SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน เบอเกอรี่กับสารเคมีที่คุณคาดไม่ถึง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เบอเกอรี่กับสารเคมีที่คุณคาดไม่ถึง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bakery & Chemistry
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเบอเกอรี่มีอัตราการเติบโตที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีการคิดค้นมีวิธีการ หลักการต่างๆที่
ทาให้ง่ายต่อการผลิตและราคาที่เหมาะสมแก่ผู้บริโภค โดยวิธีการต่างๆนั้นจะมีการใช้ความรู้ทางด้านเคมีและชีววิทยา
มาประยุกต์ใช้ แต่อย่างที่รู้กันมาสารเคมีบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สาเหตุอาจจะมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการ
ของผู้ผลิตที่มีการใช้ในปริมาณที่มาก เพราะอยากจะเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยากจะนาเสนอความรู้ที่
สืบค้นมาให้ผู้ที่สนใจในการทาเบอเกอรี่นาไปทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งผู้จัดทายังอยากจะ
นาเสนอแนวคิดที่เราสามารถนาวัตถุดิบที่พบได้ง่ายในธรรมชาติมาแทนที่สารเคมีสังเคราะห์บางตัวได้เพื่อลดความ
เสี่ยงของผู้บริโภค และอยากจะทาการหาเปอร์เซ็นของสารแต่ละชนิดที่มีผลต่อการขึ้นฟูมากที่สุด
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาสารจากธรรมชาติที่ทาให้ขนมขึ้นฟู
2. นาเสนออันตรายที่อาจได้จากการใช้สารเคมีในการทาอาหาร
3. ศึกษาชนิดของสารเคมีต่างๆที่มีผลต่อการขึ้นฟูของขนม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
สารเคมีแต่ละชนิดและสารจากธรรมชาติที่มีสมบัติในการขึ้นฟูและร้อยละของสารจากธรรมชาติที่ได้ผลต่อ
การขึ้นฟูมากที่สุด
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การขึ้นฟูด้วยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์แบ่งออกเป็น 2 ขบวนการ คือ
- ขบวนการทางเคมี คือ ผงฟู เบคกิ้งโซดา แอมโมเนีย เป็นต้น
1) ผงฟู (Baking Powder)เป็นสารเสริมที่ช่วยทาให้ขนมต่างๆ มีความโปร่งเบา ฟู และเพิ่มปริมาตร โดยผงฟูจะช่วย
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างผลิต ผงฟูเป็นส่วนผสมของโซเดียมไบคาร์บอเนตหรือเบคกิ้งโซดา ผสมกับ
สารเคมีที่ทาหน้าที่เป็นกรด และแป้งข้าวโพดที่ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้สารทั้งสองสัมผัสกันโดยตรงเพราะจะทาปฏิกิริยา
กัน
ผงฟูแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊สเร็ว (Quick - Acting Baking Powder) เป็นผงฟูที่สามารถให้แก๊สในระหว่างการผสม
2. ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊ส 2 ครั้ง (Double - Acting Baking Powder) เป็นผงฟูที่สามารถให้แก๊สในระหว่างการผสม
และให้แก๊สอีกครั้งในระหว่างการอบ
การใช้ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊สเร็ว ไม่ควรตั้งส่วนผสมของแป้งที่ผสมไว้นานๆ เพราะแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์ที่
เกิดขึ้นจะสูญเสียไปเรื่อยๆ ทาให้ขนมที่ได้ไม่ฟูขยายเท่าที่ควร และการใช้ผงฟูทุกชนิดควรใช้ให้ถูกวิธี ซึ่งมักจะร่อนผง
ฟูรวมกับส่วนแห้งชนิดอื่นๆ เช่น แป้ง เป็นต้น ห้ามผสมลงในของเหลวหรือน้าก่อน เพราะจะทาให้เกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ทันที และจะทาให้สูญเสียแก๊สไป
2) เบคกิ้งโซดา (Baking soda) มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต เป็นสารเคมีที่เมื่อถูกความร้อนจะผลิตก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีผลเสียคือมีสารตกค้างอยู่ในผลิตภัณฑ์
ถ้าใช้ในปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีรสเฝื่อน เพื่อให้สารตกค้างหมดไปควรเติมกรดอาหารลงไปใน
