SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์
แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง
โดย ๑. นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย
๒. นางสาวชนิกานต์ คาพรหม
๓. นายชรัญธร คาปิน
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม
ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
วันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
โครงงานวิทยาศาสตร์
แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง
โดย ๑. นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย
๒. นางสาวชนิกานต์ คาพรหม
๓. นายชรัญธร คาปิน
อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูบุษบา พงษธา
โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม
ชื่อโครงงาน : แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง
ผู้นาเสนอโครงงาน : นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย
นางสาวชนิกานต์ คาพรหม
นายชรัญธร คาปิน
ครูที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูบุษบา พงษธา
บทคัดย่อ
เนื่องจากปัจจุบัน ผู้คนมีความนิยมใช้แผ่นปูทางเดินมากขึ้น แต่มีปัญหาด้านวัสดุก่อสร้าง
เช่น ปูน ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทาให้แผ่นปูทางยึดติดกัน จึงถูกนามาใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน
แต่เนื่องจากมีราคาที่สูง และมีน้าหนักมาก ทางคณะผู้จัดจึงต้องการลดต้นทุนที่ใช้เป็นส่วนผสม
ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน เพื่อลดปริมาณปูนที่ใช้ให้น้อยลง และเสริมให้แผ่นปูทางเดิน
มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้วัสดุเส้นใยธรรมชาติ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยจากฟางข้าว
เส้นใยจากชานอ้อย และเส้นใยจากก้านกล้วย ซึ่งอาจทาให้น้าหนักลดน้อยลง ต้นทุนที่ใช้
ในการผลิตลดลง โดยที่ประสิทธิภาพความแข็งแรงเท่าเดิมหรือดีมากขึ้น
โดยทาการทดลองหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ
ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1:2:1 1:3:1 และ 1:4:1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ด้วยการแบ่งชุดการทดลองเป็น 2 ชุด คือ ชุดวัดการทนต่อน้าหนักของถุงทรายโดยเริ่มจากน้าหนัก
20 กิโลกรัม และเพิ่มขึ้นทีละ 10 กิโลกรัม ชุดทดลองที่ 2 คือ ชุดของการวัดปริมาณการดูดซึมน้า
จากผลการทดลองพบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1:2:1 แล้วจึงทดสอบเส้นใยธรรมชาติ
ในแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน 1:2:1 ของฟางข้าง กาบกล้วย และชานอ้อย ว่าเส้นใยธรรมชาติ
ชนิดใดที่มีผลต่อการช่วยในการยึดติดภายในแผ่นปูทางเดินมากที่สุด และส่งผลให้แผ่นปูทางเดิน
มีความแข็งแรง พบว่าแผ่นปูทางเดินที่มีส่วนประกอบของเส้นใยธรรมชาติจากชานอ้อย
รับน้าหนักของถุงทรายได้ 40 กิโลกรัม จึงสรุปได้ว่าแผ่นปูทางเดินที่ผสมเส้นใยธรรมชาติ
จากชานอ้อย ที่มีอัตราส่วนระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ 1:2:1 มีความแข็งแรงมากที่สุด
ก
กิตติกรรมประกาศ
เรื่องแผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ต้องขอขอบพระคุณ คุณครุบุษบา พงษธา ครูครูที่ปรึกษาโครงงาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ที่ได้ให้คาแนะนาได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ คณะผู้จักทา
ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าสูง ไว้ณ โอกาส นี้
ขอกราบขอบพระคุณ นายบุญเสริญ สุริยา ผู้อานวยการโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ที่ได้ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนในโรงเรียนที่เอื้อต่อการค้นคว้าหาความรู้
ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่กรุณาให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่
เป็นอย่างดีต่อคณะผู้จัดทาโครงงานมาโดยตลอด
ขอขอบคุณเพื่อนๆ ตลอดจนผู้ที่ช่วยสนับสนุนโครงงานนี้ ทุกคน โดยคอยเป็นกาลังใจ
และให้ความช่วยเหลือจนโครงงานสามรถสาเร็จและลุล่วงไปได้ด้วยดี
โครงงานนี้ จะไม่สามารถสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากไม่มีผู้มีพระคุณ ผู้ที่ให้
ความช่วยเหลือแก่โครงงานของคณะผู้จัดทา ทางคณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง จ
สารบัญรูปภาพ ฉ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 สมมติฐาน 1
1.4 ตัวแปรที่ศึกษา 2
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 2
1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ 2
1.7 ขอบเขตการศึกษา 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 ฟางข้าว 4
2.2 ชานอ้อย 5
2.3 ก้านกล้วย 6
2.4 วิธีการทดสอบความแข็งแกร่ง 7
2.5 วิธีการบ่ม 8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 11
3.1 จุดประสงค์การทดลอง 11
3.2 วัสดุอุปกรณ์ 11
3.3 วิธีการทดลอง 11
ค
สารบัญ(ต่อ)
เรื่อง หน้า
บทที่ 4 ผลการทดลอง 15
ผลการทดลอง 15
ตอนที่1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม 15
ตอนที่2 ทดสอบความแข็งแรงกาบกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย 16
ตอนที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า 16
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 17
5.1 สรุปผลการทดลอง 17
5.2 อภิปราย 17
5.3 ปัญหาและอุปสรรค์ 18
5.4 ข้อเสนอแนะ 18
เอกสารอ้างอิง 19
ภาคผนวก 21
ง
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม 15
ตารางที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงกาบกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย 16
ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า 16
จ
สารบัญรูปภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 1 การเตรียมแม่พิมพ์ทาอิฐบล็อค 20
ภาพที่ 2 อุปกรณ์ทาแม่พิมพ์อิฐบล็อค 20
ภาพที่ 3 แม่พิมพ์อิฐบล็อค 20
ภาพที่ 4 การเตรียมก้านกล้วย 20
ภาพที่ 5 ฟางข้าวและก้านกล้วย 20
ภาพที่ 6 การชั่งปูน 21
ภาพที่ 7 การผสมปูนและทราย 21
ภาพที่ 8 การใส่น้าลงไปในปูนและทราย 21
ภาพที่ 9 เทปูนลงในแม่พิมพ์ 21
ภาพที่ 10 เมื่อผสมเส้นใยและปูนเสร็จ 21
ภาพที่ 11 เมื่อปูนแห้งและแกะออกจากแม่พิมพ์ 21
ภาพที่ 12 การนากระสอบมาปู 22
ภาพที่ 13 การนาอิฐบล็อคมาวางบนกระสอบ 22
ภาพที่ 14 การนาอิฐบล็อคมาวงบนกระสอบ 22
ภาพที่ 15 การพรมน้าให้ทั่วอิฐบล็อค 22
ภาพที่ 16-17 การทดสอบความแข็งแรงของอิฐบล็อค 22
ฉ
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากปัจจุบัน ผู้คนมีความนิยมใช้แผ่นปูทางเดินมากขึ้น แต่มีปัญหาด้านวัสดุก่อสร้าง
เช่น ปูน ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทาให้แผ่นปูทางยึดติดกัน จึงถูกนามาใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน
แต่เนื่องจากมีราคาที่สูง และมีน้าหนักมาก ทางคณะผู้จัดจึงต้องการลดต้นทุนที่ใช้เป็นส่วนผสม
ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน เพื่อลดปริมาณปูนที่ใช้ให้น้อยลง และเสริมให้แผ่นปูทางเดิน
มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้วัสดุเส้นใยธรรมชาติ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยจากฟางข้าว
เส้นใยจากชานอ้อย และเส้นใยจากก้านกล้วย ซึ่งอาจทาให้น้าหนักลดน้อยลง ต้นทุนที่ใช้
ในการผลิตลดลง โดยที่ประสิทธิภาพความแข็งแรงเท่าเดิมหรือดีมากขึ้น
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน
1.2.2 ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด
1.3 สมมติฐาน
แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของฟางข้าวมีความแข็งแรงมากกว่า
แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของชานอ้อยและก้านกล้วย
อัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดินระหว่าง
ปูน : วัสดุเส้นใยธรรมชาติ : ทราย คือ 1 : 2 : 1
1.4 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น - ชนิดของวัสดุเส้นใยธรรมชาติ
- อัตราส่วนของส่วนผสม
ตัวแปรตาม - ความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดิน
- การดูดซึมน้า
- การผุกร่อนของพื้นผิว
ตัวแปรควบคุม - ปริมาณของวัสดุเส้นใยธรรมชาติ
- ขนาดของแผ่นปูทางเดิน
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
วัสดุเส้นใยธรรมชาติ คือ วัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ โดยกาหนดให้เป็นวัสดุเส้นใย
