SlideShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน เทคโนโลยีกับการผ่าตัด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1 คน
1. นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร เลขที่ 38
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
: เทคโนโลยีกับการผ่าตัด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
: Technology & Surgery
ประเภทโครงงาน : การประยุกต์ใช้งาน (Application)
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร
ชื่อที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มาแนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันนี้ในยุคศตวรรษที่ 21 หลายสิ่งหลายอย่างได้พัฒนา และก้าวหน้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีที่ทาให้โลกของเราเหมือนก้าวไปสู่อีกระดับที่สูงยิ่งขึ้น แม้จะยังมีบางพื้นที่ บางประเทศที่ยังไม่พัฒนา
หรืออยู่ระหว่างการพัฒนาก็ตาม แต่ในบรรดาประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นก็มิได้นิ่งนอนใจ ปล่อยให้เวลาผ่านไป
เฉยๆ ยังคงพัฒนาเทคโนโลยีให้ดียิ่งขึ้นไปอีก โดยได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ
สื่อสาร การคมนาคม การก่อสร้างการผลิต อุตสาหกรรมด้านต่างๆ ด้านสาธารณสุข การบริหารจัดการ การ
อุปโภคบริโภค ฯลฯ รวมไปถึงด้านการแพทย์ที่ได้มีการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีการผ่า
ตัดผ่านกล้องทางนรีเวชและมะเร็งนรีเวช เทคโนโลยีการรักษาโรคมะเร็งและหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบาบัด
เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยและรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เทคโนโลยีผ่าตัดผ่านกล้องทางกระดูกและข้อ
และห้องผ่าตัดไฮบริด (Hybrid OR) เป็นต้น โดยโครงงานนี้จะเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้คนตระหนักได้ว่า หากใช้
เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพแล้วนั้น จะทาให้เกิดประโยชน์มากมาย และมีคุณค่ามากกว่าการเอาไปใช้ใน
ทางที่ผิด ทั้งอย่างนั้นบางคนอาจจะยังไม่ไว้ใจที่จะใช้เทคโนโนโลยี หรือหุ่นยนต์ในการรักษาจึงเป็นที่มาของ
โครงงานนี้ ที่จะให้ผู้คนเข้าใจและรู้วิธีการรักษาด้วนเทคโนโลยี และรู้ข้อดี-เสียของการใช้เทคโนโลยีการแพทย์
ตลอดจนขั้นตอนในการผ่าตัดตั้งแต่ก่อนผ่าตัดไปจนผ่าตัดลุล่วง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาความเป็นมาและข้อมูลของเทคโนโลยีการแพทย์
2. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยีการแพทย์
3. เพื่อให้ผู้ป่วยรู้วิธีการเตรียมตัวก่อนผ่าตัด และการดูแลร่างกายหลังผ่าตัด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยีการแพทย์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงพัฒนาการของ
เทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. เผยแพร่ข้อมูลของเทคโนโลยีการแพทย์ทั้งข้อดี-ข้อเสียแก่ประชากรในสังคมทุกเพศ ทุกวัยอย่างทั่งถึง
3. ป้องกันอันตรายจากความไม่รู้ เมื่อต้องเข้ารับการผ่าตัด ทั้งก่อน-หลังผ่าตัด จึงจัดทาเพื่อการเตรียมตัว
ก่อนผ่าตัดที่ถูกต้อง และการดูแลร่างกายหลังกายหลังผ่าตัดอย่างพิถีพิถัน ละเอียด รอบคอบ ไม่
ประมาท
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คืออะไร?
กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คือ นวัตกรรมทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย
โรคในระบบทางเดินอาหาร กล้องชนิดนี้สามารถตรวจได้ถึงส่วนที่ลึกที่สุดของลาไส้เล็ก ในจุดที่การส่องกล้อง
ทั่วไปเข้าไม่ถึง สามารถให้้ผลการตรวจที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยา และมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์ หรือกล้องสารวจทางเดินอาหารมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับยาเม็ดชนิดแคปซูล ทาให้สามารถ
กลืนได้สะดวกและปลอดภัย กระบวนการตรวจเริ่มจากให้คนไข้กลืน กล้องแคปซูล พร้อมกับน้า กล้องจะ
เคลื่อนที่ไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก จนสิ้นสุดที่
ลาไส้ใหญ่ จากนั้นกล้องแคปซูลนี้จะออกมาพร้อมกับการถ่ายอุจจาระ ซึ่งไม่ทาให้เกิดอันตรายใดๆ ต่อร่างกายผู้
ถูกตรวจโดยภาพภายในทางเดินอาหารจะถูกบันทึกไว้ที่เครื่อง ซึ่งเชื่อมต่อจากภายนอก ใช้เวลาทั้งหมด
ประมาณ 7 ชั่วโมง โดยสามารถบันทึกภาพได้ 2 ภาพต่อวินาที และเก็บภาพได้ถึง 50,000 ภาพ
การผ่าตัดส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery) คืออะไร?