ส่วนผสม เช่น ใช้นมเปรี้ยวแทนนมสดหรือเติมน้ามะนาว, น้าส้มสายชู ลงในนมสดก็ได้
3) แอมโมเนีย (Ammonium)
ผงแอมโมเนีย เมื่อได้รับความร้อนจะมีการเปลี่ยนแปลงให้แก๊สแอมโมเนียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
แอมโมเนียที่ใช้ คือ แอมโมเนียไบคาร์บอเนต หรือแอมโมเนียคาร์บอนเนต เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เฉ่าก๋า มีลักษณะเป็น
เกล็ดขาวใสๆ มีกลิ่นฉุน นิยมใช้กับผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก เช่น ครีมพัฟ คุ้กกี้ ซาลาเปา และปาท่องโก๋ เป็นต้น
และเนื่องจากแก๊สแอมโมเนียที่เกิดขึ้นมีกลิ่นฉุนและเกิดรสชาติที่ไม่ดี จึงใช้ผงแอมโมเนียกับขนมอบที่มีพื้นที่ผิวมาก
และอบให้สุกด้วยอุณหภูมิสูง ภายใต้การควบคุมอย่างดี ทั้งนี้ก็เพื่อกลิ่นฉุนของแก๊สระเหยออกไป
4
ข้อดีของแอมโมเนียคือทาให้ขนมขึ้นฟูได้ดีเพราะจะขยายตัวทันทีที่ถูกความร้อน
ข้อเสียคือการใช้ที่จากัด เพราะอาจมีกลิ่นของแอมโมเนียตกค้างในผลิตภัณฑ์ที่อบหรือทอด ทาให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสที่
ไม่ดี ถ้าใช้ในปริมาณที่สูงเกินไปจะทาให้ผลิตภัณฑ์ขึ้นฟูมากและอาจทาให้ยุบหรือหดตัวได้หลังจากอบแล้ว
- สารที่ทาให้เกิดการขึ้นฟูด้วยขบวนการทางชีวเคมี ได้แก่
ยีสต์ (Yeast) ยีสต์เป็นรากลุ่มหนึ่ง มีขนาดเล็ก ช่วยทาให้ขนมขึ้นฟูโดยการหมักอาหารของยีสต์ คือ น้าตาล
เมื่อใส่ลงในส่วนผสมนวดให้เข้ากัน ยีสต์จะเจริญเติบโตสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงทาให้ขนมขึ้นฟู เนื้อนุ่ม มีกลิ่น
หอมเฉพาะตัว ยีสต์จะหยุดทางานเมื่อถูกความร้อน นิยมใช้ทาขนมปังชนิดต่าง ๆ โดนัท และเดนนิชเพสตรี้ ช่วยเพิ่ม
ปริมาตรของผลิตภัณฑ์ เบเกอรี่
ยีสต์ที่ใช้ในการทาผลิตภัณฑ์เบเกอรี่มี 3 ชนิด ดังนี้ คือ
1) ยีสต์สด (Compressed yeast) คือ ยีสต์ที่ผลิตขึ้นโดยการเลี้ยงและอัดรวมกันเป็นก้อนแข็งคล้ายแป้งที่โม่ทับน้าให้
แห้ง มีราคาถูก ยีสต์สดมีความชื้นประมาณ ร้อยละ 70 จึงควรเก็บในตู้เย็น เพราะการทางานของยีสต์จะช้าลงเมื่อ
อุณหภูมิต่า ช่วยทาให้ยีสต์เสื่อมคุณภาพได้ช้าลง
2) ยีสต์แห้งชนิดเม็ด (Granulated Acting Dry yeast) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ ท่อนสั้น ยีสต์แห้งอยู่ในสภาพการ
พักตัว ควรเก็บในสถานที่แห้งและเย็นวิธีใช้ คือ ผสมน้าอุ่นกับน้าตาล
จนละลาย แล้วจึงโรยยีสต์ลงบนผิวน้า ก่อนนาไปผสมในแป้ง
3) ยีสต์แห้งผงหรือยีสต์สาเร็จรูป ( Instant Dry yeast) คือ ยีสต์ที่มีกาลังหมักสูงสุด และนิยมใช้มากที่สุด มีลักษณะ
เป็นผงละเอียดแห้ง ใช้ได้เลย โดยไม่ต้องละลายกับน้าก่อน
หน้าที่ของยีสต์
1) สร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้โดขยายตัวฟูขึ้น
2) ทาให้โดมีลักษณะยืดหยุ่นตัวสามารถอุ้มก๊าซที่เกิดขึ้นไว้ได้
3) ทาให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสเฉพาะตัว
4) ช่วยเสริมคุณค่าทางอาหาร
ไข่ ( สารจากธรรมชาติ )
คุณสมบัติของไข่ที่มีบทบาทสาคัญในการทาขนมหลายประการ คือ การตีไข่ช่วยให้อาหารโปร่งฟู ขนมอบ
บางอย่างไม่ต้องใช้ผงฟูเลย เพราะอากาศที่ตีเข้าไปในไข่ เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวทาให้ขนมนั้นฟูอย่างเพียงพอ
ไข่ยังเป็นตัวทาให้ไขมันกระจายปนไปกับน้า (Emulsifting Agent) ไข่ยังช่วยเพิ่มรสและสีของอาหารด้วย
การทาขนมอบชนิดต่าง ๆ จะใช้ไข่ไก่เป็นหลัก ไข่ช่วยให้ขนมขึ้นฟูและมีเนื้อนุ่มรสดี ไข่ไก่ที่ทาขนมอบได้ดีต้องเป็นไข่
สด ใหม่ จับแล้วจะสากมือ ต่อยแล้วไข่ขาวจะข้น ไข่แดงจะนูน ไข่ไก่ที่ใช้น้าหนักฟองละประมาณ 55-65 กรัม
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
6
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