ที่ได้จากฟางข้าว จากชานอ้อย และจากก้านกล้วย ซึ่งจะถูกนามาตัดให้เป็ นชิ้นส่วนเล็กๆ
ประมาณ 5-15 เซนติเมตร ก่อนที่จะนาไปผสมกับส่วนผสมอื่นๆ ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน
1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ
การบ่ม เป็ นการควบคุมและป้องกันไม่ให้น้ าในการผสมคอนกรีตระเหย
ออกจากแผ่นปูทางเดินที่แข็งตัวแล้ว เร็วเกินไป เนื่องจากน้าเป็ นองค์ประกอบสาคัญ
สาหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ซึ่งจะส่งผลต่อกาลังของแผ่นปูทางเดินโดยตรง ดังนั้นหลังจากที่ผิวหน้า
ของแผ่นปูทางเดินแข็งตัวแล้ว จึงจะต้องบ่มให้มีความชื้น เป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 7 วัน
ความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินจะเพิ่มขึ้น
2
1.7 ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด
จากการทดสอบการต้านทานต่อแรงกด คุณสมบัติในการดูดซึมน้า และความหนาแน่น
หรือการยึดติดกันของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด ในอัตราส่วน
ที่เหมาะสม
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ฟางข้าว
โครงงานการพัฒนาคอนกรีตมวลเบาจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร โดยนาวัสดุเหลือทิ้ง
ทางการเกษตรอันได้แก่ฟางข้าว และขุยมะพร้าว ซึ่งมีมากในประเทศไทยมาใช้เป็ นวัสดุ
เสริมคอนกรีตและทาให้คอนกรีตมีน้ าหนักเบากว่าปูนมอร์ต้า 25-40 เปอร์เซ็นต์
เมื่อมีเส้นใยในระบบ 30-50 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร คอนกรีตมวลเบาที่มีเส้นใยฟางข้าว
ขนาดละเอียด 20 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับขุยมะพร้าวละเอียด 10 เปอร์เซ็นต์ ให้ค่ากาลังอัดสูง
ถึง 140 กิโลกรัม/เซนติเมตร2
โดยมีความหนาแน่นมวลรวมที่ลดลงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์
การบ่มชิ้นงานคอนกรีตไว้เป็นเวลามากกว่า 28 วัน จะมีการพัฒนาการรับแรงอัดที่สูง
งานวิจัยที่ศึกษาการใช้ฟางข้าวเพื่อผลิตแผ่นซีเมนต์บอร์ดฉนวนกันความร้อน
ที่มีอัตราส่วนระหว่างปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ต่อทราย เท่ากับ 1:0.8, 1:1 และ 1:1.2
โดยน้ าหนัก จากนั้ นนาฟางข้าวขนาดค้างบนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 4, 8 และ16
ไปแทนที่ทรายในปริมาณ 0.04, 0.05, 0.06, 0.07 และ 0.08 กิโลกรัม ตามลาดับ ทาการทดสอบ
คุณสมบัติทางกายภาพของแผ่นซีเมนต์บอร์ด ได้แก่ ความหนาแน่นและร้อยละการดูดซึมน้า
และคุณสมบัติทางกล ได้แก่ กาลังรับแรงกดแตก ตามมาตรฐาน มอก. 219-2552 เพื่อหาอัตราส่วน
ของซีเมนต์บอร์ดผสมฟางข้าวที่เหมาะสมที่สุด จากนั้นใช้อัตราส่วนผสมที่เหมาะสมที่สุด
มาปรับปรุงคุณภาพ โดยเติมสารซีเอ็มซี และทาการทดสอบกาลังแรงกดแตก และค่าสภาพ
การนาความร้อน จากผลการทดสอบ พบว่าที่อัตราส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย 1:0.8 โดยผสมฟางข้าว
ขนาดค้างบนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 16 เพิ่มในปริมาณ 0.04 กิโลกรัม เป็นส่วนผสมที่เหมาะสม
คือ มีกาลังรับแรงกดแตกสูงสุด เท่ากับ 20.43 กิโลกรัม/เซนติเมตร2
และมีค่าการดูดซึมน้า
ร้อยละ 20.82 และการเติมสารซีเอ็มซีร้อยละ 0.2 และร้อยละ 0.4 โดยน้าหนักของซีเมนต์
ทาให้ได้แผ่นยิปซัมบอร์ดมีค่าสภาพการนาความร้อนลดลง แต่กาลังรับแรงกดแตกก็ลดลงด้วย
2.2 ชานอ้อย
จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของชานอ้อย พบว่า ชานอ้อยมีปริมาณความชื้น
ประมาณร้อยละ 49 เส้นใยประมาณร้อยละ 49 และของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid)
ประมาณ ร้อยละ 2 (Chiparus, 2004) และจากการวิเคราะห์ องค์ประกอบ ท างเคมี
ของเส้นใยชานอ้อยแห้ง พบว่า ประกอบด้วยอัลฟาเซลลูโลส ประมาณร้อยละ 45.5
เฮมิเซลลูโลสประมาณร้อยละ 27 ลิกนินประมาณร้อยละ 21.1 และอื่นๆ ประมาณร้อยละ 6.9
(Rocha et al., 2011) ชานอ้อยเป็นแหล่งเซลลูโลสสาหรับการผลิตน้าตาลรีดิวซ์ (reducing sugar)
ด้วยกระบวนการไฮโดรไลซิส เพื่อใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเอทานอล (Guo et al., 2013)
สาหรับผสมในน้ามันเชื้อเพลิงรถยนต์ นอกจากนี้เส้นใยเซลลูโลสจากชานอ้อยยังได้รับความสนใจ
ในการนามาประยุกต์ใช้ทางด้านสิ่ งทอ ทั้ งที่เป็ นเส้นใยธรรมชาติ (natural fiber)
จากชานอ้อย (Chiparus, 2004) และเส้นใยเซลลูโลสประดิษฐ์ (regenerated cellulosic fiber)
จากชานอ้อย (Uddin et al., 2010; Jiang et al., 2011)
จากโครงงานวิจัยศึกษาผลกระทบของปูนซีเมนต์ผสมเถ้าชานอ้อยและเถ้าลอย
ในลักษณะบดร่วม ต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของคอนกรีต ได้แก่ ค่ายุบตัว หน่วยน้าหนัก
ปริมาณอากาศ และกาลังอัดของคอนกรีต โดยมีตัวแปรในการทดสอบคือปริมาณเถ้าชานอ้อย
ผสมเถ้าลอยที่แทนปูนซีเมนต์ร้อยละ 20, 30 และร้อยละ 40 โดยน้าหนักของวัสดุประสาน
เปรียบเทียบกับคอนกรีตควบคุมที่ใช้ปูนซีเมนต์ล้วน ในการศึกษานี้ใช้เถ้าชานอ้อยบด
ร่วมกับเถ้าลอยในอัตราส่วน 60 : 40 โดยน้าหนัก ผลจากการทดสอบพบว่าการแทนที่ปูนซีเมนต์
ด้วยเถ้าชานอ้อยผสมเถ้าลอยเพิ่มมากขึ้นทาให้ค่ายุบตัวและหน่วยน้าหนักของคอนกรีต
ลดลงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับคอนกรีตควบคุม มีค่าปริมาณอากาศในคอนกรีตใกล้เคียงกัน
ค่ากาลังอัดและกาลังดัดของคอนกรีตลดลง เมื่อเพิ่มปริมาณการผสมเถ้าชานอ้อย
กับเถ้าลอยในคอนกรีต จากการศึกษานี้ ยังพบว่าการใช้เถ้าชานอ้อยผสมเถ้าลอย
ในอัตราส่ วน 60 : 40 โดยน้ าห นัก อาจใช้แทนที่ปูนซี เมนต์ในการทาคอนกรี ต
ได้ถึงร้อยละ 30 โดยน้าหนักของวัสดุประสาน โดยยังคงมีคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกล
เทียบเท่ากับคอนกรีตควบคุมที่ทาจากปูนซีเมนต์ล้วน
5
2.3 ก้านกล้วย
ต้นกล้วยเป็นพืชล้มลุกที่เกษตรกรไทยนิยมปลูกแพร่หลาย เนื่องจากให้ผลตอบแทนเร็ว
และสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้เกือบทุกส่วน จากคุณสมบัติทางด้านความเหนียว
ในการนามาทาเป็นเชือกกล้วย ซึ่งได้จากส่วนกาบใบ น่าจะมีความเป็นไปได้ในการนาเอากาบกล้วย
มาผลิตกระดาษที่มีความทนทานและเหนียวได้ถ้าใยกล้วยสามารถ นามาเตรียมเป็นเยื่อกระดาษได้
จะช่วยลดมูลค่าการนาเข้าเยื่อกระดาษจากต่างประเทศ และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของกล้วยให้สูงขึ้น
ในการทดลองได้เตรียมเยื่อกระดาษจากกาบกล้วยโดยกรรมวิธีโซดา สารเคมีที่ใช้คือ NaOH
อุณหภูมิในการต้มเยื่อคือ 160° C เวลา 2 ชั่วโมง โดยทาการทดลอง 8 ชุด คือ 14%, 18%, 20%, 24%
NaOH ของน้ าหนักวัตถุดิบแห้ง และในอีก 4 ชุด จะทาที่เปอร์เซ็นต์ NaOH เดียวกัน
แต่เติม Anthraquinone 0.25% ของน้าหนักวัตถุดิบแห้ง เยื่อกระดาษที่ได้นาไปหา Kappa No.
ซึ่งเป็นค่าที่บ่งบอกถึงปริมาณลิกนินที่เหลืออยู่ในเยื่อกระดาษ และหาปริมาณเปอร์เซ็นต์ของ Yield
ของเยื่อกระดาษ จากการต้ม เยื่อ ห ลังจ ากนั้ น น าเยื่อกล้วยไป ขึ้ น รู ป กระดาษ
โดยเครื่อง Sheet Forming แล้วนากระดาษไปทดสอบสมบัติด้านต่างๆ จากผลการทดลองได้ว่า
ค่ าเป อ ร์ เซ็ น ต์ข อ ง Yield ต่ าม าก (~25% ) แ ล ะ ค่ า Kappa No. สู งม าก (~50-60)
ความต้านทานในการดึง (Tensile Strength) มีค่าอยู่ในช่วง 5000-7000 เมตร ค่าความต้าน
ต่อการฉีกขาด (Tearing factor) อยู่ในช่วง 90-100 gf/gsm, ค่าความต้านทานแรงดันทะลุ
(Bursting factor) อยู่ในช่วง 30-40 ksc/gsm, ค่าความต้านทานการหักพับ (Folding endurance)
อยู่ในช่วง 900-1200 ครั้ง ซึ่งทาให้สรุปได้ว่า เส้นใยจากกล้วยให้กระดาษที่มีสมบัติดี
แต่ไม่เหมาะสมในการลงทุน เนื่องจากเยื่อที่ได้มีลิกนินเหลืออยู่สูงมาก และให้ค่าของ Yield ที่ต่า
ประกอบกับเยื่อมีความอุ้มน้ าสูง เป็ นอุปสรรคต่อการระบายน้ าขณะขึ้นรูปกระดาษ
ทาให้ต้องใช้เวลามาก สิ้นเปลืองพลังงาน และเนื้อกระดาษไม่มีความเป็นเอกภาพ (Uniformity)
ทั้งนี้เพราะเยื่อกระจายตัวไม่ดี ถ้าในอนาคตได้มีการวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตเยื่อ
ก็อาจจะมีโอกาสนาใยกล้วยมาใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษได้
6
2.4 วิธีการทดสอบความแข็งแกร่ง
การรับแรงอัด (Compressive Strength)
1. นาอิฐตัวอย่าง 3 ก้อน มาวัดขนาดให้ละเอียดถึง 0.1 ซ.ม.
2. ใช้ปูนปลาสเตอร์เคลือบผิวของอิฐตัวอย่างด้านที่ใช้รับแรงกดทั้งสองด้าน
(ด้านกว้าง) โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
- ทาน้ามันบนแผ่นกระจกที่ตรึงไว้กับโต๊ะ (ให้ทาแค่พอลื่น)
- เทปูนปลาสเตอร์ที่ผสมเรียบร้อยแล้วบนแผ่นกระจก