การผ่าตัดส่องกล้อง หรือการศัลยกรรมผ่าตัดผ่านกล้อง (Minimally Invasive Surgery) เป็น
เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ช่วยแผลผ่าตัดมีขนาดเล็กลง ลดอาการเจ็บแผล และใช้ระยะเวลาในการ
พักฟื้นน้อยกว่าการผ่าตัดแบบเปิดแผล ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้เร็วขึ้น
โดยศัลยแพทย์จะทาการเจาะรู้ขนาดเล็ก ประมาณ 5-10 มิลลิลิตร ผ่านช่องท้อง หรือผิวหนังใกล้
บริเวณอวัยวะที่ต้องการผ่าตัด จานวน 1-4 รู้ ขึ้นอยู่กับโรคที่ต้องการรักษา เพื่อสอดท่อที่มีไฟฉายและกล้อง
ขนาดเล็กที่สามารถบันทึกภาพอวัยวะภายในของผู้ป่วยอย่างชัดเจน และส่งมายังจอมอนิเตอร์ เพื่อให้
ศัลยแพทย์มองเห็นบริเวณที่ต้องการผ่าตัดได้ชัดเจน ทาให้ผลที่ได้หลังการผ่าตัดมีความเที่ยงตรงและแม่นยา
เครื่องตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
จุดเด่นของเครื่องตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารุ่นใหม่ (New MRI)
 เครื่องมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 70 ซม. ซึ่งกว้างกว่าเครื่อง MRI ทั่วๆไปถึง 10 ซม. ช่วยลดปัญหาผู้ป่วย
กลัวที่แคบ(claustrophobia)
 ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจลดลง ขณะที่ให้ความละเอียดของภาพที่ดีมากยิ่งขึ้น
 ภายในห้องตรวจมีอุปกรณ์ตรวจจับสัญญานชีพของผู้ป่วยตลอดการตรวจ
 การตรวจในแต่ละครั้งจะมีนักรังสีเทคนิค, พยาบาล และรังสีแพทย์ ดูแลผู้ป่วยตลอดการตรวจ
 ตรวจอวัยวะได้ทุกส่วนของร่างกาย เช่น ระบบสมองและกระดูกสันหลัง ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
เป็นต้น
 สามารถตรวจหาความผิดปกติของเข่าและข้อต่างๆ เช่น เอ็นเข่าหรือข้อเท้าฉีกขาด มีก้อนที่เข่า เป็น
ต้น โดยให้ความละเอียดภาพที่มีความคมชัดสูง
 สามารถตรวจดูเส้นเลือดต่างๆทั่วร่างกายโดยไม่จาเป็นต้องฉีดยาที่ใช้ร่วมกับการตรวจเอ็มอาร์ไอ (MRI
contrast agent) เช่น ผู้ป่วยที่ส่งสัยภาวะหลอดเลือดแดงที่ไตตีบ เป็นต้น
 สามารถตรวจหัวใจ เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทางานของหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ สงสัยก้อน
เนื้องอกในหัวใจ ลิ้นหัวใจผิดปกติ และความผิดปกติอื่นๆของหัวใจ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
 เตียงตรวจในห้อง MRI สามารถรับน้าหนักผู้รับบริการได้ถึง 250 กก. และรองรับการปั้มหัวใจบนเตียง
ตรวจได้
 ผู้รับบริการสามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้ในขณะตรวจ นอกจากนั้นภายในห้องตรวจยังมีกล้องวงจร
ปิด เพื่อคอยสังเกตุผู้รับบริการและไมโครโฟนภายในเครื่องสาหรับติดต่อกับเจ้าหน้าที่ตลอดระยะเวลา
ของการตรวจ
 ผู้รับการตรวจสามารถเลือกฟังเพลงได้ขณะตรวจ และผู้รับบริการสามารถนาเพลงมาจากบ้านเพื่อใช้
ฟังขณะตรวจได้ หรือจะเลือกเปิดเพลงผ่าน mobile phone, iPod, iPad หรือ tablet ของผู้มารับ
บริการเองได้
ข้อจากัดในการเข้าตรวจด้วย MRI
 ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจบางรุ่นซึ่งไม่สามารถเข้าสู่สนามแม่เหล็กได้
 ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดแล้วได้รับการใส่คลิป (ชนิดที่ไม่ใช้ไททาเนียม) หนีบเส้นเลือดในสมอง
 ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นสมอง (Deep brain stimulator) หรือเส้นประสาท (Vagal
nerve stimulation)
 ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยฟังที่ฝังในกระดูกหู (Cochlear implantation)
 ผู้ป่วยที่มีโลหะตะกั่วฝังอยู่ในตัว
 ผู้ป่วยที่มีโลหะหรือเศษเหล็ก ฝังอยู่บริเวณแก้วตา
การพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ โดยอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมเป็นหลักในการผลิต
1. เพื่อการตรวจและวินิจฉัยโรค = เครื่องเอกซเรย์ , เครื่องโทโมกราฟีแบบคอมพิวเตอร์ ,เครื่องถ่ายภาพ
แบบนิวเคลียร์แมกนิติกเร โซแนน์อิมเมจ ,เครื่องถ่ายภาพโดยเรดิโอกราฟฟี, เครื่องอุลตราซาวด์ ,
เครื่องตรวจการทางานของหัวใจ ,เครื่องตรวจการรับฟังเสียง
2. เพื่อการรักษาพยาบาล = มีดผ่าตัดเลเซอร์ ,เครื่องกรอคราบหินปูนที่ฟันโดยคลื่นเสียงความถี่สูง ,
เครื่องนวดคลายความเมื่อยล้าโดยคลื่นเสียงความถี่สูง , เครื่องฉายรังสี , เครื่องควบคุมการให้
ออกซิเจนในระหว่างการผ่าตัด , เครื่องกระตุ้นการทางานของหัวใจ , แว่นตา คอนแทกเลนส์ , การ
สร้างอวัยวะเทียม
3. เพื่อการป้องกันโรค = เตาอบและตู้อบฆ่าเชื้อ ,การใช้รังสี ,เครื่องฉายรังสี ,อุปกรณ์สารหับการสวม
ครอบหรือสอดใส่เข้าไปในรูหู
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการผลิตยา สาร หรือวิธีการที่ใช้ในทางการแพทย์