Similar to Bakeryandchem

ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุมประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
oncpmkk19042542
 

Similar to Bakeryandchem (20)

2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project หมูแฮม
2559 project หมูแฮม2559 project หมูแฮม
2559 project หมูแฮม
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
2560 project
2560 project   2560 project
2560 project
 
2559 project 09
2559 project 092559 project 09
2559 project 09
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์  แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Com
ComCom
Com
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุมประโยชน์มหาศาลของมะรุม
ประโยชน์มหาศาลของมะรุม
 

More from stampmin

More from stampmin (10)

Computer14
Computer14Computer14
Computer14
 
ปี57
ปี57ปี57
ปี57
 
ปี58
ปี58ปี58
ปี58
 
ปี59
ปี59ปี59
ปี59
 
Iii
IiiIii
Iii
 
Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606Cotmes61 pre 25600606
Cotmes61 pre 25600606
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้วโครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องสกรีนลายแก้ว
 
รวม
รวมรวม
รวม
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 

Bakeryandchem

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน เบอเกอรี่กับสารเคมีที่คุณคาดไม่ถึง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เบอเกอรี่กับสารเคมีที่คุณคาดไม่ถึง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bakery & Chemistry ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณิชากรณ์ แสงมณี เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเบอเกอรี่มีอัตราการเติบโตที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีการคิดค้นมีวิธีการ หลักการต่างๆที่ ทาให้ง่ายต่อการผลิตและราคาที่เหมาะสมแก่ผู้บริโภค โดยวิธีการต่างๆนั้นจะมีการใช้ความรู้ทางด้านเคมีและชีววิทยา มาประยุกต์ใช้ แต่อย่างที่รู้กันมาสารเคมีบางชนิดก็เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สาเหตุอาจจะมาจากความรู้เท่าไม่ถึงการ ของผู้ผลิตที่มีการใช้ในปริมาณที่มาก เพราะอยากจะเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยากจะนาเสนอความรู้ที่ สืบค้นมาให้ผู้ที่สนใจในการทาเบอเกอรี่นาไปทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งผู้จัดทายังอยากจะ นาเสนอแนวคิดที่เราสามารถนาวัตถุดิบที่พบได้ง่ายในธรรมชาติมาแทนที่สารเคมีสังเคราะห์บางตัวได้เพื่อลดความ เสี่ยงของผู้บริโภค และอยากจะทาการหาเปอร์เซ็นของสารแต่ละชนิดที่มีผลต่อการขึ้นฟูมากที่สุด