- นาด้านที่ใช้รับแรงของอิฐตัวอย่างกดลงบนปูนปลาสเตอร์โดยทันที
และพยายามให้ความหนาของปูนปลาสเตอร์ที่อยู่ระหว่างกระจกกับผิวของอิฐ
ไม่เกิน 5 mm. พร้อมทั้งใช้เกรียงตัดแต่งปูนปลาสเตอร์ ทางด้านข้างให้มีขนาดพอดี
กับความกว้างของอิฐ
- ทิ้งไว้ให้ปูนปลาสเตอร์เริ่มแข็งตัวจึงค่อยๆ เลื่อนอิฐออกทางด้านข้าง
ของกระจก โดยระวังไม่ให้ปูนปลาสเตอร์หลุดออกจากผิวอิฐ (ถ้ารีบเลื่อนอิฐ
เร็วเกินไปจะทาให้ปูนไม่ติดกับอิฐได้ หรือถ้าทิ้งระยะให้ปูนแข็งตัวนานเกินไป
จะทาให้เลื่อนอิฐได้ยาก ซึ่งมักจะทาให้ปูนหลุดเช่นกัน)
- เคลือบผิวอิฐด้านที่รับแรงทั้งสองด้าน
3. ทิ้งให้แห้งอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
4. วางอิฐตัวอย่างให้ตรงกับจุดศูนย์กลางของเครื่องกด ให้ด้านที่เคลือบรับแรงกด
5. เดินเครื่องกดโดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกปรับให้น้าหนักที่กด เป็นไปอย่างสม่าเสมอ
เมื่อกดได้น้าหนักประมาณครึ่งหนึ่งของน้าหนักที่รับเต็มที่ ให้เพิ่มอัตราเร็วให้สูงขึ้น
จนตัวอย่างทดสอบแตกหัก บันทึกค่าแรงกดสูงสุดและวาดรูปลักษณะการแตกหัก
7
6. กาลังรับแรงกดสูงสุดของอิฐทดสอบ
กาลังรับแรงกดสูงสุดของอิฐ (kg / cm2
) = [ P max / Ag ]
P max = แรงกดสูงสุด (kg)
Ag = พื้นที่รับแรงกดของอิฐ (cm2
)
การดูดซึมน้า (Absorption) (การชั่งน้าหนักให้ชั่งให้ละเอียดถึง 0.02 kg)
1. แช่ก้อนตัวอย่างทดสอบ 3 ก้อน ในน้าอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
2. นาอิฐทดสอบขึ้นจากน้า เช็ดผิวหน้าให้แห้งด้วยผ้าชื้นแล้วนาไปชั่งให้เรียบร้อย
ภายในเวลาไม่เกิน 3 นาที หลักจากนาขึ้นจากน้าจะเป็นน้าหนักสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง
(Weight at saturated surface dry, W.)
3. นาไปอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 110± ° C จนน้าหนักคงที่ โดยใช้เวลาอบ
48 ชั่วโมง ปล่อยให้เย็นที่อุณหภูมิห้องแล้วชั่งน้าหนักเป็นสภาพอบแห้ง (Wd)
4. หาเปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้าของอิฐทดสอบ
การดูดซึมความชื้นของอิฐ ( % ) = [ ( Ws - Wd ) / Wd ] x 100
2.5 วิธีการบ่ม
วิธีการบ่มคอนกรีตจะขึ้นอยู่กับสภาพของงานคอนกรีตนั้นๆ เป็นหลัก ลักษณะของการบ่ม
คอนกรีตสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือการเพิ่มความชื้นให้คอนกรีต การป้องกันการเสียน้า
ของคอนกรีต และการเร่งกาลัง
8
1. การบ่มโดยการเพิ่มความชื้นให้คอนกรีต การบ่มลักษณะนี้ จะเพิ่มความชื้น
ให้กับผิวคอนกรีตโดยตรง เพื่อทดแทนการระเหยของน้ าออกจากคอนกรีต
การบ่มลักษณะนี้สามารถทาได้หลายวิธี ดังต่อไปนี้
1.1 การขังหรือหล่อน้า เป็นการทานบกั้นน้าไม้ให้น้าไหลออกมักจะใช้กับงาน
ทางระดับ เช่น พื้น หรือถนน เป็นต้น วัสดุที่ใช้ทาทานบอาจจะเป็นดินเหนียว
หรืออิฐก็ได้และหลังจากบ่มเสร็จแล้ว อาจจะต้องทาความสะอาดผิวหน้าคอนกรีต
1.2 การฉีดน้าหรือรดน้า เป็นการฉีดน้าให้ผิวคอนกรีตเปียกอยู่เสมอ วิธีนี้ใช้ได้กับ
งานคอนกรีต ทั้งในแนวดิ่ง แนวระดับ หรือแนวเอียง ควรฉีดน้าให้ทั่วถึง
ทุกส่วนของคอนกรีต และแรงดันน้าต้องไม่แรงเกินไปจนชะเอาผิวหน้าคอนกรีต
ที่ยังไม่แข็งตัวดีออก
1.3 การคลุมด้วยวัสดุเปี ยก วัสดุที่ใช้คลุมอาจจะใช้ ผ้าใบ กระสอบ
หรือวัสดุอื่นที่อมน้า ข้อควรระวัง คือวัสดุที่คลุมต้องเปี ยกชุ่มอยู่เสมอ
การคลุมต้องคลุมให้วัสดุคลุมเหลื่อมกัน
2. การบ่มโดยการป้องกันการเสียน้าจากเนื้อคอนกรีต วิธีการนี้ใช้การผนึกผิวของคอนกรีต
เพื่อป้องกันมิให้ความชื้นจากคอนกรีตระเหยออกจากเนื้อคอนกรีต การบ่มลักษณะนี้
สามารถกระทาได้หลายวิธีดังนี้
2.1 การบ่มในแบบหล่อ แบบหล่อไม้ที่เปียก และแบบหล่อเหล็ก สามารถป้องกัน
การสูญเสียความชื้นได้ดี เพียงแค่ทิ้งแบบหล่อให้อยู่กับคอนกรีตที่หล่อไว้
ให้นานที่สุดเท่าที่จะทาได้ และคอยดูแลให้ผิวด้านบนคอนกรีตมีน้าอยู่
โดยน้านั้นสามารถไหลซึมลงมาระหว่างแบบหล่อกับคอนกรีตได้
2.2 การใช้กระดาษกันน้าซึม เป็นการใช้กระดาษกันน้าซึม ปิดทับผิวคอนกรีต
ให้สนิท เป็นเวลาอย่างน้อย 3 วัน วิธีนี้มักนิยมใช้กับงานคอนกรีตแนวระดับ
กระดาษกันน้าซึมนี้ เป็ นกระดาษเหนียวสองชั้นยึดติดกันด้วยยางมะตอย
9
และเสริมความเหนียวด้วยใยแก้ว มีคุณสมบัติในการยึดหดตัวไม่มากนัก
เวลาที่เปียกและแห้ง
2.3 การใช้แผ่นผ้าพลาสติกคลุม วิธีการนี้จะเหมือนกับการใช้กระดาษกันน้า
แต่แผ่น ผ้าพ ลาสติกจะเบากว่ามาก จึงสะดวกใน การใช้มากกว่า
สามารถใช้กับงานโครงสร้างทุกชนิด ข้อควรระวังเช่นเดียวกับกระดาษกันน้า
คือ รอยต่อและการชารุดฉีกขาด และเนื่องจากมีน้าหนักเบา จึงต้องระวัง
เรื่องการผูกยึด ป้องกันลมพัดปลิวด้วย
2.4 การใช้สารเคมีเคลือบผิวคอนกรีต เป็นการพ่นสารเคมีลงบนผิวคอนกรีต
ซึ่งสารเคมีที่พ่นนี้จะกลายเป็นเยื่อบางๆ คลุมผิวคอนกรีตป้องกันการระเหยออก
ของน้าในคอนกรีตได้ การบ่มวิธีนี้ทั้งสะดวกและรวดเร็วแต่ค่าใช้จ่ายสูง
การพ่นสารเคมีนี้ต้องกระทาในขณะที่ผิวคอนกรีตยังชื้นอยู่ และต้องพ่น
ให้ทั่วถึง ข้อที่ควรทราบ คือสารเคมีประเภทนี้ จะทาให้การยึดเหนี่ยว
ระหว่างคอนกรีตเดิมกับคอนกรีตที่จะเทใหม่เสี ยไป จึงไม่ควรใช้
กับงานคอนกรีตที่ต้องต่อเติม หรือฉาบปูนในภายหลัง และหากใช้สารเคมี
ฉีดพ่นแล้ว ไม่ควรฉีดน้าซ้า เพราะน้าจะไปชะล้างสารเคมีออก
3. การบ่มด้วยการเร่งกาลัง เป็นการบ่มคอนกรีตด้วยไอน้า โดยให้ความชื้น และความร้อน
กับคอนกรีตที่หล่อเสร็จใหม่ๆ วิธีนี้จะทาให้คอนกรีตมีกาลังสูงขึ้นโดยรวดเร็ว
ช่วยลดการหดตัว และเพิ่มความต้านทานต่อสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อคอนกรีต
การบ่มคอนกรีตด้วยวิธีนี้ สามารถทาได้สองวิธี คือการบ่มด้วยไอน้าที่มีความดันต่า
และการบ่มด้วยไอน้ าที่มีความดันสูง การบ่มด้วยการเร่งกาลัง นิยมใช้กัน
ในงานอุตสาหกรรมคอนกรีตสาเร็จรูป
10
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการทดลอง
3.1 จุดประสงค์การทดลอง
3.1.1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน
3.1.2 ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด
3.2 วัสดุอุปกรณ์
3.2.1 วัสดุเส้นใยจากฟางข้าว
3.2.2 วัสดุเส้นใยจากชานอ้อย
3.2.3 วัสดุเส้นใยจากก้านกล้วย
3.2.4 เครื่องชั่งสปริง
3.2.5 มีดหั่น
3.2.6 ปูน
3.2.7 ทราย
3.2.8 ถังที่ใช้ผสมส่วนผสม
3.2.9 น้ามัน
3.2.10 แบบแผ่นปูทางเดิน กว้าง x ยาว 30 เซนติเมตร หนา 2 นิ้ว
3.3 วิธีการทดลอง
3.3.1 ขั้นเตรียมการ
การออกแบบหาอัตราส่วนผสมของแผ่นปูทางเดินที่เหมาะสม
ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย = 1 : 2 : 1
= 1 : 3 : 1
= 1 : 4 : 1
ออกแบบวิธีการทดลอง และการทดสอบความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดิน
3.3.2 ขั้นการทดลอง
แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของฟางข้าว
1. หั่ น วัส ดุ เส้ น ใยธรรม ช าติ จาก ฟ างข้าว ให้ มี ค วาม ยาว
ประมาณ 5-15 เซนติเมตร
2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ
3. ผสมปูนและฟางข้าวและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1
และ 1 : 4 : 1
4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ
ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร
5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง
ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น
แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของชานอ้อย
1. หั่ น วัส ดุ เส้ น ใยธรรม ชาติ จากชาน อ้อย ให้ มี ความ ยาว
ประมาณ 5-15 เซนติเมตร
2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ
3. ผสมปูนและชานอ้อยและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1
และ 1 : 4 : 1
4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ
ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร
5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง
ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น
แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของก้านกล้วย
1. หั่น วัสดุเส้น ใยธรรมชาติจากก้าน กล้วย ให้มีความยาว
ประมาณ 5-15 เซนติเมตร
12
2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ
3. ผสมปูนและก้านกล้วยและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1
และ 1 : 4 : 1
4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ
ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร
5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง
ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น
การบ่ม จะทาด้วยวิธีการคลุมด้วยวัสดุเปี ยก วัสดุที่ใช้คลุมอาจจะใช้ ผ้าใบ กระสอบ
หรือวัสดุอื่นที่อมน้า โดยระวังให้วัสดุที่คลุมเปียกชุ่มอยู่เสมอ คลุมให้วัสดุคลุมเหลื่อมกัน
การทดสอบความแข็งแรง ระหว่างแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติ
ทั้ง 3 ชนิด ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
1. ทดสอบการทนต่อแรงกด ด้วยวิธีการใช้ถุงทรายน้าหนัก 10 กิโลกรัม วางลง
บนแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด โดยเพิ่มน้าหนักให้มากขึ้นทีละ
10 กิโลกรัม
2. ทดสอบการดูดซึมน้า โดยการชั่งน้าหนักแผ่นปูทางเดิน จากนั้นนาไปแช่น้าเป็น
เวลา 1 ชั่วโมง และนาขึ้นมาชั่งน้าหนักหาผลต่างน้าหนักที่มากขึ้น ซึ่งเป็ นความสามารถ
ในการดูดซึมน้า (ปริมาณน้าที่ดูดแปรผกผันกับประสิทธิภาพของแผ่นปูทางเดิน) จากนั้นรอ
อีก 15 นาที แล้วนามาชั่งครั้งที่ 2 หาผลต่างกับน้าหนักที่ชั่งได้กับน้าหนักของแผ่นปูทางเดิน
ก่อนแช่น้า เพื่อหาประสิทธิภาพในการระเหยของน้า ของแผ่นปูทางเดินจากเส้นใยธรรมชาติ
ทั้ง 3 ชนิด
13
3. ทดสอบการผุกร่อนของพื้นผิว โดยการใช้มีด ในการขีดข่วน ที่บริเวณพื้นผิว
ของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด
14
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
การทดลองการศึกษาความแข็งแรงจากเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากกาบกล้วย ฟางข้าว
และชานอ้อย พบว่าชานอ้อยมีความแข็งแรงมากกว่าฟางข้าวและก้านกล้วยเนื่องจากรับน้าหนัก
ได้มากที่สุด และแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน ปูน : เส้นใย : ทราย 1: 2: 1 ทาให้แผ่นปูทางเดิน
แข็งแรงที่สุด
ตอนที่1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม
อัตราส่วน
(ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย)
น้าหนักของถุงทราย
(กิโลกรัม)
การเปลี่ยนแปลงของ
แผ่นปูทางเดิน
1 : 2 :1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
40 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
1 : 3 : 1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
40 มีรอยแตกเล็กน้อย
1 : 4 :1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 มีรอยแตกเล็กน้อย
40 รอยแตกเพิ่มขึ้น
สรุปผลการทดลอง
อัตราส่ วนที่เหมาะสมกับการผลิตแผ่นปูทางเดินมากที่สุ ด คือ อัตราส่ วน
ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย 1 : 2 : 1 เนื่องจากยังสามารถรับน้ าหนัก 60 กิโลกรัม
โดยที่ไม่มีการแตกหักใดๆ โดยมีสภาพการทนต่อแรงกดทับมีดังนี้ อัตราส่ วน
ปูน : เส้น ใยธรรมชาติ : ทราย 1 : 2 : 1 รับน้ าห นักได้ดีกว่าอัตราส่ วน 1 : 3 : 1
และอัตราส่วน 1 : 4 : 1 รับน้าหนักได้น้อยที่สุด
ตอนที่2 ทดสอบความแข็งแรงก้านกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย
เส้นใยธรรมชาติ น้าหนักของถุงทราย
(กิโลกรัม)
การเปลี่ยนแปลงของ
แผ่นปูทางเดิน
ก้านกล้วย 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 มีรอยแตกเล็กน้อย
40 มีรอยแตกเพิ่มขึ้น
ฟางข้าว 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
40 มีรอยแตกเล็กน้อย
ชานอ้อย 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
40 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
สรุปผลการทดลอง
แผ่นปูทางเดินจากเส้นใยธรรมชาติของ ชานอ้อยรับน้าหนักได้ดีที่สุด รองลงมาคือ ฟางข้าว
และก้านกล้วยตามลาดับ
ตอนที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า
ชนิดของเส้นใยธรรมชาติ
ในแผ่นปูทางเดิน
น้าหนักก่อนแช่น้า
1 ชั่วโมง
(กิโลกรัม)
น้าหนักหลังแช่
น้า 1 ชั่วโมง
(กิโลกรัม)
น้าหนักเมื่อตั้งพักไว้
15 นาที
(กิโลกรัม)
ก้านกล้วย 3 3.7 3.5
ฟางข้าว 3 3.5 3.3
ชานอ้อย 3 3.2 3.1
สรุปผลการทดลอง
ชานอ้อยมีการดูซับน้าได้น้อยและไวที่สุด รองลงมาคือฟางข้าวและก้านกล้วย
ส่วนการระเหยน้าชานอ้อยระเหยได้เร็วที่สุด รองลงมาคือฟางข้าวและก้านกล้วย จึงสรุปได้ว่า
แผ่นปูทางเดินจากชานอ้อยมีประสิทธิภาพดีที่สุด
16
บทที่ 5
สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
จากการทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ
โดยทดลอง ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดิน
มีประสิทธิภาพมากที่สุด และส่วนผสมของเส้นใยธรรมชาติจากฟางข้าว กาบกล้วย และชานอ้อย
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของแผ่นปูทางเดินและลดต้นทุนการผลิตโดยการนาเส้นใยธรรมชาติ
มาเป็นส่วนผสมในการช่วยในการยึดติดของแผ่นปูทางเดิน
5.1 สรุปผลการทดลอง
5.1.1 อัต ร าส่ ว น ที่ เห ม าะ ส ม ส าห รั บ ก าร ท าแ ผ่ น ปู ท างเดิ น ร ะ ห ว่ าง
ปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินรับน้าหนักของถุงทรายได้ดีที่สุด
ถึง 40 กิโลกรัมและมีการดูดซึมน้าที่น้อยที่สุด คืออัตราส่วน 1:2:1
5.1.2 เส้นใยธรรมชาติที่นาไปผสมกับแผ่นปูทางเดินแล้วทาให้ช่วยเพิ่มแรงยึดติด
ภายในของแผ่นปูทางเดินได้ดีที่สุดคือ ชานอ้อย
5.2 อภิปราย
จากการทดลองหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ
ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินมีประสิทธิภาพ
มากที่สุด ด้วยการแบ่งชุดการทดลองเป็ น 2 ชุด คือ ชุดวัดการทนต่อน้าหนักของถุงทราย
โดยเริ่ มจากน้ าห นัก 20 กิโลกรัม และเพิ่มขึ้ น ที ละ 10 กิโลกรัม ชุดทดลองที่ 2
คือ ชุดของการวัดปริมาณการดูดซึมน้า ผลของอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1 : 2 : 1 แล้วจึงทดสอบ
เส้นใยธรรมชาติในแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน 1 : 2 : 1 ของฟางข้าง กาบกล้วย และชานอ้อยว่าเส้น
ใยธรรมชาติชนิดใดที่มีผลต่อการช่วยในการยึดติดภายในแผ่นปูทางเดินมากที่สุด
และส่งผลให้แผ่นปูทางเดินมีความแข็งแรง โดยพบว่าแผ่นปูทางเดินที่มีส่วนประกอบ
ของเส้นใยธรรมชาติจากฟางข้าวมีการรับต่อแรงกดของถุงทรายได้ 40 กิโลกรัม จึงสรุปได้ว่า
แ ผ่น ปู ท างเดิ น ที่ ผ ส ม เส้ น ใยธ รรม ช าติ จาก ฟ างข้าวที่ มี อัต ราส่ วน ระห ว่าง
ปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ 1 : 2 : 1 มีความแข็งแรงมากที่สุด
5.3 ปัญหาและอุปสรรค์
5.3.1 สมาชิกมีเวลาไม่ตรงกัน
5.3.2 เส้นใยธรรมชาติหาได้ยาก
5.3.3 การแบ่งที่หน้าในการทางานไม่ชัดเจน
5.3.4 ไม่ปรึกษากันทาให้งานออกมาล่าช้า
5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 สมาชิกที่มีเวลาว่างตรงกันก็ทางานล่วงหน้า ส่วนคนที่มีเวลาไม่ตรง พอเมื่อมีเวลาว่าง
จึงค่อยมาทา
5.4.2 ปรึกษาเพื่อนในห้องว่าแถวบ้านใครมีเส้นใยธรรมชาติที่คณะผู้จัดทาต้องการ
5.4.3 คณะผู้จัดทาควรมีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา
5.4.4 นัดกันวางแผนการทางานล่วงหน้า
18
เอกสารอ้างอิง
นายคาชาย พันทวงศ์. 2559. พัฒนาปูนจากฟางข้าวและไม้ไผ่http://kucon.lib.ku.ac.th/FullText/
KC5211003.pdf. 26 กันยายน 2559
จุฑารัตน์ หวังมวลกลาง. 2559. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของอิฐบล็อกที่ทาจากวัสดุธรรมชาติ
กับอิฐบล็อกทั่วไป. http://jutaratand.blogspot.com/. 26 กันยายน 2559
ดร.เรืองรุชดิ์. 2559. การทดสอบคุณสมบัติของอิฐก่อสร้างhttp://sungkomonline.com/fiw
e/Webboard_ans.php?webID=11&pageID=5&questionID=50. 26 กันยายน 2559
ไม่ปรากฏชื่อ. 2559. เส้นใยธรรมชาติ. https://www.ruedee.com/th/fabric/natural_fibers/.
26 กันยายน 2559
ดร.เรืองรุชดิ์. 2557. หลักการและสมการที่ใช้ในการปฏิบัติการhttp://sungkomonline.com/file/Web
Board.m . 10 กรกฎาคม 2560
ศศิประภา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. 2559. ศักยภาพของชานอ้อยhttp://www.thaitextile.org/blog/2016/
10/cell.10 กรกฎาคม 2560
ไม่ปรากฏชื่อ. 2559. การบ่มคอนกรีต (CONCRETE CURING) http://www.civilclub.net/%E0.
10 กรกฎาคม 2560
ภัทร์ สุขแสน, พัชราภรณ์ สาธุการ, ณัฐ คุณชมภู, ดวงกมล แซ่ตั้ง. 2559. การพัมนาคอนกรีตมวล
เบาจากวัสดุเหลือทางการเกษตรhttp://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/12345678
9/224/15.BInno2016-1001-83.pdf?sequence=1. 10 กรกฎาคม 2560
สมชาย อินทะตา , ชนิดา ขันคา. 2558. http://paj.rmu.ac.th/journal/home/journal_file/23.pdf
10 กรกฎาคม 2560
19
สาโรจน์ ดารงศีลม,สุวิมล สัจจวาณิชย์. 2558. http://www.sptn.dss.go.th/otopinfo/Attachments
/article/116/CF79(B9).pdf . 10 กรกฎาคม 2560
20