ในการพัฒนาบางครั้งต้องอาศัยเทคโนโลยี เทคนิค และวิธีการต่างๆ เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ และ
เทคนิคทางด้านวิศวกรรม ได้แก่ การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อซึ่งเก็บตัวอย่างมาจากผู้ป่วย ,การสร้างเด็ก
หลอดแก้ว ,การหาสาเหตุและการรักษาโรคที่เกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรม ,อุตสาหกรรมการผลิตยา ,
การผลิตเซรุ่ม ,การผลิตวัคซีนป้องกันโรค
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือ
ความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ
รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบ
สาคัญ ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะ
ช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงาน
นั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
การลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน
ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
4.2 การลงมือพัฒนา
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษา
ค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน
นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
5.1 ส่วนนา
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานสาเร็จ
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ
5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3. ขอบเขตของโครงงาน
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ
วิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามา
เปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่
พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ
ข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุ
ด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึง
การนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ
หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
แก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ
ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้
ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การ
เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบาย
วิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. .ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้
ผลงานนั้นได้
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะ
ให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและ
ส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน
ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ
แสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้
ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การ
แสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดย
โปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่ง
ต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
o Computer
o Chrome
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน วิภวานี
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล วิภวานี
3 จัดทาโครงร่างงาน วิภวานี
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน วิภวานี
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้คนมีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีทางการแพทย์มากขึ้น
2. ผู้คนตระหนักถึงข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยีทางการแพทย์
3. ผู้ป่วย หรือญาติผู้ป่วยสามารถเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดได้อย่างถูกวิธี
4. มุมมองของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปของคนบางกลุ่ม
5. ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเทคโนโลยี และวิทยาการมาประยุกต์ใช้กับความรู้ทางการแพทย์
สถานที่ดาเนินการ
 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
 บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
แหล่งอ้างอิง
https://goodlifeupdate.com/healthy-body/164549.html
https://sites.google.com/site/thekhnoloyikarphaethy/thekhnoloyi-thangkar-
phaethy
https://www.phukethospital.com/th/about-us/innovation-technology/

More Related Content

Similar to Project com

2562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-172562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-17