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาสารจากธรรมชาติที่ทาให้ขนมขึ้นฟู 2. นาเสนออันตรายที่อาจได้จากการใช้สารเคมีในการทาอาหาร 3. ศึกษาชนิดของสารเคมีต่างๆที่มีผลต่อการขึ้นฟูของขนม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) สารเคมีแต่ละชนิดและสารจากธรรมชาติที่มีสมบัติในการขึ้นฟูและร้อยละของสารจากธรรมชาติที่ได้ผลต่อ การขึ้นฟูมากที่สุด หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การขึ้นฟูด้วยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์แบ่งออกเป็น 2 ขบวนการ คือ - ขบวนการทางเคมี คือ ผงฟู เบคกิ้งโซดา แอมโมเนีย เป็นต้น 1) ผงฟู (Baking Powder)เป็นสารเสริมที่ช่วยทาให้ขนมต่างๆ มีความโปร่งเบา ฟู และเพิ่มปริมาตร โดยผงฟูจะช่วย ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างผลิต ผงฟูเป็นส่วนผสมของโซเดียมไบคาร์บอเนตหรือเบคกิ้งโซดา ผสมกับ สารเคมีที่ทาหน้าที่เป็นกรด และแป้งข้าวโพดที่ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้สารทั้งสองสัมผัสกันโดยตรงเพราะจะทาปฏิกิริยา กัน ผงฟูแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊สเร็ว (Quick - Acting Baking Powder) เป็นผงฟูที่สามารถให้แก๊สในระหว่างการผสม 2. ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊ส 2 ครั้ง (Double - Acting Baking Powder) เป็นผงฟูที่สามารถให้แก๊สในระหว่างการผสม และให้แก๊สอีกครั้งในระหว่างการอบ การใช้ผงฟูชนิดที่เกิดแก๊สเร็ว ไม่ควรตั้งส่วนผสมของแป้งที่ผสมไว้นานๆ เพราะแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์ที่ เกิดขึ้นจะสูญเสียไปเรื่อยๆ ทาให้ขนมที่ได้ไม่ฟูขยายเท่าที่ควร และการใช้ผงฟูทุกชนิดควรใช้ให้ถูกวิธี ซึ่งมักจะร่อนผง ฟูรวมกับส่วนแห้งชนิดอื่นๆ เช่น แป้ง เป็นต้น ห้ามผสมลงในของเหลวหรือน้าก่อน เพราะจะทาให้เกิดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ทันที และจะทาให้สูญเสียแก๊สไป 2) เบคกิ้งโซดา (Baking soda) มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต เป็นสารเคมีที่เมื่อถูกความร้อนจะผลิตก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีผลเสียคือมีสารตกค้างอยู่ในผลิตภัณฑ์ ถ้าใช้ในปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีรสเฝื่อน เพื่อให้สารตกค้างหมดไปควรเติมกรดอาหารลงไปใน ส่วนผสม เช่น ใช้นมเปรี้ยวแทนนมสดหรือเติมน้ามะนาว, น้าส้มสายชู ลงในนมสดก็ได้ 3) แอมโมเนีย (Ammonium) ผงแอมโมเนีย เมื่อได้รับความร้อนจะมีการเปลี่ยนแปลงให้แก๊สแอมโมเนียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนียที่ใช้ คือ แอมโมเนียไบคาร์บอเนต หรือแอมโมเนียคาร์บอนเนต เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เฉ่าก๋า มีลักษณะเป็น เกล็ดขาวใสๆ มีกลิ่นฉุน นิยมใช้กับผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก เช่น ครีมพัฟ คุ้กกี้ ซาลาเปา และปาท่องโก๋ เป็นต้น และเนื่องจากแก๊สแอมโมเนียที่เกิดขึ้นมีกลิ่นฉุนและเกิดรสชาติที่ไม่ดี จึงใช้ผงแอมโมเนียกับขนมอบที่มีพื้นที่ผิวมาก และอบให้สุกด้วยอุณหภูมิสูง ภายใต้การควบคุมอย่างดี ทั้งนี้ก็เพื่อกลิ่นฉุนของแก๊สระเหยออกไป