More Related Content

What's hot

แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 

What's hot (20)

แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 

More from stampmin

Computer14
Computer14Computer14
Computer14stampmin
 
Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606stampmin
 
Bakeryandchem
BakeryandchemBakeryandchem
Bakeryandchemstampmin
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วstampmin
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติstampmin
 

More from stampmin (10)

Computer14
Computer14Computer14
Computer14
 
ปี57
ปี57ปี57
ปี57
 
ปี58
ปี58ปี58
ปี58
 
ปี59
ปี59ปี59
ปี59
 
Iii
IiiIii
Iii
 
Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606
 
Bakeryandchem
BakeryandchemBakeryandchem
Bakeryandchem
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 

รวม

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง โดย ๑. นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย ๒. นางสาวชนิกานต์ คาพรหม ๓. นายชรัญธร คาปิน โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม ในการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื่องในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง โดย ๑. นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย ๒. นางสาวชนิกานต์ คาพรหม ๓. นายชรัญธร คาปิน อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูบุษบา พงษธา
  • 3. โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ประเภท ทีม ชื่อโครงงาน : แผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง ผู้นาเสนอโครงงาน : นางสาวพาณิภัค วงศ์ชัย นางสาวชนิกานต์ คาพรหม นายชรัญธร คาปิน ครูที่ปรึกษาโครงงาน : คุณครูบุษบา พงษธา บทคัดย่อ เนื่องจากปัจจุบัน ผู้คนมีความนิยมใช้แผ่นปูทางเดินมากขึ้น แต่มีปัญหาด้านวัสดุก่อสร้าง เช่น ปูน ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทาให้แผ่นปูทางยึดติดกัน จึงถูกนามาใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน แต่เนื่องจากมีราคาที่สูง และมีน้าหนักมาก ทางคณะผู้จัดจึงต้องการลดต้นทุนที่ใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน เพื่อลดปริมาณปูนที่ใช้ให้น้อยลง และเสริมให้แผ่นปูทางเดิน มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้วัสดุเส้นใยธรรมชาติ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยจากฟางข้าว เส้นใยจากชานอ้อย และเส้นใยจากก้านกล้วย ซึ่งอาจทาให้น้าหนักลดน้อยลง ต้นทุนที่ใช้ ในการผลิตลดลง โดยที่ประสิทธิภาพความแข็งแรงเท่าเดิมหรือดีมากขึ้น โดยทาการทดลองหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1:2:1 1:3:1 และ 1:4:1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินมีประสิทธิภาพมากที่สุด ด้วยการแบ่งชุดการทดลองเป็น 2 ชุด คือ ชุดวัดการทนต่อน้าหนักของถุงทรายโดยเริ่มจากน้าหนัก 20 กิโลกรัม และเพิ่มขึ้นทีละ 10 กิโลกรัม ชุดทดลองที่ 2 คือ ชุดของการวัดปริมาณการดูดซึมน้า จากผลการทดลองพบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1:2:1 แล้วจึงทดสอบเส้นใยธรรมชาติ ในแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน 1:2:1 ของฟางข้าง กาบกล้วย และชานอ้อย ว่าเส้นใยธรรมชาติ ชนิดใดที่มีผลต่อการช่วยในการยึดติดภายในแผ่นปูทางเดินมากที่สุด และส่งผลให้แผ่นปูทางเดิน มีความแข็งแรง พบว่าแผ่นปูทางเดินที่มีส่วนประกอบของเส้นใยธรรมชาติจากชานอ้อย รับน้าหนักของถุงทรายได้ 40 กิโลกรัม จึงสรุปได้ว่าแผ่นปูทางเดินที่ผสมเส้นใยธรรมชาติ จากชานอ้อย ที่มีอัตราส่วนระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ 1:2:1 มีความแข็งแรงมากที่สุด ก
  • 4. กิตติกรรมประกาศ เรื่องแผ่นปูทางผสมเส้นใยธรรมชาติเสริมความแข็งแรง ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ คุณครุบุษบา พงษธา ครูครูที่ปรึกษาโครงงาน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ที่ได้ให้คาแนะนาได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ คณะผู้จักทา ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าสูง ไว้ณ โอกาส นี้ ขอกราบขอบพระคุณ นายบุญเสริญ สุริยา ผู้อานวยการโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ที่ได้ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนในโรงเรียนที่เอื้อต่อการค้นคว้าหาความรู้ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่กรุณาให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่ เป็นอย่างดีต่อคณะผู้จัดทาโครงงานมาโดยตลอด ขอขอบคุณเพื่อนๆ ตลอดจนผู้ที่ช่วยสนับสนุนโครงงานนี้ ทุกคน โดยคอยเป็นกาลังใจ และให้ความช่วยเหลือจนโครงงานสามรถสาเร็จและลุล่วงไปได้ด้วยดี โครงงานนี้ จะไม่สามารถสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากไม่มีผู้มีพระคุณ ผู้ที่ให้ ความช่วยเหลือแก่โครงงานของคณะผู้จัดทา ทางคณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา ข
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบัญรูปภาพ ฉ บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 สมมติฐาน 1 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา 2 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ 2 1.7 ขอบเขตการศึกษา 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4 2.1 ฟางข้าว 4 2.2 ชานอ้อย 5 2.3 ก้านกล้วย 6 2.4 วิธีการทดสอบความแข็งแกร่ง 7 2.5 วิธีการบ่ม 8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 11 3.1 จุดประสงค์การทดลอง 11 3.2 วัสดุอุปกรณ์ 11 3.3 วิธีการทดลอง 11 ค
  • 6. สารบัญ(ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 4 ผลการทดลอง 15 ผลการทดลอง 15 ตอนที่1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม 15 ตอนที่2 ทดสอบความแข็งแรงกาบกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย 16 ตอนที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า 16 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 17 5.1 สรุปผลการทดลอง 17 5.2 อภิปราย 17 5.3 ปัญหาและอุปสรรค์ 18 5.4 ข้อเสนอแนะ 18 เอกสารอ้างอิง 19 ภาคผนวก 21 ง
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม 15 ตารางที่ 2 ทดสอบความแข็งแรงกาบกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย 16 ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า 16 จ
  • 8. สารบัญรูปภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 1 การเตรียมแม่พิมพ์ทาอิฐบล็อค 20 ภาพที่ 2 อุปกรณ์ทาแม่พิมพ์อิฐบล็อค 20 ภาพที่ 3 แม่พิมพ์อิฐบล็อค 20 ภาพที่ 4 การเตรียมก้านกล้วย 20 ภาพที่ 5 ฟางข้าวและก้านกล้วย 20 ภาพที่ 6 การชั่งปูน 21 ภาพที่ 7 การผสมปูนและทราย 21 ภาพที่ 8 การใส่น้าลงไปในปูนและทราย 21 ภาพที่ 9 เทปูนลงในแม่พิมพ์ 21 ภาพที่ 10 เมื่อผสมเส้นใยและปูนเสร็จ 21 ภาพที่ 11 เมื่อปูนแห้งและแกะออกจากแม่พิมพ์ 21 ภาพที่ 12 การนากระสอบมาปู 22 ภาพที่ 13 การนาอิฐบล็อคมาวางบนกระสอบ 22 ภาพที่ 14 การนาอิฐบล็อคมาวงบนกระสอบ 22 ภาพที่ 15 การพรมน้าให้ทั่วอิฐบล็อค 22 ภาพที่ 16-17 การทดสอบความแข็งแรงของอิฐบล็อค 22 ฉ
  • 9. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากปัจจุบัน ผู้คนมีความนิยมใช้แผ่นปูทางเดินมากขึ้น แต่มีปัญหาด้านวัสดุก่อสร้าง เช่น ปูน ซึ่งมีส่วนสาคัญต่อการทาให้แผ่นปูทางยึดติดกัน จึงถูกนามาใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน แต่เนื่องจากมีราคาที่สูง และมีน้าหนักมาก ทางคณะผู้จัดจึงต้องการลดต้นทุนที่ใช้เป็นส่วนผสม ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน เพื่อลดปริมาณปูนที่ใช้ให้น้อยลง และเสริมให้แผ่นปูทางเดิน มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้วัสดุเส้นใยธรรมชาติ 3 ชนิด ได้แก่ เส้นใยจากฟางข้าว เส้นใยจากชานอ้อย และเส้นใยจากก้านกล้วย ซึ่งอาจทาให้น้าหนักลดน้อยลง ต้นทุนที่ใช้ ในการผลิตลดลง โดยที่ประสิทธิภาพความแข็งแรงเท่าเดิมหรือดีมากขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน 1.2.2 ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด 1.3 สมมติฐาน แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของฟางข้าวมีความแข็งแรงมากกว่า แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของชานอ้อยและก้านกล้วย อัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดินระหว่าง ปูน : วัสดุเส้นใยธรรมชาติ : ทราย คือ 1 : 2 : 1
