SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
(พ.ศ.2558 - 2562)
“พัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควบคู่ธรรมาภิบาล
เน้นสวัสดิการคุณภาพชีวิต และภารกิจจัดการศึกษา พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม
น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน สานักปลัด โทร 045 – 848214
www.hyk.go.th
คานา
บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น และการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้การพัฒนาการ
กระจายอานาจเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และสามารถแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการดาเนินงานขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระในการกาหนดนโยบายการปกครองการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และ
ให้มีอานาจหน้าที่ของตนเองโดยเฉพาะ กาหนดอานาจหน้าที่ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้
โดยคานึงถึงการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นและจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นด้วยกัน ซึ่งได้กาหนดให้แต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเป็น
แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาต่อไป โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตาบล ซึ่งเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นเพื่อเป็นการกาหนดทิศทางในการ
พัฒนาของแต่ละท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และศักยภาพของแต่ละท้องถิ่น รวมทั้ง
เป็นการสอดประสานสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ตลอดจนนโยบายที่สาคัญของรัฐบาล
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง จึงได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนธาตุฉบับนี้ขึ้นมา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป
นายคาแดง เกษชาติ
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
สารบัญ
หน้า
ส่วนที่ 1
บทนา 1
ส่วนที่ 2
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 3
ส่วนที่ 3
วิเคราะห์ศักยภาพและการพัฒนาท้องถิ่น 20
ส่วนที่ 4
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด 25
ส่วนที่ 5
บัญชีโครงการพัฒนา 30
ส่วนที 6
การติดตามและประเมินผลการนาแผนพัฒนาสามปีไปปฏิบัติ 34
ภาคผนวก 37
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 1
ส่วนที่ 1
บทนำ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 2
บทนำ
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2542 มาตรา 16 และมาตรา 17 บัญญัติให้เทศบาลองค์การบริหารส่วนตาบลและการปกครองส่วนท้องถิ่น
รูปพิเศษมีอานาจหน้าที่ในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง โดยมีองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็น
หน่วยงานประสานการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดอีกด้วย
เนื่องจากการวางแผนในระยะสั้นและระยะยาวเกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบาย การปกครอง การ
บริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาหนด องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ย่อมมีความเป็นอิสระในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น และการดาเนินการตามแผน คามเป็น
อิสระนั้น ไม่ได้หมายถึง ความเป็นอิสระในการจัดบริการสาธารณะบางส่วนให้และยังต้องอยู่ในการกากับดูแล
หรือตรวจสอบโดยรัฐบาลและประชาคมอีกด้วย
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่ง
แสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ และนโยบายในการพัฒนาท้องถิ่น
การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเป็นกระบวนการกาหนดทิศทาง
ในอนาคตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกาหนดสภาพการณ์ที่ต้องการบรรลุและแนวทางในการบรรลุ
บนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ ทั้งนี้จะต้องสอดคล้องกับ
ศักยภาพของท้องถิ่นและปัญหาความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นด้วย
การวางแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา มีความสาคัญต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้
เนื่องจาก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นแผนที่มุ่งสู่สภาพการณ์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็นกรอบใน
การกาหนดทิศทาง การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์
อันพึงประสงค์ ได้อย่างเท่ากันกับการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ต้องกาหนดถึงสภาพการณ์ที่ต้องบรรลุ และแนวทางในการที่จะทาให้บรรลุถึง
สภาพการณ์นั้น
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ดีจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของการรวบรวมและการวิเคราะห์
ข้อมูล อย่างรอบด้านและเป็นระบบ ทั้งนี้ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถนาไปสู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 3
ส่วนที่ 2
สภาพทั่วไป
และข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 4
สภาพทั่วไป
ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขตและเขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ในพื้นที่อาเภโขง
เจียม จังหวัดอุบลราชธานี เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาตาบลห้วยยาง เป็นองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีพื้นที่ 140 ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณ 87,500 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่การปกครอง จานวน 11 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง
หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี
หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว
หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง
หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ
หมู่ที่ 6 บ้านดงแถบ
หมู่ที่ 7 บ้านบะไห
หมู่ที่ 8 บ้านเหล่าเจริญ
หมู่ที่ 9 บ้านนาบัวใต้
หมู่ที่10 บ้านดงแถบ
หมู่ที่11 บ้านนาดอนใหญ่
เขตการปกครอง / อาณาเขต ได้กาหนดการวางผังการปกครองให้สอดคล้องกับสภาพการขยายตัวของ
ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ และตาบลนาโพธิ์กลาง
อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม
จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลคาไหล ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังวัด
อุบลราชธานี
ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเป็นดินร่วน
ปนทรายมีปุาไม้ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีลาห้วยไหลผ่านที่สาคัญคือ ลาห้วยยาง ห้วยเรือ ห้วยบัว ร่องดุน ร่องหินลับ
ร่องหนองฮี ร่องโปุงเชือก ร่องแขนหัก ร่องห้วยหมาก ร่องดงดิบ ร่องหินลาด ห้วยหนองผือ ร่องขุม ห้วยช่อง
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิอากาศ มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 5
โครงสร้างพื้นฐาน
การคมนาคม / ขนส่ง
มีถนนเส้นทางหลวงจังหวัด หมายเลข อบ. 1031 เดินทางออกจากตัวอาเภอโขงเจียม ตาม
เส้นทาง 2134 แล้วแยกไปตามเส้นทาง 2222 ถึงบ้านหนองฆ้อง ตาบลห้วยไผ่ แล้วเลี้ยวซ้ายตามเส้นทาง
ของโยธาธิการประมาณ 7 กิโลเมตรสามารถเดินทางได้ดังนี้
- โดยทางรถยนต์โดยสารประจาทางในเขตจังหวัด
- โดยทางรถยนต์โดยสารประจาทางระหว่างจังหวัด
การคมนาคมติดต่อกับอาเภอข้างเคียง ดังนี้
- ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง
- ติดต่อกับ ตาบลนาโพธิ์กลาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง
- ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทางจังหวัด หมายเลข 2112
- ติดต่อกับ ตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง
- ติดต่อกับ ตาบลคาไหล อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง
การจราจร
- ถนนลูกรัง 70 สาย
- ถนนลาดยาง 3 สาย
- ถนนคอนกรีต 45 สาย
- สะพานคอนกรีต 6 แห่ง
- สะพานไม้ 4 แห่ง
- แม่น้าไหลผ่าน 15 สาย
- ห้วย / หนอง / คลอง / บึง 11 แห่ง / สาย
- คลองชลประทาน 4 แห่ง
- บ่อบาดาลสาธารณะ 70 แห่ง