ssuserd8ae6f
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
TeerapatSrilom
 

Similar to Project com (20)

2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
2562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-172562 final-project thanaanun-17
2562 final-project thanaanun-17
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
ใบงานชิ้นที่ 5 แบบโครงร่าง โครงงาน โรคหัวใจ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 project
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 

Project com

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน เทคโนโลยีกับการผ่าตัด ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 คน 1. นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร เลขที่ 38 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : เทคโนโลยีกับการผ่าตัด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Technology & Surgery ประเภทโครงงาน : การประยุกต์ใช้งาน (Application) ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาววิภวานี พันเลิศศฤงคาร ชื่อที่ปรึกษา : คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มาแนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน) ปัจจุบันนี้ในยุคศตวรรษที่ 21 หลายสิ่งหลายอย่างได้พัฒนา และก้าวหน้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ เทคโนโลยีที่ทาให้โลกของเราเหมือนก้าวไปสู่อีกระดับที่สูงยิ่งขึ้น แม้จะยังมีบางพื้นที่ บางประเทศที่ยังไม่พัฒนา หรืออยู่ระหว่างการพัฒนาก็ตาม แต่ในบรรดาประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นก็มิได้นิ่งนอนใจ ปล่อยให้เวลาผ่านไป เฉยๆ ยังคงพัฒนาเทคโนโลยีให้ดียิ่งขึ้นไปอีก โดยได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ สื่อสาร การคมนาคม การก่อสร้างการผลิต อุตสาหกรรมด้านต่างๆ ด้านสาธารณสุข การบริหารจัดการ การ อุปโภคบริโภค ฯลฯ รวมไปถึงด้านการแพทย์ที่ได้มีการนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีการผ่า ตัดผ่านกล้องทางนรีเวชและมะเร็งนรีเวช เทคโนโลยีการรักษาโรคมะเร็งและหุ่นยนต์ผสมยาเคมีบาบัด เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยและรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เทคโนโลยีผ่าตัดผ่านกล้องทางกระดูกและข้อ และห้องผ่าตัดไฮบริด (Hybrid OR) เป็นต้น โดยโครงงานนี้จะเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้คนตระหนักได้ว่า หากใช้ เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพแล้วนั้น จะทาให้เกิดประโยชน์มากมาย และมีคุณค่ามากกว่าการเอาไปใช้ใน ทางที่ผิด ทั้งอย่างนั้นบางคนอาจจะยังไม่ไว้ใจที่จะใช้เทคโนโนโลยี หรือหุ่นยนต์ในการรักษาจึงเป็นที่มาของ
  • 3. โครงงานนี้ ที่จะให้ผู้คนเข้าใจและรู้วิธีการรักษาด้วนเทคโนโลยี และรู้ข้อดี-เสียของการใช้เทคโนโลยีการแพทย์ ตลอดจนขั้นตอนในการผ่าตัดตั้งแต่ก่อนผ่าตัดไปจนผ่าตัดลุล่วง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาความเป็นมาและข้อมูลของเทคโนโลยีการแพทย์ 2. เพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยีการแพทย์ 3. เพื่อให้ผู้ป่วยรู้วิธีการเตรียมตัวก่อนผ่าตัด และการดูแลร่างกายหลังผ่าตัด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยีการแพทย์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงพัฒนาการของ เทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. เผยแพร่ข้อมูลของเทคโนโลยีการแพทย์ทั้งข้อดี-ข้อเสียแก่ประชากรในสังคมทุกเพศ ทุกวัยอย่างทั่งถึง 3. ป้องกันอันตรายจากความไม่รู้ เมื่อต้องเข้ารับการผ่าตัด ทั้งก่อน-หลังผ่าตัด จึงจัดทาเพื่อการเตรียมตัว ก่อนผ่าตัดที่ถูกต้อง และการดูแลร่างกายหลังกายหลังผ่าตัดอย่างพิถีพิถัน ละเอียด รอบคอบ ไม่ ประมาท หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คืออะไร? กล้องแคปซูล (Capsule Endoscopy) คือ นวัตกรรมทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัย โรคในระบบทางเดินอาหาร กล้องชนิดนี้สามารถตรวจได้ถึงส่วนที่ลึกที่สุดของลาไส้เล็ก ในจุดที่การส่องกล้อง ทั่วไปเข้าไม่ถึง สามารถให้้ผลการตรวจที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยา และมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์ หรือกล้องสารวจทางเดินอาหารมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับยาเม็ดชนิดแคปซูล ทาให้สามารถ กลืนได้สะดวกและปลอดภัย กระบวนการตรวจเริ่มจากให้คนไข้กลืน กล้องแคปซูล พร้อมกับน้า กล้องจะ เคลื่อนที่ไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก จนสิ้นสุดที่ ลาไส้ใหญ่ จากนั้นกล้องแคปซูลนี้จะออกมาพร้อมกับการถ่ายอุจจาระ ซึ่งไม่ทาให้เกิดอันตรายใดๆ ต่อร่างกายผู้