  • 4. 4 ข้อดีของแอมโมเนียคือทาให้ขนมขึ้นฟูได้ดีเพราะจะขยายตัวทันทีที่ถูกความร้อน ข้อเสียคือการใช้ที่จากัด เพราะอาจมีกลิ่นของแอมโมเนียตกค้างในผลิตภัณฑ์ที่อบหรือทอด ทาให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสที่ ไม่ดี ถ้าใช้ในปริมาณที่สูงเกินไปจะทาให้ผลิตภัณฑ์ขึ้นฟูมากและอาจทาให้ยุบหรือหดตัวได้หลังจากอบแล้ว - สารที่ทาให้เกิดการขึ้นฟูด้วยขบวนการทางชีวเคมี ได้แก่ ยีสต์ (Yeast) ยีสต์เป็นรากลุ่มหนึ่ง มีขนาดเล็ก ช่วยทาให้ขนมขึ้นฟูโดยการหมักอาหารของยีสต์ คือ น้าตาล เมื่อใส่ลงในส่วนผสมนวดให้เข้ากัน ยีสต์จะเจริญเติบโตสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงทาให้ขนมขึ้นฟู เนื้อนุ่ม มีกลิ่น หอมเฉพาะตัว ยีสต์จะหยุดทางานเมื่อถูกความร้อน นิยมใช้ทาขนมปังชนิดต่าง ๆ โดนัท และเดนนิชเพสตรี้ ช่วยเพิ่ม ปริมาตรของผลิตภัณฑ์ เบเกอรี่ ยีสต์ที่ใช้ในการทาผลิตภัณฑ์เบเกอรี่มี 3 ชนิด ดังนี้ คือ 1) ยีสต์สด (Compressed yeast) คือ ยีสต์ที่ผลิตขึ้นโดยการเลี้ยงและอัดรวมกันเป็นก้อนแข็งคล้ายแป้งที่โม่ทับน้าให้ แห้ง มีราคาถูก ยีสต์สดมีความชื้นประมาณ ร้อยละ 70 จึงควรเก็บในตู้เย็น เพราะการทางานของยีสต์จะช้าลงเมื่อ อุณหภูมิต่า ช่วยทาให้ยีสต์เสื่อมคุณภาพได้ช้าลง 2) ยีสต์แห้งชนิดเม็ด (Granulated Acting Dry yeast) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ ท่อนสั้น ยีสต์แห้งอยู่ในสภาพการ พักตัว ควรเก็บในสถานที่แห้งและเย็นวิธีใช้ คือ ผสมน้าอุ่นกับน้าตาล จนละลาย แล้วจึงโรยยีสต์ลงบนผิวน้า ก่อนนาไปผสมในแป้ง 3) ยีสต์แห้งผงหรือยีสต์สาเร็จรูป ( Instant Dry yeast) คือ ยีสต์ที่มีกาลังหมักสูงสุด และนิยมใช้มากที่สุด มีลักษณะ เป็นผงละเอียดแห้ง ใช้ได้เลย โดยไม่ต้องละลายกับน้าก่อน หน้าที่ของยีสต์ 1) สร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้โดขยายตัวฟูขึ้น 2) ทาให้โดมีลักษณะยืดหยุ่นตัวสามารถอุ้มก๊าซที่เกิดขึ้นไว้ได้ 3) ทาให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสเฉพาะตัว 4) ช่วยเสริมคุณค่าทางอาหาร ไข่ ( สารจากธรรมชาติ ) คุณสมบัติของไข่ที่มีบทบาทสาคัญในการทาขนมหลายประการ คือ การตีไข่ช่วยให้อาหารโปร่งฟู ขนมอบ บางอย่างไม่ต้องใช้ผงฟูเลย เพราะอากาศที่ตีเข้าไปในไข่ เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวทาให้ขนมนั้นฟูอย่างเพียงพอ ไข่ยังเป็นตัวทาให้ไขมันกระจายปนไปกับน้า (Emulsifting Agent) ไข่ยังช่วยเพิ่มรสและสีของอาหารด้วย การทาขนมอบชนิดต่าง ๆ จะใช้ไข่ไก่เป็นหลัก ไข่ช่วยให้ขนมขึ้นฟูและมีเนื้อนุ่มรสดี ไข่ไก่ที่ทาขนมอบได้ดีต้องเป็นไข่ สด ใหม่ จับแล้วจะสากมือ ต่อยแล้วไข่ขาวจะข้น ไข่แดงจะนูน ไข่ไก่ที่ใช้น้าหนักฟองละประมาณ 55-65 กรัม
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
  • 6. 6 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________