ระบบสาธารณูปโภค
การประปา จานวนหมู่บ้านในเขตตาบลห้วยยาง มีระบบน้าประปาใช้ครบทุกหมู่บ้าน
ไฟฟูา ไฟฟูาที่ผลิตโดยการไฟฟูานครหลวง หรือการไฟฟูาส่วนภูมิภาคคิดเป็นร้อยละ 80 ครัวเรือนการสื่อสาร
และโทรคมนา -มีสัญญาโทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์สาธารณะ และโทรศัพท์บ้านพื้นฐาน
ด้านการท่องเที่ยว
มีแหล่งท่องเที่ยว 3 แห่ง คือ น้าตกถ้าพวง น้าตกกลูจอ น้าตกแสนเมือง และน้าตกถ้าพวง เป็นน้าตกซึ่ง
ไหลลงลาห้วยเรือ อยู่ที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9 เป็นเขตปุาสงวนดงภูหล่น และบริเวณระหว่างน้าตกถ้าพวงถึงน้าตก
กลูจอ และน้าตกแสนเมือง มีกลุ่มเสาหินเฉลียงตั้งซ้อนกันหลายแห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านนาบัวหมู่ที่ 3 สถานที่
ท่องเที่ยว 3 แห่ง อยู่ห่างจากอาเภอโขงเจียม ประมาณ 27 กิโลเมตร ปุาในเขตดงภูหล่น มีความอุดมสมบูรณ์ มี
ต้นไม้ขนาดใหญ่ สัตว์ สมุนไพร และของปุานานาชนิดเหมาะสาหรับการศึกษาธรรมชาติในช่วงเดือนมิถุนายน -
เดือนสิงหาคม จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชม และมีการเดินปุา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ปี
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
- ปุาไม้ ทรัพยากรปุาไม้ยังมีความอุดมสมบูรณ์ สภาพพื้นที่อยู่ในเขตปุาสงวนแห่งชาติดงภูโหล่น
- ดิน มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายค่อนข้างขาดความอุดมสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 6
ประชากร
มีจานวนประชากร 8,341 คน แยกเป็น เพศหญิง 4,060 คน เพศชาย 4,281 คน
มีจานวนครัวเรือน 1,993 ครัวเรือน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากร 59.58 คนต่อตาราง
กิโลเมตร
ตารางแสดงข้อมูลจานวนประชากรของตาบลห้วยยาง มีดังนี้
หมูที่ ชื่อบ้าน ประชากร จานวน
ครัวเรือนชาย (คน) หญิง (คน) รวม(คน)
1 ห้วยยาง 604 549 1,153 247
2 หนองฮี 419 397 816 193
3 นาบัว 338 326 664 162
4 โพนแพง 531 517 1.048 223
5 ดงดิบ 534 496 1,030 245
6 ดงแถบ 373 363 736 209
7 บะไห 534 460 994 257
8 เหล่าเจริญ 118 175 363 84
9 นาบัวใต้ 290 265 555 131
10 ดงแถบ 305 336 641 157
11 นาดอนใหญ่ 165 176 341 85
รวม 4,281 4,060 8,341 1,993
*ข้อมูลของวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2556
- ผู้สูงอายุ 792 คน
- ผู้พิการ 221 คน
- ผู้ปุวยโรคเอดส์ 5 คน
สภาพทางเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจของประชากรในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพ
ทานา ทาไร่ และรับจ้างตามฤดูกาล
หน่วยธุรกิจและการบริการ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีดังนี้
1. ปั๊มน้ามัน ชนิดมือหมุน 18 แห่ง
2. ปั๊มน้ามัน ชนิดเติมด้วยเครื่อง 3 แห่ง
3. ร้านค้า 63 แห่ง
4. โรงสี 15 แห่ง
5. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ 8 แห่ง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 7
ผลผลิตพื้นเมืองที่สาคัญของท้องถิ่น มีดังนี้
1. ผลผลิตจากต้นกก ได้แก่ กระติบข้าว ผลิตที่บ้านดงดิบ หมูที่ 5
2. ผลผลิตจากฝูาย ได้แก่ ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 และบ้านนาบัว หมู่
ที่ 3
4. ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร ได้แก่ หน่อไม้ดองบรรจุปี๊บ ผลิตที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ 9
5. ผลิตผลจากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
6. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ได้แก่ โคมไฟ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2
สภาพสังคม
การศึกษา
มีโรงเรียนอยู่ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยาง จานวน 7 แห่ง โรงเรียนที่ทาการสอนตั้งแต่ระดับ
อนุบาล ประถมศึกษา จานวน 4 โรงเรียน โรงเรียนที่สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ตอนต้น (ขยายโอกาสทางการศึกษา) จานวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนเอกชนจานวน 1 แห่ง ดังนี้
1. โรงเรียนบ้านห้วยยาง (โรงเรียนขยายโอกาส)
2. โรงเรียนบ้านนาบัว (โรงเรียนขยายโอกาส)
3.โรงเรียนบ้านโพนแพง
4.โรงเรียนบ้านดงดิบ
5. โรงเรียนบ้านดงแถบ
6. โรงเรียนบ้านบะไห
7. โรงเรียนศรีแสงธรรม (โรงเรียนเอกชน)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางจานวน 6 แห่ง
รวม 242 คน ดังนี้
1. ศูนย์พัฒนาเดเล็กบ้านหนองฮี จานวน 83 คน
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาบัว จานวน 44 คน
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแพง จานวน 22 คน
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงดิบ จานวน 36 คน
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบะไห จานวน 23 คน
การศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณีวัฒนธรรม
พื้นบ้านที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ในการทาบุญประเพณีในวันสาคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาลประเพณีต่างๆ
เป็นประจาปี โดยมีศาสนาและสานักสงฆ์ ดังนี้
1. วัดบรมคงคา ตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 1
2. สานักสงฆ์หนองฮี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2
3. วัดสว่างสมดี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านนาบัว หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9
4. วัดสุขสาราญ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านโพนแพง หมู่ที่ 4
5. วัดปุาดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5
6. วัดปุาศรีแสงธรรม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5
7. วัดบ้านดงแถบ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 8
8. สานักสงฆ์ภูจันแดง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
9. วัดบ้านบะไห ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7
10. วัดปุาสว่างดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 8
11. สานักสงฆ์ห้วยเรือ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9
12. สานักสงฆ์ภูหินกอง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9
การสาธารณสุข
การให้บริการด้านการสาธารณสุขมีศูนย์สุขภาพชุมชน จานวน 1 แห่ง ที่ประชาชนในพื้นที่ตาบลห้วย
ยางได้เข้ารับบริการด้านการรักษา คือ ศูนย์สุขภาพชุมชน (โรงพยาบาลส่งเสริมตาบล) บ้านนาบัวตั้งอยู่ในเขต
พื้นที่บ้านนาบัว หมู่ที่3
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยางไม่มีสถานีตารวจ
- มีศูนย์อปพร.ตาบลห้วยยาง จานวน 1 แห่ง สมาชิก อปพร.จานวน 120 นาย
ป่าชุมชน ตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วย
- ปุาชุมชน ปุาดงสาละเมิน มีเนื้อที่ประมาณ 2,600 ไร่
- ปุาชุมชน ดอนชาติน้อย ดอนชาติใหญ่ บ้านนาบัว มีเนื้อที่ประมาณ 150 ไร่
- ปุาชุมชนบ้านโพนแพง มีเนื้อที่ประมาณ 40 ไร่
- ปุาชุมชนบ้านบะไห มีเนื้อที่ประมาณ 70 ไร่
- ปุาชุมชนบ้านนาดอนใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 80 ไร่
- ปุาชุมชนบ้านดงดิบ มีเนื้อที่ประมาณ 500 ไร่
- ปุาชุมชน บ้านนาบัวใต้ มีเนื้อที่ประมาณ 100 ไร่
ปัญหาป่าชุมชนและการบริหารจัดการ
- การบุกรุกปุาชุมชน เช่น กรณีบุกรุกปุาชุมชนดงสาละเมิน โดยมีนายทุนและชาวบ้านเข้าบุกรุกพื้นที่ปุา
เพื่อทาไร่ ทาสวนยางพาราและไร่มันสาปะหลัง ซึ่งทางคณะกรรมการ ทสม. ได้แจ้งเรื่องถึงกรรมาธิการวุฒิสภา
เข้ามาตรวจสอบร่วมกับ หน่วยงานทางจังหวัดอุบลราชธานี ให้ดาเนินการอย่างจริงจัง
- การตัดไม้ทาลายปุา
- ปัญหาไฟปุา
- การลักลอบ ค้าขายพืช สมุนไพรปุา เช่น สมุนไพรนางแส่ง ปลาไหลเผือก เจตพังคี เสลด
พังพอน กล้วยไม้ปุา และสัตว์ปุาบางชนิด
- การจัดการร่วม ระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ กับภาคประชาชน
การบริหารจัดการ
หน่วยงานภาครัฐ หน่วยรักษาปุาไม้ อบ.6 ศูนย์วนวัฒนะวิจัยโขงเจียม ศูนย์ปูองกันไฟปุาโขง
เจียม องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาคประชาชน คณะกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสม.) คณะกรรมการปุา
ชุมชน กลุ่มคนหัวใจสีเขียว ตาบลห้วยยาง อาสาสมัครปูองกันไฟปุาชุมชน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 9
ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตาบล
โครงสร้างและอานาจหน้าที่
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นราชการส่วนท้องถิ่น มีฐานะเป็นนิติบุคคลมีโครงสร้างการ
บริหารงาน โดยแยกเป็น นายกองค์การบริหารส่วนตาบล และสภาองค์การบริหารส่วนตาบล
- บุคลากรของฝุายบริหารและสมาชิก อบต. จานวน 28 คน
ประกอบด้วย
- ฝุายบริหารอบต. จานวน 4 คน
- ฝุายสมาชิก อบต. จานวน 22 คน
ตารางแสดง จานวนบุคลากรฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง
1 นายคาแดง เกษชาติ นายก อบต.
2 นางแดง ทองคา รองนายก อบต.
3 นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายก อบต.
4 นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานายก อบต.
ตารางแสดง จานวนบุคลากร ในฝ่ายสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง
1 นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต.
2 นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต.
3 นายแสงทอง ส่องแสง เลขานุการสภา อบต.
4 นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1
5 นายขันอาษา จันทร์สุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
7 นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
8 นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
9 นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4
10 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
11 นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
12 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6
13 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
14 นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
15 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
16 นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
17 นายประวิทย์ แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 10
18 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
19 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
20 นายคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
21 นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
22 นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
ตารางแสดง จานวนกานัน ผู้ใหญ่บ้านที่ปกครองในตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ –สกุล ตาแหน่ง
1 บ้านห้วยยาง นายอนันต์ จันทร์สุข ผู้ใหญ่บ้าน
2 บ้านหนองฮี นายทรงวิทย์ คามั่น กานันตาบลห้วยยาง
3 บ้านนาบัว นายสุดใจ ไชโย ผู้ใหญ่บ้าน
4 บ้านโพนแพง นายประพันธ์ วงศ์จันทร์ ”
5 บ้านดงดิบ นายรัศมี ศรีชุม ”
6 บ้านดงแถบ นายอดิษฐ์ บัวงาม ”
7 บ้านบะไห นายทองจันทร์ สังข์ทองทัศ ”
8 บ้านเหล่าเจริญ นายสมเกียรติ จันทร์สุข ”
9 บ้านนาบัวใต้ นายประพิน เกษชาติ ”
10 บ้านดงแถบ นายเกษม พันธ์อินทร์ ”
11 บ้านนาดอนใหญ่ นายสูตัน มั่นธรรม ”
การบริหารงานบุคคล
จานวนบุคลากร พนักงานส่วนตาบลขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และพนักงานจ้าง
แบ่งส่วนราชการ 4 ส่วนดังนี้
ตาแหน่งในสานักปลัด อบต. ห้วยยาง มีจานวน 16 ตาแหน่ง
ปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง
รองปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง
นักบริหารงานทั่วไป(หัวหน้าสานักปลัด) 1 ตาแหน่ง
นักพัฒนาชุมชน 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง
บุคลากร 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน - ตาแหน่งว่าง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 11
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร 1 ตาแหน่ง
พนักงานจ้างทั่วไป 1 ตาแหน่ง
พนักงานจ้างทั่วไป (งานด้านสาธารณสุข) 1 ตาแหน่ง
พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง
นักการภารโรง (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง
พนักงานจ้างทั่วไป (งานด้านปูองกันฯ) 1 ตาแหน่ง
จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน) 1 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนการคลัง มีจานวน 4 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนการคลัง 1 ตาแหน่งว่าง
นักวิชาการเงินและบัญชี - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่พัสดุ - ตาแหน่งว่าง
เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - ตาแหน่งว่าง
ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี (พนักงานจ้างตามภรกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนโยธา มีจานวน 3 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนโยธา 1 ตาแหน่ง
ช่างโยธา 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยช่างโยธา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ตาแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจานวน 11 ตาแหน่ง
หัวหน้าส่วนการศึกษา - ตาแหน่งว่าง
นักวิชาการศึกษา 1 ตาแหน่ง
เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง
ครูผู้ดูแลเด็ก 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 5 ตาแหน่ง
ผู้ดูแลเด็ก 2 ตาแหน่ง
เครื่องมือ เครื่องใช้ และครุภัณฑ์สานักงาน
ครุภัณฑ์สานักงาน
1. เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 2 เครื่อง
2. เครื่องพิมพ์ดีด จานวน 1 เครื่อง
3. ตู้เก็บเอกสาร จานวน 17 ตู้
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 12
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
1. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ จานวน 8 เครื่อง
2. คอมพิวเตอร์ (โครงการอินเตอร์เน็ตตาบล) จานวน 1 เครื่อง
ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว
1. ตู้เย็น จานวน 2 หลัง
2. กระติกน้าร้อน จานวน 1 ใบ
3. เครื่องตัดหญ้า จานวน 1 เครื่อง
ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หรือการแพทย์
เครื่องพ่นหมอกควัน จานวน 3 เครื่อง
ครุภัณฑ์สารวจ
1. กล้องระดับ จานวน 1 ตัว
2. ไม้สต๊าฟ จานวน 1 ชุด
ครุภัณฑ์โฆษณา และเผยแพร่
เครื่องขยายเสียง จานวน 1 ชุด
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 13
โครงสร้างการบริหารส่วนตาบล
ฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติ
โครงสร้างการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
นายก อบต.
รองนายก รองนายก
เลขานุการ
คณะผู้บริหารบริหาร
ประธานสภา อบต.
รองประธานสภา
ฯ
เลขานุการ สภา ฯ
สมาชิกสภา อบต.
อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต.
สมาชิกสภา อบต.
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 14
สานักงานปลัด
(นักบริหารงานทั่วไป6)
-งานบริหารทั่วไป
-นโยบายและแผน
-กฎหมายและคดี
-ฝุายปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
-งานกิจการสภาอบต.
-งานพัฒนาชุมชน
-งานวิชาการเกษตร
ส่วนการคลัง
(นักบริหารงานคลัง6)
-งานการเงิน
-งานบัญชี
-งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้
-ฝุายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตาบล
ปลัดอบต.
(นักบริหารงานอบต.8)
ส่วนโยธา
(นักบริหารงานช่าง6)
-งานก่อสร้าง
-ออกแบบและควบคุมอาคาร
-งานประสานสาธารณูปโภค
-ฝุายผังเมือง
ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
(นักบริหารการศึกษา6)
-งานบริหารการศึกษา
-งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรม
รองปลัดอบต.
(นักบริหารงานอบต.6)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 15
อานาจหน้าที่ในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
สภาตาบล ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชน จานวน 22 คน อยู่ใน
ตาแหน่งคราวละ 4 ปี มีประธานสภาตาบล และรองประธานสภาตาบล 1 คน แต่งตั้งจากสมาชิกสภาตาบล
โดยผู้ว่าราชการจังหวัดตามมติสภาตาบล
คณะผู้บริหาร ประกอดด้วยนายก อบต. 1 คน และนองนายก อบต. จานวน 2 คน นายก อบต. แต่งตั้ง
เลขานุการนายก อบต. 1 คน คณะผู้บริหารทาหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของตาบลตาม
กฎหมาย และมีอานาจหน้าที่ตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่
การแบ่งส่วนการบริหารราชการ
- สานักปลัด รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของตาบล และราชการที่มิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกอง
หรือหน่วยงานใดใน อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของ อบต. และแบ่ง
หน่วยงานในส่วนราชการเป็น 7 ส่วน คือ งานธุรการ งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย งานแผนงานและ
งบประมาณ งานพัฒนาชุมชน งานประชาสัมพันธ์ งานเกษตร งานนิตการ และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
- ส่วนการคลัง รับผิดชอบเกี่ยวกับการรับ การจ่าย การนาส่งเงิน การเก็บรักษาเงินและเอกสารทางการ
เงิน การตรวจสอบใบสาคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบาเหน็จ บานาญ เงินอื่นๆ งาน
เกี่ยวกับการจัดทางบประมาณ ฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทาบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมเงิน
รายได้และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งานทางบทดลองประจาปี งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ของ
อบต. งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน งานเกี่ยวกับพัสดุของ อบต. และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับ
มอบหมาย
- ส่วนโยธา รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการสารวจ ออกแบบ การจัดทาข้อทางวิศวกรรม การจัดเก็บและ
ทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและงานเขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้าง งานควบคุมอาคารตามระเบียบ
กฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการก่อสร้างและซ่อมบารุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบารุง งานแผนงาน
ด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตามควบคุมการปฏิบัติงาน เครื่องจักรกล การควบคุมการ
บารุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานสถานที่และไฟฟูา งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม เก็บรักษา การ
เบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ามันเชื้อเพลิงและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ส่วนกาศึกษา รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษาในระบบโรงเรียนหรือนอก
ระบบโรงเรียนหรือการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาล ประถมศึกษามัธยมศึกษา โดยให้
มีงานธุรการ งานบริหารการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม งานกีฬาและนันทนาการ งาน
งบประมาณ หน่วยศึกษานิเทศก์ มีโรงเรียนในเขตพื้นที่ 6 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านห้วยยาง โรงเรียนบ้านนาบัว
โรงเรียนบ้านโพนแพง โรงเรียนบ้านดงดิบ โรงเรียนบ้านบะไห จัดการศึกษาภาคบังคับและมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6
ศูนย์ และงานอื่นที่เกี่ยวข้องและได้รับมอบหมาย
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 16
1. สานักงานปลัดรับผิดชอบงาน
1.1 งานบริหารทั่วไป
-งานธุรการ
-งานสารบรรณ
-งานบริหารงานบุคคล
-งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล
-งานตรวจสอบภายใน
1.2 งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
-งานนโยบายและแผน
-งานวิชาการ
-งานข้อมูลและประชาสัมพันธ
-งานงบประมาณ
1.3 งานกฎหมายและคดี
-ฝุายกฎหมายและคดี
-งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ
-งานข้อบัญญัติและระเบียบ
1.4 งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
-งานอานวยการ
-งานปูองกัน
-งานฟื้นฟู
1.5 งานกิจการสภา อบต.
-งานระเบียบข้อบังคับประชุม
-งานการประชุม
-งานอานวยการและประสานงาน
1.6 งานพัฒนาชุมชน
- งานพัฒนาชุมชน
- งานสวัสดิการ
- งานสังคมสงเคราะห์
1.7 งานวิชาการเกษตร
-งานสงเสริมการเกษตร
-งานส่งเสริมอาชีพและงานแสดงสินค้า
2. ส่วนการคลังรับผิดชอบ
2.1 -งานการเงิน
-งานรับเงินเบิกจ่าย
-งานจัดทาฎีกาเบิกจ่ายเงิน
-งานเก็บรักษาเงิน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 17
2.2 งานบัญชี
-งานการบัญชี
-งานทะเบียนการควบคุมเบิกจ่ายเงิน
-งานงบการเงินและงบทดลอง
-งานแสดงฐานะทางการเงิน
2.3 งานพัฒนาจัดเก็บรายได้
-งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียม
-งานพัฒนารายได้
-งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ
-งานทะเบียนควบคุมและเร่งรัดรายได
2.4 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ
-งานทะเบียนและทรัพย์สิน
-งานพัสดุ
-งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ
3. ส่วนโยธารับผิดชอบงาน
3.1 งานก่อสร้าง
-งานก่อสร้างและบูรณะถนน
-งานก่อสร้างสะพาน
-งานข้อมูลก่อสร้าง
3.2 งานออกแบบและควบคุมอาคาร
-งานประเมินราคา
-งานออกแบบและบริการข้อมูล
-งานควบคุมอาคารก่อสร้างอาคาร
3.3 งานประสานสาธารณูปโภค
-งานประสานกิจการประปา
-งานไฟฟูาสาธารณะ
- งานระบายน้า
3.4 งานผังเมือง
-งานสารวจและแผนที่
-งานวางผังพัฒนาเมือง
-งานควบคุมทางผังเมือง
4. ส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมรับผิดชอบงาน
4.1 งานบริหารการศึกษา
-แผนและวิชาการ
-การศึกษาปฐมวัย
-การศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 18
4.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
-ประเพณี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
-กิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชน
-การศึกษานอกระบบและส่งเสริมอาชีพ
-บริหารทั่วไป
ภารกิจและอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล
ภารกิจและอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล จัดแบ่งออกเป็น 7 ด้านดังนี้
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1. การจัดให้มีการบารุงทางน้าและการระบายน้า
2. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
3. การสาธารณูปการ
4. การจัดให้มีการควบคุมตลาดและที่จอดรถ
5. การขนส่งและการวิศวกรรม
6. การควบคุมอาคาร
7. ให้มีน้าสะอาดหรือการประปา
8. ให้มีโรงฆ่าสัตว์
9. ให้มีตลาด
10. ให้มีการบารุงการไฟฟูาหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
2. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
1. ปูองกันและระงับโรคติดต่อ
2. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
3. ส่งเสริมการพัฒนา สตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
4. ส่งเสริมการฝึกและการประกอบอาชีพ
5. การจัดการศึกษา
6. การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
ทางสังคม
7. การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
8. การส่งเสริมการกีฬา
9. การสาธารณสุข การอนามัย และการรักษาพยาบาล
10. ให้มีการบารุงโรงพยาบาล
11. การควบคุมสุขลักษณะและอนามัยให้ร้านจาหน่ายอาหารและสถานบริการอื่น
12. จัดทากิจการจาเป็นเพื่อการสาธารณสุข
13. ให้มีการบารุงสถานที่สาหรับการกีฬาและพลศึกษา
14. ให้มีและบารุงสวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
3. จัดระเบียบชุมชนสังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
2. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 19
3. การปรับปรุงแหล่งชุมชนและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
4. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัย
5. การควบคุมการเลี้ยงสัตว
6. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยสาธารณะอื่น ๆ
7. การดูแลรักษาที่สาธารณะ
8. การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
9. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนปูองกันและรักษาความความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
10. ปรับปรุงแหล่งเสื่อมโทรมและรักษาความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง
4. การวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพานิชยกรรมการท่องเที่ยว ฯลฯ
1. การพาณิชย์และการส่งเสริมการลงทุน
2. การส่งเสริมการท่องเที่ยว
3. บารุงและส่งเสริมการทามาหากินของราษฎร
5. การบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. รักษาความสะอาดถนนหรือที่สาธารณะการกาจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้าเสีย
2. การจัดการ การบารุงรักษา การใช้ประโยชน์จากที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