  • 4. ถูกตรวจโดยภาพภายในทางเดินอาหารจะถูกบันทึกไว้ที่เครื่อง ซึ่งเชื่อมต่อจากภายนอก ใช้เวลาทั้งหมด ประมาณ 7 ชั่วโมง โดยสามารถบันทึกภาพได้ 2 ภาพต่อวินาที และเก็บภาพได้ถึง 50,000 ภาพ การผ่าตัดส่องกล้อง (Minimally Invasive Surgery) คืออะไร? การผ่าตัดส่องกล้อง หรือการศัลยกรรมผ่าตัดผ่านกล้อง (Minimally Invasive Surgery) เป็น เทคโนโลยีทางการแพทย์สมัยใหม่ที่ช่วยแผลผ่าตัดมีขนาดเล็กลง ลดอาการเจ็บแผล และใช้ระยะเวลาในการ พักฟื้นน้อยกว่าการผ่าตัดแบบเปิดแผล ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้เร็วขึ้น โดยศัลยแพทย์จะทาการเจาะรู้ขนาดเล็ก ประมาณ 5-10 มิลลิลิตร ผ่านช่องท้อง หรือผิวหนังใกล้ บริเวณอวัยวะที่ต้องการผ่าตัด จานวน 1-4 รู้ ขึ้นอยู่กับโรคที่ต้องการรักษา เพื่อสอดท่อที่มีไฟฉายและกล้อง ขนาดเล็กที่สามารถบันทึกภาพอวัยวะภายในของผู้ป่วยอย่างชัดเจน และส่งมายังจอมอนิเตอร์ เพื่อให้ ศัลยแพทย์มองเห็นบริเวณที่ต้องการผ่าตัดได้ชัดเจน ทาให้ผลที่ได้หลังการผ่าตัดมีความเที่ยงตรงและแม่นยา เครื่องตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
  • 5. จุดเด่นของเครื่องตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารุ่นใหม่ (New MRI)  เครื่องมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 70 ซม. ซึ่งกว้างกว่าเครื่อง MRI ทั่วๆไปถึง 10 ซม. ช่วยลดปัญหาผู้ป่วย กลัวที่แคบ(claustrophobia)  ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจลดลง ขณะที่ให้ความละเอียดของภาพที่ดีมากยิ่งขึ้น  ภายในห้องตรวจมีอุปกรณ์ตรวจจับสัญญานชีพของผู้ป่วยตลอดการตรวจ  การตรวจในแต่ละครั้งจะมีนักรังสีเทคนิค, พยาบาล และรังสีแพทย์ ดูแลผู้ป่วยตลอดการตรวจ  ตรวจอวัยวะได้ทุกส่วนของร่างกาย เช่น ระบบสมองและกระดูกสันหลัง ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก เป็นต้น  สามารถตรวจหาความผิดปกติของเข่าและข้อต่างๆ เช่น เอ็นเข่าหรือข้อเท้าฉีกขาด มีก้อนที่เข่า เป็น ต้น โดยให้ความละเอียดภาพที่มีความคมชัดสูง  สามารถตรวจดูเส้นเลือดต่างๆทั่วร่างกายโดยไม่จาเป็นต้องฉีดยาที่ใช้ร่วมกับการตรวจเอ็มอาร์ไอ (MRI contrast agent) เช่น ผู้ป่วยที่ส่งสัยภาวะหลอดเลือดแดงที่ไตตีบ เป็นต้น  สามารถตรวจหัวใจ เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทางานของหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ สงสัยก้อน เนื้องอกในหัวใจ ลิ้นหัวใจผิดปกติ และความผิดปกติอื่นๆของหัวใจ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง  เตียงตรวจในห้อง MRI สามารถรับน้าหนักผู้รับบริการได้ถึง 250 กก. และรองรับการปั้มหัวใจบนเตียง ตรวจได้  ผู้รับบริการสามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้ในขณะตรวจ นอกจากนั้นภายในห้องตรวจยังมีกล้องวงจร ปิด เพื่อคอยสังเกตุผู้รับบริการและไมโครโฟนภายในเครื่องสาหรับติดต่อกับเจ้าหน้าที่ตลอดระยะเวลา ของการตรวจ  ผู้รับการตรวจสามารถเลือกฟังเพลงได้ขณะตรวจ และผู้รับบริการสามารถนาเพลงมาจากบ้านเพื่อใช้ ฟังขณะตรวจได้ หรือจะเลือกเปิดเพลงผ่าน mobile phone, iPod, iPad หรือ tablet ของผู้มารับ บริการเองได้ ข้อจากัดในการเข้าตรวจด้วย MRI  ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจบางรุ่นซึ่งไม่สามารถเข้าสู่สนามแม่เหล็กได้  ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดแล้วได้รับการใส่คลิป (ชนิดที่ไม่ใช้ไททาเนียม) หนีบเส้นเลือดในสมอง  ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นสมอง (Deep brain stimulator) หรือเส้นประสาท (Vagal nerve stimulation)  ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยฟังที่ฝังในกระดูกหู (Cochlear implantation)  ผู้ป่วยที่มีโลหะตะกั่วฝังอยู่ในตัว  ผู้ป่วยที่มีโลหะหรือเศษเหล็ก ฝังอยู่บริเวณแก้วตา
