณะทางาน แบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ ตัวอย่างที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดความชัดเจน และครบสาระการเรียนรู้ บริหาร
  • 25. 25 เวลากลุ่มละ 20 นาที บริหารเอกสาร 2 หน้า นาเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส จับฉลากเลือกกิจกรรมต่อไปนี้ 1. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพ” 2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การย่อหรือขยายรูปภาพจากส่วนที่เลือก” 3. อภิปราย “การปรับแต่งส่วนของรูปภาพมีความจาเป็น จริง หรือ ไม่จริง” 4. จัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ถาม – ตอบ “ตอนที่ 1, 2, 3” เลือกตัวแทนกลุ่มงาน : จานวน 4 คน ร่วมกับครูผู้สอนและคณะ ตรวจสอบความ ถูกต้อง ทางวิชาการและความปลอดภัยของเอกสาร/ภาพ ออกแบบเครื่องมือประเมินผลและ ประเมินผล เขียนคาถามถามกลุ่มละ 2 ข้อ สรุปจุดแข็ง จุดอ่อน แต่ละกลุ่มงานเป็น ผู้บริหารเวลา ใช้เวลานาเสนอ 10 นาที นักศึกษาทุกคนเขียนรายงานตนเอง (Self - Report) หน้าที่ความรับผิดชอบ ภารกิจ ปัญหา อุปสรรค การแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ ความยาว 3 บรรทัด และเลือกตัวแทนกลุ่มงานจานวน 4 คน นาเสนอคนละ 3 นาที 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก 2. ใบความรู้ประจาหน่วย 3. ใบงานและแบบฝึกหัด 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ 5. แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ 6. ซีดีสื่อการสอน 7. ค้นคว้าข้อมูลจากระบบอินเตอร์เน็ต 8. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย 7. หลักฐานการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบ 2. แบบฝึกหัด 3. รายงาน 4. อินเตอร์เน็ต
  • 26. 26 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 13 ลักษณะ - แบบทดสอบภาคความรู้ - แบบนาเสนอผลงาน - แบบประเมินชิ้นงานที่มี - แบบประเมินปัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8.2 เกณฑ์การประเมิน - การประเมินพฤติกรรมผู้เรียน 80% - การประเมินภาคความรู้ ไม่ต่ากว่า 50% - การประเมินนาเสนอผลงาน ไม่ต่ากว่า 70% - การประเมินชิ้นงาน ไม่ต่ากว่า 80% - การประเมินบูรณาการ ไม่ต่ากว่า 80%
  • 27. 27 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
  • 28. 28 1. สาระสาคัญ การเติมสีลงในพื้นที่ที่เลือกไว้ ขั้นตอนการใช้เครื่องมือ Brush และ Pencil การปรับรูปแบบหัว แปรงด้วย Brush Preset การระบายเปลี่ยนสีวัตถุ การระบายด้วยภาพจากสถานะเดิม (History Brush) การเติม Pattern การเติมสีและลวดลายด้วย Paint Bucket การเติมสีแบบไล่ระดับ (Gradient) การลบ ภาพด้วยเครื่องมือ Eraser สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบการวาดและระบายสีภาพด้วยโปรแกรม Photoshop ได้ตามกระบวนการ บูรณาการตามหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1. ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามใบงานได้อย่างเหมาะสม 2. กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑ์การประเมินการวาดและระบายสีภาพ 3. ผู้เรียนรู้จักใช้และจัดการวัสดุอุปกรณ์การวาดและระบายสีภาพอย่างประหยัดและคุ้มค่า 4. ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี 5. ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม หลักความมีเหตุผล 1. เห็นคุณค่าของการวาดและระบายสีภาพได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 2.จัดสรรเนื้อหาของการวาดและระบายสีภาพได้อย่างถูกต้องมีเหตุผลและสามารถประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินธุรกิจและในชีวิตประจาวันได้ 3. กล้าแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล 4. กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 5. กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 6. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน หน่วยที่ 5 จานวน 6 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก ชื่อหน่วย การวาดและระบายสีภาพ ชื่อเรื่อง การวาดและระบายสีภาพ(บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง)
  • 29. 29 7. ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาทกับผู้อื่น 8. คิดสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 9. มีความคิดวิเคราะห์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ หลักภูมิคุ้มกัน 1. มีทักษะในการใช้การวาดและระบายสีภาพประยุกต์ในชีวิตประจาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง พร้อมทั้งกาหนดเนื้อหาได้ครบถ้วนถูกต้องตามหลักการการวาดและ ระบายสีภาพที่ดีและมีสาระสาคัญที่สมบูรณ์ 3. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4. กล้าซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยต่าง ๆ อย่างถูกกาลเทศะ 5. แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเองอย่างเป็นเหตุเป็นผล 6. ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ 7. ควบคุมกริยาอาการในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เงื่อนไขคุณธรรม 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด( ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) 4. ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้ 1. ผู้เรียนได้นากระบวนการความรู้เบื้องต้นการการวาดและระบายสีภาพได้ถูกต้อง 2. มีความรู้และเข้าใจในหลักการทางานและองค์ประกอบการวาดและระบายสีภาพ 3. ลาดับประวัติความเป็นมาของการวาดและระบายสีภาพ 4. ใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า 5. ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ 6. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพอเพียง การเชื่อมโยงสู่ 4 มิติ มิติสังคม นักเรียนได้เรียนการวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นช่วยเหลือสังคมในการประกอบอาชีพได้
  • 30. 30 มิติเศรษฐกิจ - รู้จักแถบเครื่องมือการวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง - ประหยัด ลดค่าใช้จ่าย สามารถใช้การวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นเบื้องต้นที่มีขนาดใหญ่ ๆ มิติวัฒนธรรม - การฝึกฝนนักเรียนให้อยู่อย่างมีสติปัญญา - การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างฉลาด มิติสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจะดีเมื่อนักเรียนรู้จักการประยุกต์การวาดและระบายสีภาพเบื้องต้นที่ถูกต้อง การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3D แก่ผู้เรียน ด้านประชาธิปไตย (Democracy) 1. การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ 2. การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency) 1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกาหนด(ความรับผิดชอบ) 2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด (ความประหยัด) 3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน(ความขยัน ความอดทน) ให้ความร่วมมือกับการทากิจกรรมของส่วนรวมอาสาช่วยเหลืองานครูและผู้อื่น(แบ่งปัน) ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug Free) การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่าเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่ เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจาดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งส่งผลทาให้ห่างไกลจากยาเสพ ติดอย่างแท้จริง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ศึกษา (Study) การเติมสีลงในพื้นที่ที่เลือกไว้ 3.2 อธิบาย (Explain) ขั้นตอนการใช้เครื่องมือ Brush และ Pencil 3.3 ปฏิบัติ (Perform) การปรับรูปแบบหัวแปรงด้วย Brush Preset 3.4 ระบุ (Identify) การระบายเปลี่ยนสีวัตถุ 3.5 อธิบายการระบายด้วยภาพจากสถานะเดิม (History Brush)