  • 10. 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น - ชนิดของวัสดุเส้นใยธรรมชาติ - อัตราส่วนของส่วนผสม ตัวแปรตาม - ความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดิน - การดูดซึมน้า - การผุกร่อนของพื้นผิว ตัวแปรควบคุม - ปริมาณของวัสดุเส้นใยธรรมชาติ - ขนาดของแผ่นปูทางเดิน 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ วัสดุเส้นใยธรรมชาติ คือ วัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ โดยกาหนดให้เป็นวัสดุเส้นใย ที่ได้จากฟางข้าว จากชานอ้อย และจากก้านกล้วย ซึ่งจะถูกนามาตัดให้เป็ นชิ้นส่วนเล็กๆ ประมาณ 5-15 เซนติเมตร ก่อนที่จะนาไปผสมกับส่วนผสมอื่นๆ ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน 1.6 นิยามเชิงปฏิบัติการ การบ่ม เป็ นการควบคุมและป้องกันไม่ให้น้ าในการผสมคอนกรีตระเหย ออกจากแผ่นปูทางเดินที่แข็งตัวแล้ว เร็วเกินไป เนื่องจากน้าเป็ นองค์ประกอบสาคัญ สาหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ซึ่งจะส่งผลต่อกาลังของแผ่นปูทางเดินโดยตรง ดังนั้นหลังจากที่ผิวหน้า ของแผ่นปูทางเดินแข็งตัวแล้ว จึงจะต้องบ่มให้มีความชื้น เป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 7 วัน ความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินจะเพิ่มขึ้น 2
  • 11. 1.7 ขอบเขตการศึกษา ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด จากการทดสอบการต้านทานต่อแรงกด คุณสมบัติในการดูดซึมน้า และความหนาแน่น หรือการยึดติดกันของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด ในอัตราส่วน ที่เหมาะสม 3
  • 12. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ฟางข้าว โครงงานการพัฒนาคอนกรีตมวลเบาจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร โดยนาวัสดุเหลือทิ้ง ทางการเกษตรอันได้แก่ฟางข้าว และขุยมะพร้าว ซึ่งมีมากในประเทศไทยมาใช้เป็ นวัสดุ เสริมคอนกรีตและทาให้คอนกรีตมีน้ าหนักเบากว่าปูนมอร์ต้า 25-40 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเส้นใยในระบบ 30-50 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร คอนกรีตมวลเบาที่มีเส้นใยฟางข้าว ขนาดละเอียด 20 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับขุยมะพร้าวละเอียด 10 เปอร์เซ็นต์ ให้ค่ากาลังอัดสูง ถึง 140 กิโลกรัม/เซนติเมตร2 โดยมีความหนาแน่นมวลรวมที่ลดลงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ การบ่มชิ้นงานคอนกรีตไว้เป็นเวลามากกว่า 28 วัน จะมีการพัฒนาการรับแรงอัดที่สูง งานวิจัยที่ศึกษาการใช้ฟางข้าวเพื่อผลิตแผ่นซีเมนต์บอร์ดฉนวนกันความร้อน ที่มีอัตราส่วนระหว่างปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ต่อทราย เท่ากับ 1:0.8, 1:1 และ 1:1.2 โดยน้ าหนัก จากนั้ นนาฟางข้าวขนาดค้างบนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 4, 8 และ16 ไปแทนที่ทรายในปริมาณ 0.04, 0.05, 0.06, 0.07 และ 0.08 กิโลกรัม ตามลาดับ ทาการทดสอบ คุณสมบัติทางกายภาพของแผ่นซีเมนต์บอร์ด ได้แก่ ความหนาแน่นและร้อยละการดูดซึมน้า และคุณสมบัติทางกล ได้แก่ กาลังรับแรงกดแตก ตามมาตรฐาน มอก. 219-2552 เพื่อหาอัตราส่วน ของซีเมนต์บอร์ดผสมฟางข้าวที่เหมาะสมที่สุด จากนั้นใช้อัตราส่วนผสมที่เหมาะสมที่สุด มาปรับปรุงคุณภาพ โดยเติมสารซีเอ็มซี และทาการทดสอบกาลังแรงกดแตก และค่าสภาพ การนาความร้อน จากผลการทดสอบ พบว่าที่อัตราส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย 1:0.8 โดยผสมฟางข้าว ขนาดค้างบนตะแกรงมาตรฐานเบอร์ 16 เพิ่มในปริมาณ 0.04 กิโลกรัม เป็นส่วนผสมที่เหมาะสม คือ มีกาลังรับแรงกดแตกสูงสุด เท่ากับ 20.43 กิโลกรัม/เซนติเมตร2 และมีค่าการดูดซึมน้า ร้อยละ 20.82 และการเติมสารซีเอ็มซีร้อยละ 0.2 และร้อยละ 0.4 โดยน้าหนักของซีเมนต์ ทาให้ได้แผ่นยิปซัมบอร์ดมีค่าสภาพการนาความร้อนลดลง แต่กาลังรับแรงกดแตกก็ลดลงด้วย
  • 13. 2.2 ชานอ้อย จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของชานอ้อย พบว่า ชานอ้อยมีปริมาณความชื้น ประมาณร้อยละ 49 เส้นใยประมาณร้อยละ 49 และของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid) ประมาณ ร้อยละ 2 (Chiparus, 2004) และจากการวิเคราะห์ องค์ประกอบ ท างเคมี ของเส้นใยชานอ้อยแห้ง พบว่า ประกอบด้วยอัลฟาเซลลูโลส ประมาณร้อยละ 45.5 เฮมิเซลลูโลสประมาณร้อยละ 27 ลิกนินประมาณร้อยละ 21.1 และอื่นๆ ประมาณร้อยละ 6.9 (Rocha et al., 2011) ชานอ้อยเป็นแหล่งเซลลูโลสสาหรับการผลิตน้าตาลรีดิวซ์ (reducing sugar) ด้วยกระบวนการไฮโดรไลซิส เพื่อใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเอทานอล (Guo et al., 2013) สาหรับผสมในน้ามันเชื้อเพลิงรถยนต์ นอกจากนี้เส้นใยเซลลูโลสจากชานอ้อยยังได้รับความสนใจ ในการนามาประยุกต์ใช้ทางด้านสิ่ งทอ ทั้ งที่เป็ นเส้นใยธรรมชาติ (natural fiber) จากชานอ้อย (Chiparus, 2004) และเส้นใยเซลลูโลสประดิษฐ์ (regenerated cellulosic fiber) จากชานอ้อย (Uddin et al., 2010; Jiang et al., 2011) จากโครงงานวิจัยศึกษาผลกระทบของปูนซีเมนต์ผสมเถ้าชานอ้อยและเถ้าลอย ในลักษณะบดร่วม ต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของคอนกรีต ได้แก่ ค่ายุบตัว หน่วยน้าหนัก ปริมาณอากาศ และกาลังอัดของคอนกรีต โดยมีตัวแปรในการทดสอบคือปริมาณเถ้าชานอ้อย ผสมเถ้าลอยที่แทนปูนซีเมนต์ร้อยละ 20, 30 และร้อยละ 40 โดยน้าหนักของวัสดุประสาน เปรียบเทียบกับคอนกรีตควบคุมที่ใช้ปูนซีเมนต์ล้วน ในการศึกษานี้ใช้เถ้าชานอ้อยบด ร่วมกับเถ้าลอยในอัตราส่วน 60 : 40 โดยน้าหนัก ผลจากการทดสอบพบว่าการแทนที่ปูนซีเมนต์ ด้วยเถ้าชานอ้อยผสมเถ้าลอยเพิ่มมากขึ้นทาให้ค่ายุบตัวและหน่วยน้าหนักของคอนกรีต ลดลงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับคอนกรีตควบคุม มีค่าปริมาณอากาศในคอนกรีตใกล้เคียงกัน ค่ากาลังอัดและกาลังดัดของคอนกรีตลดลง เมื่อเพิ่มปริมาณการผสมเถ้าชานอ้อย กับเถ้าลอยในคอนกรีต จากการศึกษานี้ ยังพบว่าการใช้เถ้าชานอ้อยผสมเถ้าลอย ในอัตราส่ วน 60 : 40 โดยน้ าห นัก อาจใช้แทนที่ปูนซี เมนต์ในการทาคอนกรี ต ได้ถึงร้อยละ 30 โดยน้าหนักของวัสดุประสาน โดยยังคงมีคุณสมบัติทางกายภาพและเชิงกล เทียบเท่ากับคอนกรีตควบคุมที่ทาจากปูนซีเมนต์ล้วน 5
  • 14. 2.3 ก้านกล้วย ต้นกล้วยเป็นพืชล้มลุกที่เกษตรกรไทยนิยมปลูกแพร่หลาย เนื่องจากให้ผลตอบแทนเร็ว และสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้เกือบทุกส่วน จากคุณสมบัติทางด้านความเหนียว ในการนามาทาเป็นเชือกกล้วย ซึ่งได้จากส่วนกาบใบ น่าจะมีความเป็นไปได้ในการนาเอากาบกล้วย มาผลิตกระดาษที่มีความทนทานและเหนียวได้ถ้าใยกล้วยสามารถ นามาเตรียมเป็นเยื่อกระดาษได้ จะช่วยลดมูลค่าการนาเข้าเยื่อกระดาษจากต่างประเทศ และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของกล้วยให้สูงขึ้น ในการทดลองได้เตรียมเยื่อกระดาษจากกาบกล้วยโดยกรรมวิธีโซดา สารเคมีที่ใช้คือ NaOH อุณหภูมิในการต้มเยื่อคือ 160° C เวลา 2 ชั่วโมง โดยทาการทดลอง 8 ชุด คือ 14%, 18%, 20%, 24% NaOH ของน้ าหนักวัตถุดิบแห้ง และในอีก 4 ชุด จะทาที่เปอร์เซ็นต์ NaOH เดียวกัน แต่เติม Anthraquinone 0.25% ของน้าหนักวัตถุดิบแห้ง เยื่อกระดาษที่ได้นาไปหา Kappa No. ซึ่งเป็นค่าที่บ่งบอกถึงปริมาณลิกนินที่เหลืออยู่ในเยื่อกระดาษ และหาปริมาณเปอร์เซ็นต์ของ Yield ของเยื่อกระดาษ จากการต้ม เยื่อ ห ลังจ ากนั้ น น าเยื่อกล้วยไป ขึ้ น รู ป กระดาษ โดยเครื่อง Sheet Forming แล้วนากระดาษไปทดสอบสมบัติด้านต่างๆ จากผลการทดลองได้ว่า ค่ าเป อ ร์ เซ็ น ต์ข อ ง Yield ต่ าม าก (~25% ) แ ล ะ ค่ า Kappa No. สู งม าก (~50-60) ความต้านทานในการดึง (Tensile Strength) มีค่าอยู่ในช่วง 5000-7000 เมตร ค่าความต้าน ต่อการฉีกขาด (Tearing factor) อยู่ในช่วง 90-100 gf/gsm, ค่าความต้านทานแรงดันทะลุ (Bursting factor) อยู่ในช่วง 30-40 ksc/gsm, ค่าความต้านทานการหักพับ (Folding endurance) อยู่ในช่วง 900-1200 ครั้ง ซึ่งทาให้สรุปได้ว่า เส้นใยจากกล้วยให้กระดาษที่มีสมบัติดี แต่ไม่เหมาะสมในการลงทุน เนื่องจากเยื่อที่ได้มีลิกนินเหลืออยู่สูงมาก และให้ค่าของ Yield ที่ต่า ประกอบกับเยื่อมีความอุ้มน้ าสูง เป็ นอุปสรรคต่อการระบายน้ าขณะขึ้นรูปกระดาษ ทาให้ต้องใช้เวลามาก สิ้นเปลืองพลังงาน และเนื้อกระดาษไม่มีความเป็นเอกภาพ (Uniformity) ทั้งนี้เพราะเยื่อกระจายตัวไม่ดี ถ้าในอนาคตได้มีการวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตเยื่อ ก็อาจจะมีโอกาสนาใยกล้วยมาใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษได้ 6
  • 15. 2.4 วิธีการทดสอบความแข็งแกร่ง การรับแรงอัด (Compressive Strength) 1. นาอิฐตัวอย่าง 3 ก้อน มาวัดขนาดให้ละเอียดถึง 0.1 ซ.ม. 2. ใช้ปูนปลาสเตอร์เคลือบผิวของอิฐตัวอย่างด้านที่ใช้รับแรงกดทั้งสองด้าน (ด้านกว้าง) โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - ทาน้ามันบนแผ่นกระจกที่ตรึงไว้กับโต๊ะ (ให้ทาแค่พอลื่น) - เทปูนปลาสเตอร์ที่ผสมเรียบร้อยแล้วบนแผ่นกระจก - นาด้านที่ใช้รับแรงของอิฐตัวอย่างกดลงบนปูนปลาสเตอร์โดยทันที และพยายามให้ความหนาของปูนปลาสเตอร์ที่อยู่ระหว่างกระจกกับผิวของอิฐ ไม่เกิน 5 mm. พร้อมทั้งใช้เกรียงตัดแต่งปูนปลาสเตอร์ ทางด้านข้างให้มีขนาดพอดี กับความกว้างของอิฐ - ทิ้งไว้ให้ปูนปลาสเตอร์เริ่มแข็งตัวจึงค่อยๆ เลื่อนอิฐออกทางด้านข้าง ของกระจก โดยระวังไม่ให้ปูนปลาสเตอร์หลุดออกจากผิวอิฐ (ถ้ารีบเลื่อนอิฐ เร็วเกินไปจะทาให้ปูนไม่ติดกับอิฐได้ หรือถ้าทิ้งระยะให้ปูนแข็งตัวนานเกินไป จะทาให้เลื่อนอิฐได้ยาก ซึ่งมักจะทาให้ปูนหลุดเช่นกัน) - เคลือบผิวอิฐด้านที่รับแรงทั้งสองด้าน 3. ทิ้งให้แห้งอย่างน้อย 24 ชั่วโมง 4. วางอิฐตัวอย่างให้ตรงกับจุดศูนย์กลางของเครื่องกด ให้ด้านที่เคลือบรับแรงกด 5. เดินเครื่องกดโดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกปรับให้น้าหนักที่กด เป็นไปอย่างสม่าเสมอ เมื่อกดได้น้าหนักประมาณครึ่งหนึ่งของน้าหนักที่รับเต็มที่ ให้เพิ่มอัตราเร็วให้สูงขึ้น จนตัวอย่างทดสอบแตกหัก บันทึกค่าแรงกดสูงสุดและวาดรูปลักษณะการแตกหัก 7
  • 16. 6. กาลังรับแรงกดสูงสุดของอิฐทดสอบ กาลังรับแรงกดสูงสุดของอิฐ (kg / cm2 ) = [ P max / Ag ] P max = แรงกดสูงสุด (kg) Ag = พื้นที่รับแรงกดของอิฐ (cm2 ) การดูดซึมน้า (Absorption) (การชั่งน้าหนักให้ชั่งให้ละเอียดถึง 0.02 kg) 1. แช่ก้อนตัวอย่างทดสอบ 3 ก้อน ในน้าอย่างน้อย 24 ชั่วโมง 2. นาอิฐทดสอบขึ้นจากน้า เช็ดผิวหน้าให้แห้งด้วยผ้าชื้นแล้วนาไปชั่งให้เรียบร้อย ภายในเวลาไม่เกิน 3 นาที หลักจากนาขึ้นจากน้าจะเป็นน้าหนักสภาพอิ่มตัวผิวแห้ง (Weight at saturated surface dry, W.) 3. นาไปอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 110± ° C จนน้าหนักคงที่ โดยใช้เวลาอบ 48 ชั่วโมง ปล่อยให้เย็นที่อุณหภูมิห้องแล้วชั่งน้าหนักเป็นสภาพอบแห้ง (Wd) 4. หาเปอร์เซ็นต์การดูดซึมน้าของอิฐทดสอบ การดูดซึมความชื้นของอิฐ ( % ) = [ ( Ws - Wd ) / Wd ] x 100 2.5 วิธีการบ่ม วิธีการบ่มคอนกรีตจะขึ้นอยู่กับสภาพของงานคอนกรีตนั้นๆ เป็นหลัก ลักษณะของการบ่ม คอนกรีตสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือการเพิ่มความชื้นให้คอนกรีต การป้องกันการเสียน้า ของคอนกรีต และการเร่งกาลัง 8
  • 17. 1. การบ่มโดยการเพิ่มความชื้นให้คอนกรีต การบ่มลักษณะนี้ จะเพิ่มความชื้น ให้กับผิวคอนกรีตโดยตรง เพื่อทดแทนการระเหยของน้ าออกจากคอนกรีต การบ่มลักษณะนี้สามารถทาได้หลายวิธี ดังต่อไปนี้ 1.1 การขังหรือหล่อน้า เป็นการทานบกั้นน้าไม้ให้น้าไหลออกมักจะใช้กับงาน ทางระดับ เช่น พื้น หรือถนน เป็นต้น วัสดุที่ใช้ทาทานบอาจจะเป็นดินเหนียว หรืออิฐก็ได้และหลังจากบ่มเสร็จแล้ว อาจจะต้องทาความสะอาดผิวหน้าคอนกรีต 1.2 การฉีดน้าหรือรดน้า เป็นการฉีดน้าให้ผิวคอนกรีตเปียกอยู่เสมอ วิธีนี้ใช้ได้กับ งานคอนกรีต ทั้งในแนวดิ่ง แนวระดับ หรือแนวเอียง ควรฉีดน้าให้ทั่วถึง ทุกส่วนของคอนกรีต และแรงดันน้าต้องไม่แรงเกินไปจนชะเอาผิวหน้าคอนกรีต ที่ยังไม่แข็งตัวดีออก 1.3 การคลุมด้วยวัสดุเปี ยก วัสดุที่ใช้คลุมอาจจะใช้ ผ้าใบ กระสอบ หรือวัสดุอื่นที่อมน้า ข้อควรระวัง คือวัสดุที่คลุมต้องเปี ยกชุ่มอยู่เสมอ การคลุมต้องคลุมให้วัสดุคลุมเหลื่อมกัน 2. การบ่มโดยการป้องกันการเสียน้าจากเนื้อคอนกรีต วิธีการนี้ใช้การผนึกผิวของคอนกรีต เพื่อป้องกันมิให้ความชื้นจากคอนกรีตระเหยออกจากเนื้อคอนกรีต การบ่มลักษณะนี้ สามารถกระทาได้หลายวิธีดังนี้ 2.1 การบ่มในแบบหล่อ แบบหล่อไม้ที่เปียก และแบบหล่อเหล็ก สามารถป้องกัน การสูญเสียความชื้นได้ดี เพียงแค่ทิ้งแบบหล่อให้อยู่กับคอนกรีตที่หล่อไว้ ให้นานที่สุดเท่าที่จะทาได้ และคอยดูแลให้ผิวด้านบนคอนกรีตมีน้าอยู่ โดยน้านั้นสามารถไหลซึมลงมาระหว่างแบบหล่อกับคอนกรีตได้ 2.2 การใช้กระดาษกันน้าซึม เป็นการใช้กระดาษกันน้าซึม ปิดทับผิวคอนกรีต ให้สนิท เป็นเวลาอย่างน้อย 3 วัน วิธีนี้มักนิยมใช้กับงานคอนกรีตแนวระดับ กระดาษกันน้าซึมนี้ เป็ นกระดาษเหนียวสองชั้นยึดติดกันด้วยยางมะตอย 9
  • 18. และเสริมความเหนียวด้วยใยแก้ว มีคุณสมบัติในการยึดหดตัวไม่มากนัก เวลาที่เปียกและแห้ง 2.3 การใช้แผ่นผ้าพลาสติกคลุม วิธีการนี้จะเหมือนกับการใช้กระดาษกันน้า แต่แผ่น ผ้าพ ลาสติกจะเบากว่ามาก จึงสะดวกใน การใช้มากกว่า สามารถใช้กับงานโครงสร้างทุกชนิด ข้อควรระวังเช่นเดียวกับกระดาษกันน้า คือ รอยต่อและการชารุดฉีกขาด และเนื่องจากมีน้าหนักเบา จึงต้องระวัง เรื่องการผูกยึด ป้องกันลมพัดปลิวด้วย 2.4 การใช้สารเคมีเคลือบผิวคอนกรีต เป็นการพ่นสารเคมีลงบนผิวคอนกรีต ซึ่งสารเคมีที่พ่นนี้จะกลายเป็นเยื่อบางๆ คลุมผิวคอนกรีตป้องกันการระเหยออก ของน้าในคอนกรีตได้ การบ่มวิธีนี้ทั้งสะดวกและรวดเร็วแต่ค่าใช้จ่ายสูง การพ่นสารเคมีนี้ต้องกระทาในขณะที่ผิวคอนกรีตยังชื้นอยู่ และต้องพ่น ให้ทั่วถึง ข้อที่ควรทราบ คือสารเคมีประเภทนี้ จะทาให้การยึดเหนี่ยว ระหว่างคอนกรีตเดิมกับคอนกรีตที่จะเทใหม่เสี ยไป จึงไม่ควรใช้ กับงานคอนกรีตที่ต้องต่อเติม หรือฉาบปูนในภายหลัง และหากใช้สารเคมี ฉีดพ่นแล้ว ไม่ควรฉีดน้าซ้า เพราะน้าจะไปชะล้างสารเคมีออก 3. การบ่มด้วยการเร่งกาลัง เป็นการบ่มคอนกรีตด้วยไอน้า โดยให้ความชื้น และความร้อน กับคอนกรีตที่หล่อเสร็จใหม่ๆ วิธีนี้จะทาให้คอนกรีตมีกาลังสูงขึ้นโดยรวดเร็ว ช่วยลดการหดตัว และเพิ่มความต้านทานต่อสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อคอนกรีต การบ่มคอนกรีตด้วยวิธีนี้ สามารถทาได้สองวิธี คือการบ่มด้วยไอน้าที่มีความดันต่า และการบ่มด้วยไอน้ าที่มีความดันสูง การบ่มด้วยการเร่งกาลัง นิยมใช้กัน ในงานอุตสาหกรรมคอนกรีตสาเร็จรูป 10
  • 19. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 3.1 จุดประสงค์การทดลอง 3.1.1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของส่วนผสมที่ใช้ในการผลิตแผ่นปูทางเดิน 3.1.2 ศึกษาความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด 3.2 วัสดุอุปกรณ์ 3.2.1 วัสดุเส้นใยจากฟางข้าว 3.2.2 วัสดุเส้นใยจากชานอ้อย 3.2.3 วัสดุเส้นใยจากก้านกล้วย 3.2.4 เครื่องชั่งสปริง 3.2.5 มีดหั่น 3.2.6 ปูน 3.2.7 ทราย 3.2.8 ถังที่ใช้ผสมส่วนผสม 3.2.9 น้ามัน 3.2.10 แบบแผ่นปูทางเดิน กว้าง x ยาว 30 เซนติเมตร หนา 2 นิ้ว 3.3 วิธีการทดลอง 3.3.1 ขั้นเตรียมการ การออกแบบหาอัตราส่วนผสมของแผ่นปูทางเดินที่เหมาะสม ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย = 1 : 2 : 1 = 1 : 3 : 1 = 1 : 4 : 1 ออกแบบวิธีการทดลอง และการทดสอบความแข็งแรงของแผ่นปูทางเดิน
  • 20. 3.3.2 ขั้นการทดลอง แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของฟางข้าว 1. หั่ น วัส ดุ เส้ น ใยธรรม ช าติ จาก ฟ างข้าว ให้ มี ค วาม ยาว ประมาณ 5-15 เซนติเมตร 2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ 3. ผสมปูนและฟางข้าวและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร 5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของชานอ้อย 1. หั่ น วัส ดุ เส้ น ใยธรรม ชาติ จากชาน อ้อย ให้ มี ความ ยาว ประมาณ 5-15 เซนติเมตร 2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ 3. ผสมปูนและชานอ้อยและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร 5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น แผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติของก้านกล้วย 1. หั่น วัสดุเส้น ใยธรรมชาติจากก้าน กล้วย ให้มีความยาว ประมาณ 5-15 เซนติเมตร 12