6. ศาสนาศิลปวัฒนธรรม
1. บารุงศิลป์จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
7. การบริหารจัดการ
1. การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น
2. การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคสิทธิเสรีภาพของประชาชน
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น
4. การผังเมือง
งบประมาณ
ฐานะการเงินปี พ.ศ. 2557
การบริหารรายรับ
รายได้ที่ อบต. ห้วยยางจัดเก็บเอง เป็นเงิน 331,756.95 บาท
รายได้ที่ส่วนราชการต่าง ๆ จัดเก็บให้ เป็นเงิน 11,061,053.92 บาท
เงินอุดหนุนทั่วไป เป็นเงิน 16,011,314.00 บาท
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เป็นเงิน 9,155,881.00 บาท
เงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่น เป็นเงิน 18,500.00 บาท
รายรับของ อบต. ห้วยยางประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เป็นเงิน 36,578,505.87 บาท
ข้อมูลวันที่ 1 ตุลาคม 2556 – 30 มิถุนายน 2557
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 20
ส่วนที่ 3
วิเคราะห์ศักยภาพและการพัฒนาท้องถิ่น
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 21
การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาตาบลห้วยยาง ด้วยเทคนิค SWOT Analysis
จุดแข็ง (Strength) ในพื้นที่ตาบลห้วยยาง มีดังนี้
1. องค์การบริหารส่วนตาบลมีศักยภาพเพียงพอที่รองรับการบริการสาธารณะและแก้ไขปัญหาความ
เดือดร้อนของประชาชน
2. มีการประสานร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตาบลกับส่วนราชการในพื้นที่
3. องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีรายได้เพิ่มขึ้นทุกปีจากการลงทุนด้านเศรษฐกิจของ
ผู้ประกอบการ เงินภาษีและจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
จุดอ่อน (Weakness)
1. ขาดบุคลากรเพื่อจัดการด้านผังเมืองและกาหนดเขตในการก่อสร้าง
2. องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ไม่มีงบประมาณที่เพียงพอในการพัฒนาทรัพยากรของตาบลให้
เป็นแหล่งท่องเที่ยว
โอกาส (Opportunity)
1. จังหวัดอุบลราชธานีสามารถสนับสนุนงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีแผนงาน
โครงการตามแนวทางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
2. มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวก สบายและเหมาะสม สามารถขนส่งสินค้าการเกษตร และ สามารถ
รองรับการขยายตัวของการลงทุนทางเศรษฐกิจ
3. ในระดับหมู่บ้านมีกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง และสามารถดาเนินกิจการของกลุ่ม
4. ตาบลห้วยยางมีพื้นที่สาธารณะจานวนมากเหมาะแก่การพัฒนาเป็นสวนสาธารณะหรือเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยว
5. ประชาชนในเขตตาบลห้วยยาง มีรายได้มากเพิ่มขึ้น จากการจาหน่ายพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา
มันสาปะหลัง ทาให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
6. ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ ตลอดทั้งปี
7. ประชาชนมีคุณภาพ และมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน และ
คุณภาพชีวิต
8. ผู้นาชุมชนสมานสามัคคีไม่มีปัญหาในด้านการร่วมมือกันในการปกครองและบริหารการพัฒนา
9. มีโรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนเอกชน 1 แห่ง
สามารถรองรับการเรียนของเด็กนักเรียนได้อย่างเพียงพอ
10. ประชาชนส่วนใหญ่มีการตื่นตัว และให้ความสนใจในการพัฒนาและต้องการที่จะมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
11. ประชาชนมีความรักในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะการในความสนใจในการ
เลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นระดับท้องถิ่น หรือระดับประเทศ
12. ประชาชนในพื้นที่มีวัฒนธรรมประเพณีอันงดงาม ที่ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์และสืบสานประเพณีให้
คงอยู่สืบไป
13. ตาบลห้วยยาง มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าดงสาละเมิน มีน้าตกมีเสาเฉลียง ป่า
ชุมชนในเขตแต่ละหมู่บ้าน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 22
14. ตาบลห้วยยาง มีการพัฒนาด้านการปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ มันสาปะหลัง ยางพารา ซึ่งสร้าง
รายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ทาให้มีคนต่างถิ่นเข้ามาลงทุนปลูกยางพาราและรับจ้างกรีดยางด้วย
อุปสรรค (Threat)
1. การปกครองท้องถิ่นยังไม่เข้มแข็ง ขาดความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันในการพัฒนาตาบล เช่น ด้าน
การเกษตร, การท่องเที่ยว, การช่วยเหลือสวัสดิการสังคมในพื้นที่ตาบล
2. ภัยธรรมชาติซ้าซาก (ภัยแล้ง, วาตภัย)
3. ภาวะความยากจนและหนี้สินของประชาชนทาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาตกเป็นเหยื่อของ
นายทุน
4. เกษตรกรไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทากิน
6. ประชาชนหรือเกษตรกรส่วนใหญ่มีภาระหนี้สิน
7. ประชาชนในพื้นที่ตาบลห้วยยาง มีรายได้ส่วนใหญ่จากการเกษตรและต้องพึ่งพาธรรมชาติ ซึ่งถือ
เป็นข้อจากัดในการสร้างรายได้อีกประการหนึ่ง
8. ประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรอย่างถูกต้องเหมาะสม คุ้มค่า
9. ประชาชนขาดแหล่งเก็บน้าเพื่อใช้ในการเกษตร
10. ประชาชนเริ่มมีค่านิยมด้านวัตถุนิยมมากขึ้น
11. ชุมชนยังขาดแคลนน้าที่สะอาด (ระบบประปาหมู่บ้าน) เพื่อการอุปโภคและบริโภค
12. เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีด้านการเกษตรด้านการผลิต
ขาดอาชีพเสริม และบางพื้นที่ขาดกรรมสิทธิ์ในที่ดินทากิน
13. การขาดการบูรณาการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
14. ขาดการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
15. ขาดตลาดในการรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรในราคาอย่างเป็นธรรม
16. ประชาชนมีการบุกรุกป่าไม้ เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ
บุคลากร
องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีบุคลากร ดังนี้
คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
1. นายคาแดง เกษชาติ นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
2. นางแดง ทองคา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล
3. นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล
4. นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตาบล
สภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
1. นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต.
2. นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต.
3. นายแสงทอง ส่องแสง เลขานุการสภา อบต.
4. นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1
5. นายขันอษา พิมพ์วงษ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
6. นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 23
7. นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
8. นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3
9. นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4
10. นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
11. นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5
12. นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6
13. นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
14. นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7
15. นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
16. นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8
17. นายประวิท แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
18. นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
19. นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
20. นางคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10
21. นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
22. นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11
พนักงานส่วนตาบล พนักงานจ้างตามภารกิจ และลูกจ้าง องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