  • 6. การพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ โดยอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมเป็นหลักในการผลิต 1. เพื่อการตรวจและวินิจฉัยโรค = เครื่องเอกซเรย์ , เครื่องโทโมกราฟีแบบคอมพิวเตอร์ ,เครื่องถ่ายภาพ แบบนิวเคลียร์แมกนิติกเร โซแนน์อิมเมจ ,เครื่องถ่ายภาพโดยเรดิโอกราฟฟี, เครื่องอุลตราซาวด์ , เครื่องตรวจการทางานของหัวใจ ,เครื่องตรวจการรับฟังเสียง 2. เพื่อการรักษาพยาบาล = มีดผ่าตัดเลเซอร์ ,เครื่องกรอคราบหินปูนที่ฟันโดยคลื่นเสียงความถี่สูง , เครื่องนวดคลายความเมื่อยล้าโดยคลื่นเสียงความถี่สูง , เครื่องฉายรังสี , เครื่องควบคุมการให้ ออกซิเจนในระหว่างการผ่าตัด , เครื่องกระตุ้นการทางานของหัวใจ , แว่นตา คอนแทกเลนส์ , การ สร้างอวัยวะเทียม 3. เพื่อการป้องกันโรค = เตาอบและตู้อบฆ่าเชื้อ ,การใช้รังสี ,เครื่องฉายรังสี ,อุปกรณ์สารหับการสวม ครอบหรือสอดใส่เข้าไปในรูหู การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการผลิตยา สาร หรือวิธีการที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการพัฒนาบางครั้งต้องอาศัยเทคโนโลยี เทคนิค และวิธีการต่างๆ เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ และ เทคนิคทางด้านวิศวกรรม ได้แก่ การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อซึ่งเก็บตัวอย่างมาจากผู้ป่วย ,การสร้างเด็ก หลอดแก้ว ,การหาสาเหตุและการรักษาโรคที่เกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรม ,อุตสาหกรรมการผลิตยา , การผลิตเซรุ่ม ,การผลิตวัคซีนป้องกันโรค วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือ ความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบ สาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย
  • 7. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะ ช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงาน นั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า 1. จะทา อะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน การลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้ แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้ัรับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
  • 8. 4.2 การลงมือพัฒนา 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ 5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานสาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ 5.2 บทนา บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือ วิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามา เปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่ พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ ข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุ ด้วยว่าข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึง
  • 9. การนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง แก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การ เขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบาย วิธีการใช้ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. .ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะ ให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทา หน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและ ส่วนอะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงาน ทางานในฟังก์ชันหนึ่งๆ 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ แสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การ แสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดย โปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่ง ต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
  • 10. 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ o Computer o Chrome ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน วิภวานี 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล วิภวานี 3 จัดทาโครงร่างงาน วิภวานี 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน วิภวานี 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้คนมีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีทางการแพทย์มากขึ้น 2. ผู้คนตระหนักถึงข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3. ผู้ป่วย หรือญาติผู้ป่วยสามารถเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดได้อย่างถูกวิธี 4. มุมมองของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปของคนบางกลุ่ม 5. ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเทคโนโลยี และวิทยาการมาประยุกต์ใช้กับความรู้ทางการแพทย์ สถานที่ดาเนินการ  โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย  บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