  • 21. 2. นาวัสดุเส้นใยธรรมชาติไปผึ่งแดด เพื่อลดความชื้นที่มีอยู่ในวัสดุ 3. ผสมปูนและก้านกล้วยและทรายในอัตราส่วน 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 4. นาเอาส่วนผสมที่มีอัตราส่วนผสมแต่ละส่วนในข้อที่ 3 เทลงในแบบ ขนาด กว้าง × ยาว × สูง เป็น 30×30×5 เซนติเมตร 5. ทิ้งไว้ 1 วัน แล้วจึงแกะแบบออก จากนั้นนาไปบ่ม เพื่อให้กาลัง ของแผ่นปูทางเพิ่มมากขึ้น การบ่ม จะทาด้วยวิธีการคลุมด้วยวัสดุเปี ยก วัสดุที่ใช้คลุมอาจจะใช้ ผ้าใบ กระสอบ หรือวัสดุอื่นที่อมน้า โดยระวังให้วัสดุที่คลุมเปียกชุ่มอยู่เสมอ คลุมให้วัสดุคลุมเหลื่อมกัน การทดสอบความแข็งแรง ระหว่างแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติ ทั้ง 3 ชนิด ในอัตราส่วนที่เหมาะสม 1. ทดสอบการทนต่อแรงกด ด้วยวิธีการใช้ถุงทรายน้าหนัก 10 กิโลกรัม วางลง บนแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด โดยเพิ่มน้าหนักให้มากขึ้นทีละ 10 กิโลกรัม 2. ทดสอบการดูดซึมน้า โดยการชั่งน้าหนักแผ่นปูทางเดิน จากนั้นนาไปแช่น้าเป็น เวลา 1 ชั่วโมง และนาขึ้นมาชั่งน้าหนักหาผลต่างน้าหนักที่มากขึ้น ซึ่งเป็ นความสามารถ ในการดูดซึมน้า (ปริมาณน้าที่ดูดแปรผกผันกับประสิทธิภาพของแผ่นปูทางเดิน) จากนั้นรอ อีก 15 นาที แล้วนามาชั่งครั้งที่ 2 หาผลต่างกับน้าหนักที่ชั่งได้กับน้าหนักของแผ่นปูทางเดิน ก่อนแช่น้า เพื่อหาประสิทธิภาพในการระเหยของน้า ของแผ่นปูทางเดินจากเส้นใยธรรมชาติ ทั้ง 3 ชนิด 13
  • 22. 3. ทดสอบการผุกร่อนของพื้นผิว โดยการใช้มีด ในการขีดข่วน ที่บริเวณพื้นผิว ของแผ่นปูทางเดินที่ได้จากวัสดุเส้นใยธรรมชาติแต่ละชนิด 14
  • 23. บทที่ 4 ผลการทดลอง ผลการทดลอง การทดลองการศึกษาความแข็งแรงจากเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากกาบกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย พบว่าชานอ้อยมีความแข็งแรงมากกว่าฟางข้าวและก้านกล้วยเนื่องจากรับน้าหนัก ได้มากที่สุด และแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน ปูน : เส้นใย : ทราย 1: 2: 1 ทาให้แผ่นปูทางเดิน แข็งแรงที่สุด ตอนที่1 ทดสอบอัตราส่วนที่เหมาะสม อัตราส่วน (ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย) น้าหนักของถุงทราย (กิโลกรัม) การเปลี่ยนแปลงของ แผ่นปูทางเดิน 1 : 2 :1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 40 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 1 : 3 : 1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 40 มีรอยแตกเล็กน้อย 1 : 4 :1 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 มีรอยแตกเล็กน้อย 40 รอยแตกเพิ่มขึ้น สรุปผลการทดลอง อัตราส่ วนที่เหมาะสมกับการผลิตแผ่นปูทางเดินมากที่สุ ด คือ อัตราส่ วน ปูน : เส้นใยธรรมชาติ : ทราย 1 : 2 : 1 เนื่องจากยังสามารถรับน้ าหนัก 60 กิโลกรัม โดยที่ไม่มีการแตกหักใดๆ โดยมีสภาพการทนต่อแรงกดทับมีดังนี้ อัตราส่ วน ปูน : เส้น ใยธรรมชาติ : ทราย 1 : 2 : 1 รับน้ าห นักได้ดีกว่าอัตราส่ วน 1 : 3 : 1 และอัตราส่วน 1 : 4 : 1 รับน้าหนักได้น้อยที่สุด
  • 24. ตอนที่2 ทดสอบความแข็งแรงก้านกล้วย ฟางข้าว และชานอ้อย เส้นใยธรรมชาติ น้าหนักของถุงทราย (กิโลกรัม) การเปลี่ยนแปลงของ แผ่นปูทางเดิน ก้านกล้วย 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 มีรอยแตกเล็กน้อย 40 มีรอยแตกเพิ่มขึ้น ฟางข้าว 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 40 มีรอยแตกเล็กน้อย ชานอ้อย 20 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 30 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 40 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง สรุปผลการทดลอง แผ่นปูทางเดินจากเส้นใยธรรมชาติของ ชานอ้อยรับน้าหนักได้ดีที่สุด รองลงมาคือ ฟางข้าว และก้านกล้วยตามลาดับ ตอนที่ 3 ประสิทธิภาพในการดูดซึมและระเหยน้า ชนิดของเส้นใยธรรมชาติ ในแผ่นปูทางเดิน น้าหนักก่อนแช่น้า 1 ชั่วโมง (กิโลกรัม) น้าหนักหลังแช่ น้า 1 ชั่วโมง (กิโลกรัม) น้าหนักเมื่อตั้งพักไว้ 15 นาที (กิโลกรัม) ก้านกล้วย 3 3.7 3.5 ฟางข้าว 3 3.5 3.3 ชานอ้อย 3 3.2 3.1 สรุปผลการทดลอง ชานอ้อยมีการดูซับน้าได้น้อยและไวที่สุด รองลงมาคือฟางข้าวและก้านกล้วย ส่วนการระเหยน้าชานอ้อยระเหยได้เร็วที่สุด รองลงมาคือฟางข้าวและก้านกล้วย จึงสรุปได้ว่า แผ่นปูทางเดินจากชานอ้อยมีประสิทธิภาพดีที่สุด 16
  • 25. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ จากการทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ โดยทดลอง ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดิน มีประสิทธิภาพมากที่สุด และส่วนผสมของเส้นใยธรรมชาติจากฟางข้าว กาบกล้วย และชานอ้อย เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของแผ่นปูทางเดินและลดต้นทุนการผลิตโดยการนาเส้นใยธรรมชาติ มาเป็นส่วนผสมในการช่วยในการยึดติดของแผ่นปูทางเดิน 5.1 สรุปผลการทดลอง 5.1.1 อัต ร าส่ ว น ที่ เห ม าะ ส ม ส าห รั บ ก าร ท าแ ผ่ น ปู ท างเดิ น ร ะ ห ว่ าง ปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินรับน้าหนักของถุงทรายได้ดีที่สุด ถึง 40 กิโลกรัมและมีการดูดซึมน้าที่น้อยที่สุด คืออัตราส่วน 1:2:1 5.1.2 เส้นใยธรรมชาติที่นาไปผสมกับแผ่นปูทางเดินแล้วทาให้ช่วยเพิ่มแรงยึดติด ภายในของแผ่นปูทางเดินได้ดีที่สุดคือ ชานอ้อย 5.2 อภิปราย จากการทดลองหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมระหว่างปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ ระหว่าง 3 อัตราส่วนคือ 1 : 2 : 1, 1 : 3 : 1 และ 1 : 4 : 1 ที่ทาให้แผ่นปูทางเดินมีประสิทธิภาพ มากที่สุด ด้วยการแบ่งชุดการทดลองเป็ น 2 ชุด คือ ชุดวัดการทนต่อน้าหนักของถุงทราย โดยเริ่ มจากน้ าห นัก 20 กิโลกรัม และเพิ่มขึ้ น ที ละ 10 กิโลกรัม ชุดทดลองที่ 2 คือ ชุดของการวัดปริมาณการดูดซึมน้า ผลของอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 1 : 2 : 1 แล้วจึงทดสอบ เส้นใยธรรมชาติในแผ่นปูทางเดินที่มีอัตราส่วน 1 : 2 : 1 ของฟางข้าง กาบกล้วย และชานอ้อยว่าเส้น ใยธรรมชาติชนิดใดที่มีผลต่อการช่วยในการยึดติดภายในแผ่นปูทางเดินมากที่สุด และส่งผลให้แผ่นปูทางเดินมีความแข็งแรง โดยพบว่าแผ่นปูทางเดินที่มีส่วนประกอบ
  • 26. ของเส้นใยธรรมชาติจากฟางข้าวมีการรับต่อแรงกดของถุงทรายได้ 40 กิโลกรัม จึงสรุปได้ว่า แ ผ่น ปู ท างเดิ น ที่ ผ ส ม เส้ น ใยธ รรม ช าติ จาก ฟ างข้าวที่ มี อัต ราส่ วน ระห ว่าง ปูน : ทราย : เส้นใยธรรมชาติ 1 : 2 : 1 มีความแข็งแรงมากที่สุด 5.3 ปัญหาและอุปสรรค์ 5.3.1 สมาชิกมีเวลาไม่ตรงกัน 5.3.2 เส้นใยธรรมชาติหาได้ยาก 5.3.3 การแบ่งที่หน้าในการทางานไม่ชัดเจน 5.3.4 ไม่ปรึกษากันทาให้งานออกมาล่าช้า 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.4.1 สมาชิกที่มีเวลาว่างตรงกันก็ทางานล่วงหน้า ส่วนคนที่มีเวลาไม่ตรง พอเมื่อมีเวลาว่าง จึงค่อยมาทา 5.4.2 ปรึกษาเพื่อนในห้องว่าแถวบ้านใครมีเส้นใยธรรมชาติที่คณะผู้จัดทาต้องการ 5.4.3 คณะผู้จัดทาควรมีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา 5.4.4 นัดกันวางแผนการทางานล่วงหน้า 18
  • 27. เอกสารอ้างอิง นายคาชาย พันทวงศ์. 2559. พัฒนาปูนจากฟางข้าวและไม้ไผ่http://kucon.lib.ku.ac.th/FullText/ KC5211003.pdf. 26 กันยายน 2559 จุฑารัตน์ หวังมวลกลาง. 2559. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของอิฐบล็อกที่ทาจากวัสดุธรรมชาติ กับอิฐบล็อกทั่วไป. http://jutaratand.blogspot.com/. 26 กันยายน 2559 ดร.เรืองรุชดิ์. 2559. การทดสอบคุณสมบัติของอิฐก่อสร้างhttp://sungkomonline.com/fiw e/Webboard_ans.php?webID=11&pageID=5&questionID=50. 26 กันยายน 2559 ไม่ปรากฏชื่อ. 2559. เส้นใยธรรมชาติ. https://www.ruedee.com/th/fabric/natural_fibers/. 26 กันยายน 2559 ดร.เรืองรุชดิ์. 2557. หลักการและสมการที่ใช้ในการปฏิบัติการhttp://sungkomonline.com/file/Web Board.m . 10 กรกฎาคม 2560 ศศิประภา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. 2559. ศักยภาพของชานอ้อยhttp://www.thaitextile.org/blog/2016/ 10/cell.10 กรกฎาคม 2560 ไม่ปรากฏชื่อ. 2559. การบ่มคอนกรีต (CONCRETE CURING) http://www.civilclub.net/%E0. 10 กรกฎาคม 2560 ภัทร์ สุขแสน, พัชราภรณ์ สาธุการ, ณัฐ คุณชมภู, ดวงกมล แซ่ตั้ง. 2559. การพัมนาคอนกรีตมวล เบาจากวัสดุเหลือทางการเกษตรhttp://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/12345678 9/224/15.BInno2016-1001-83.pdf?sequence=1. 10 กรกฎาคม 2560 สมชาย อินทะตา , ชนิดา ขันคา. 2558. http://paj.rmu.ac.th/journal/home/journal_file/23.pdf 10 กรกฎาคม 2560 19
  • 28. สาโรจน์ ดารงศีลม,สุวิมล สัจจวาณิชย์. 2558. http://www.sptn.dss.go.th/otopinfo/Attachments /article/116/CF79(B9).pdf . 10 กรกฎาคม 2560 20