1. จ่าเอกยุติธรรม ซิงค์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล
2. จ่าเอกหาญชัย ลาวัลย์ รองปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล
3. จ่าเอกบรรจง ปะตะสังค์ หัวหน้าสานักปลัด
4. นางสาวปรารถนา ทาทอง หัวหน้าส่วนการคลัง
5. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน์ หัวหน้าส่วนโยธา
6. สิบเอกกล้าหาญ จวงจันทร์ นักวิชาการศึกษา
7. จ่าเอกเชี่ยวชาญ จวงจันทร์ บุคลากร
8. จ่าเอกชาติชาย จวงจันทร์ เจ้าพนักงานธุรการ
9. นางสาวอุษณีย์ คะบุตร นักพัฒนาชุมชน
10. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายช่างโยธา
11. จ่าเอกธีระพงษ์ บุตรวัน เจ้าพนักงานธุรการ
12. นางณัฐชญาณีย์ สิริวรรณะกูล ครูผู้ดูแลเด็ก
13. นางสาวปัทมาศ พิสิษธนะกร ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
14. นางสาวศุภลักษณ์ วงศ์ชมพู ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์
15. นางสาวลักษณารีย์ นาโพธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ
16. นายอรรณพ สีทาคูณ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร
17. นางสาวภัสนันต์ ร่มโพธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้
18. นางแสนสุข ละมูล ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี
19. นางสาวปริศนา สวัสดิพงษ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ
20. นายภุชพงษ์ สืบสิงห์ ผู้ช่วยช่างโยธา
21. นางสรัญญา ลาวัลย์ ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 24
22. นางวิภาพร ยืนยง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก
23. นางสาววันทะนา คามั่น ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก
24. นางสาวอุษา เพ็ญพักตร์ ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก
25. นางสาวภัสสร วงศ์ชมพู คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข)
26. นายวีระพงษ์ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานด้านการป้องกันฯ)
27. นายเอกดนัย คาศรี คนงานทั่วไป
28. นายเทียนชัย คามั่น พนักงานขับรถยนต์
29. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง
30. นางสาวทองวรรณ์ ปัดชาราช ผู้ดูแลเด็ก
31. นางสาวอรวรรณ สีแสด ผู้ดูแลเด็ก
32. นางบุญฮู้ นาคทอง จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน)
33. นายวีระศักดิ์ พลที จ้างเหมาบริการ (ช่างไฟฟ้า)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 25
ส่วนที่ 4
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 26
วิสัยทัศน์
“ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนเข้มแข็ง เป็นประตูการค้าการท่องเทียว
การเกษตรมีศักยภาพ มีการพัฒนาอย่างสมดุล ยั่งยืน ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
พันธกิจ
1. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่ได้มาตรฐานบริการประชาชน
2. ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพแก่ประชาชน
3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในระดับท้องถิ่น
4. ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง
5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการป้องกัน การดูแล และการรักษาสุขภาพแก่ประชาชน
6. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักสิทธิ หน้าที่ ตามกฎหมาย ในระบอบประชาธิปไตย
7. ส่งเสริมและบูรณาการระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
8. ส่งเสริมระบบการตรวจสอบการทางานภาครัฐโดยภาคประชาชน
9. ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการทางานของทุกภาคส่วน
10. ส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น
11. บริหารจัดการการท่องเที่ยวของจังหวัด
12. ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและการพาณิชยกรรม
13. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
14. จัดให้มีระบบบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะ
15. อนุรักษ์ฟื้นฟู และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา
1. ระบบโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพียงพอต่อความต้องการของประชาขน
2. ประชาชนมีความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานภูมิปัญญาสมัยใหม่
3. โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐานและสอดคล้อง
กับบริบทวิถีชีวิตของท้องถิ่น
4. ครอบครัวอบอุ่นชุมชนเข้มแข็ง
5. ประชาชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและการป้องกันโรคอย่างเป็นระบบ
6. ประชาชนมีความรู้ปรัชญาอุดมการณ์ สิทธิและหน้าที่ของตนเองในระบอบประชาธิปไตย
7. ศูนย์ประสานงานและบูรณาการข้อมูล ทรัพยากร ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
8. ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและกระบวนการเรียนรู้ขององค์กรภาคประชาชน
9. ระบบการทางานที่สนับสนุนซึ่งกันและกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
10. ชุมชนมีกระบวนการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นทุกระดับชั้น
11. ศูนย์บูรณาการข้อมูลการท่องเที่ยวที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
12. อุตสาหกรรมขนาดเล็ก กลุ่มอาชีพ ได้รับการส่งเสริมแบบครบวงจร (ความรู้ การผลิต การบริหาร
การตลาด) ในการกาหนดทิศทางการจัดการทุกขั้นตอน
13. ประชาชนมีองค์ความรู้ในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในการเข้ามามี
ส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการจัดการทุกขั้นตอน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 27
14. ความเป็นระบบของข้อมูลพื้นที่เป็นสาธารณะ ผู้รับผิดชอบ และการใช้สอยร่วมกันของประชาชน
15. มีการจัดระบบการเรียนรู้ เผยแพร่ สืบทอด และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาตาบล
วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ภายใต้แผน ยุทธศาสตร์
การพัฒนา (พ.ศ. 2558 - 2560) มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาท้องถิ่นคือ “พัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบล
ห้วยยาง ให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควบคู่ธรรมาภิบาล เน้นสวัสดิการคุณภาพชีวิต และภารกิจจัด
การศึกษา พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
พันธกิจการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
1. พัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพื้นฐาน
2. พัฒนาแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร
3. อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. ส่งเสริม และพัฒนาการศึกษา
5. บารุงศาสนา อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
6. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมพัฒนาการบริหารและการท่องเที่ยว
7. สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
8. จัดสวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์
9. ส่งเสริมให้มีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
10. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. ระบบโครงสร้างพื้นฐานเส้นทางการคมนาคมที่สะดวก สาธารณูปโภค สาธารณูปการเพียงพอและ
ทั่วถึง
2. ประชาชนมีแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และเพื่อการเกษตรที่เพียงพอ
3. ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ สิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่เป็นมลพิษ
4. ประชาชนมีโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต
5. วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสืบทอด
6. ประชาชนมีการประกอบอาชีพและมีรายได้เพียงพอ สามารถพึ่งตนเองได้
7. สถานที่ท่องเที่ยวได้รับการพัฒนาให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย รองรับ ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้มาก
8. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ชุมชนสงบสุข ปราศจากอบายมุขและสิ่งเสพติด
9. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสได้รับสวัสดิการสังคมที่ดี
10. การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทันสมัย
และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์

More Related Content

What's hot

ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยpentanino
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003vipmcu
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...พัฒนาชุมชน นครราชสีมา
 
Libcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationLibcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationMaykin Likitboonyalit
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
Thailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictThailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictTeeranan
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติplaplaruzzi
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPanuchanat
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)Kanjana thong
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันlovemos
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 

What's hot (19)

ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลย
 
Regulations2003
Regulations2003Regulations2003
Regulations2003
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
 
Libcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationLibcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local information
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
Thailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictThailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflict
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์

สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ FURD_RSU
 
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสาร
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสารคำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสาร
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางองค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...Be SK
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์ (8)

แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปีแผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปี
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสาร
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสารคำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสาร
คำสั่งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดการติดต่อขอข้อมูลข่าวสาร
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง

รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง (11)

ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงานรายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน
 

แผนยุทธศาสตร์

  • 1. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) “พัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควบคู่ธรรมาภิบาล เน้นสวัสดิการคุณภาพชีวิต และภารกิจจัดการศึกษา พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี งานวิเคราะห์นโยบายและแผน สานักปลัด โทร 045 – 848214 www.hyk.go.th
  • 2. คานา บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น และการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้การพัฒนาการ กระจายอานาจเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และสามารถแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการดาเนินงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระในการกาหนดนโยบายการปกครองการบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และ ให้มีอานาจหน้าที่ของตนเองโดยเฉพาะ กาหนดอานาจหน้าที่ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยคานึงถึงการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นและจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นด้วยกัน ซึ่งได้กาหนดให้แต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเป็น แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาต่อไป โดยระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์การบริหารส่วนตาบล ซึ่งเป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นเพื่อเป็นการกาหนดทิศทางในการ พัฒนาของแต่ละท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ และศักยภาพของแต่ละท้องถิ่น รวมทั้ง เป็นการสอดประสานสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ตลอดจนนโยบายที่สาคัญของรัฐบาล ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง จึงได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนธาตุฉบับนี้ขึ้นมา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป นายคาแดง เกษชาติ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
  • 3. สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 บทนา 1 ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน 3 ส่วนที่ 3 วิเคราะห์ศักยภาพและการพัฒนาท้องถิ่น 20 ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด 25 ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา 30 ส่วนที 6 การติดตามและประเมินผลการนาแผนพัฒนาสามปีไปปฏิบัติ 34 ภาคผนวก 37
  • 5. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 2 บทนำ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 และมาตรา 17 บัญญัติให้เทศบาลองค์การบริหารส่วนตาบลและการปกครองส่วนท้องถิ่น รูปพิเศษมีอานาจหน้าที่ในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง โดยมีองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็น หน่วยงานประสานการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนดอีกด้วย เนื่องจากการวางแผนในระยะสั้นและระยะยาวเกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบาย การปกครอง การ บริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และการปฏิบัติตามอานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาหนด องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ย่อมมีความเป็นอิสระในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น และการดาเนินการตามแผน คามเป็น อิสระนั้น ไม่ได้หมายถึง ความเป็นอิสระในการจัดบริการสาธารณะบางส่วนให้และยังต้องอยู่ในการกากับดูแล หรือตรวจสอบโดยรัฐบาลและประชาคมอีกด้วย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่กาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่ง แสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคตโดยสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอาเภอ และนโยบายในการพัฒนาท้องถิ่น การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเป็นกระบวนการกาหนดทิศทาง ในอนาคตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกาหนดสภาพการณ์ที่ต้องการบรรลุและแนวทางในการบรรลุ บนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ ทั้งนี้จะต้องสอดคล้องกับ ศักยภาพของท้องถิ่นและปัญหาความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นด้วย การวางแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา มีความสาคัญต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้ เนื่องจาก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นแผนที่มุ่งสู่สภาพการณ์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคตเป็นกรอบใน การกาหนดทิศทาง การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์ อันพึงประสงค์ ได้อย่างเท่ากันกับการเปลี่ยนแปลงโดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ต้องกาหนดถึงสภาพการณ์ที่ต้องบรรลุ และแนวทางในการที่จะทาให้บรรลุถึง สภาพการณ์นั้น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ดีจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของการรวบรวมและการวิเคราะห์ ข้อมูล อย่างรอบด้านและเป็นระบบ ทั้งนี้ เพื่อให้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถนาไปสู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง
  • 6. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 3 ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไป และข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง
  • 7. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 4 สภาพทั่วไป ลักษณะที่ตั้ง / อาณาเขตและเขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ในพื้นที่อาเภโขง เจียม จังหวัดอุบลราชธานี เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาตาบลห้วยยาง เป็นองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีพื้นที่ 140 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 87,500 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่การปกครอง จานวน 11 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 2 บ้านหนองฮี หมู่ที่ 3 บ้านนาบัว หมู่ที่ 4 บ้านโพนแพง หมู่ที่ 5 บ้านดงดิบ หมู่ที่ 6 บ้านดงแถบ หมู่ที่ 7 บ้านบะไห หมู่ที่ 8 บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 9 บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่10 บ้านดงแถบ หมู่ที่11 บ้านนาดอนใหญ่ เขตการปกครอง / อาณาเขต ได้กาหนดการวางผังการปกครองให้สอดคล้องกับสภาพการขยายตัวของ ชุมชน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ และตาบลนาโพธิ์กลาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ และตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลคาไหล ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังวัด อุบลราชธานี ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเป็นดินร่วน ปนทรายมีปุาไม้ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีลาห้วยไหลผ่านที่สาคัญคือ ลาห้วยยาง ห้วยเรือ ห้วยบัว ร่องดุน ร่องหินลับ ร่องหนองฮี ร่องโปุงเชือก ร่องแขนหัก ร่องห้วยหมาก ร่องดงดิบ ร่องหินลาด ห้วยหนองผือ ร่องขุม ห้วยช่อง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว
  • 8. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 5 โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม / ขนส่ง มีถนนเส้นทางหลวงจังหวัด หมายเลข อบ. 1031 เดินทางออกจากตัวอาเภอโขงเจียม ตาม เส้นทาง 2134 แล้วแยกไปตามเส้นทาง 2222 ถึงบ้านหนองฆ้อง ตาบลห้วยไผ่ แล้วเลี้ยวซ้ายตามเส้นทาง ของโยธาธิการประมาณ 7 กิโลเมตรสามารถเดินทางได้ดังนี้ - โดยทางรถยนต์โดยสารประจาทางในเขตจังหวัด - โดยทางรถยนต์โดยสารประจาทางระหว่างจังหวัด การคมนาคมติดต่อกับอาเภอข้างเคียง ดังนี้ - ติดต่อกับ ตาบลหนามแท่ง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง - ติดต่อกับ ตาบลนาโพธิ์กลาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง - ติดต่อกับ ตาบลห้วยไผ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทางจังหวัด หมายเลข 2112 - ติดต่อกับ ตาบลหนองแสงใหญ่ อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง - ติดต่อกับ ตาบลคาไหล อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เส้นทาง การจราจร - ถนนลูกรัง 70 สาย - ถนนลาดยาง 3 สาย - ถนนคอนกรีต 45 สาย - สะพานคอนกรีต 6 แห่ง - สะพานไม้ 4 แห่ง - แม่น้าไหลผ่าน 15 สาย - ห้วย / หนอง / คลอง / บึง 11 แห่ง / สาย - คลองชลประทาน 4 แห่ง - บ่อบาดาลสาธารณะ 70 แห่ง ระบบสาธารณูปโภค การประปา จานวนหมู่บ้านในเขตตาบลห้วยยาง มีระบบน้าประปาใช้ครบทุกหมู่บ้าน ไฟฟูา ไฟฟูาที่ผลิตโดยการไฟฟูานครหลวง หรือการไฟฟูาส่วนภูมิภาคคิดเป็นร้อยละ 80 ครัวเรือนการสื่อสาร และโทรคมนา -มีสัญญาโทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์สาธารณะ และโทรศัพท์บ้านพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเที่ยว 3 แห่ง คือ น้าตกถ้าพวง น้าตกกลูจอ น้าตกแสนเมือง และน้าตกถ้าพวง เป็นน้าตกซึ่ง ไหลลงลาห้วยเรือ อยู่ที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9 เป็นเขตปุาสงวนดงภูหล่น และบริเวณระหว่างน้าตกถ้าพวงถึงน้าตก กลูจอ และน้าตกแสนเมือง มีกลุ่มเสาหินเฉลียงตั้งซ้อนกันหลายแห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านนาบัวหมู่ที่ 3 สถานที่ ท่องเที่ยว 3 แห่ง อยู่ห่างจากอาเภอโขงเจียม ประมาณ 27 กิโลเมตร ปุาในเขตดงภูหล่น มีความอุดมสมบูรณ์ มี ต้นไม้ขนาดใหญ่ สัตว์ สมุนไพร และของปุานานาชนิดเหมาะสาหรับการศึกษาธรรมชาติในช่วงเดือนมิถุนายน - เดือนสิงหาคม จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชม และมีการเดินปุา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ปี ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ - ปุาไม้ ทรัพยากรปุาไม้ยังมีความอุดมสมบูรณ์ สภาพพื้นที่อยู่ในเขตปุาสงวนแห่งชาติดงภูโหล่น - ดิน มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายค่อนข้างขาดความอุดมสมบูรณ์
  • 9. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 6 ประชากร มีจานวนประชากร 8,341 คน แยกเป็น เพศหญิง 4,060 คน เพศชาย 4,281 คน มีจานวนครัวเรือน 1,993 ครัวเรือน ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากร 59.58 คนต่อตาราง กิโลเมตร ตารางแสดงข้อมูลจานวนประชากรของตาบลห้วยยาง มีดังนี้ หมูที่ ชื่อบ้าน ประชากร จานวน ครัวเรือนชาย (คน) หญิง (คน) รวม(คน) 1 ห้วยยาง 604 549 1,153 247 2 หนองฮี 419 397 816 193 3 นาบัว 338 326 664 162 4 โพนแพง 531 517 1.048 223 5 ดงดิบ 534 496 1,030 245 6 ดงแถบ 373 363 736 209 7 บะไห 534 460 994 257 8 เหล่าเจริญ 118 175 363 84 9 นาบัวใต้ 290 265 555 131 10 ดงแถบ 305 336 641 157 11 นาดอนใหญ่ 165 176 341 85 รวม 4,281 4,060 8,341 1,993 *ข้อมูลของวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2556 - ผู้สูงอายุ 792 คน - ผู้พิการ 221 คน - ผู้ปุวยโรคเอดส์ 5 คน สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจของประชากรในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพ ทานา ทาไร่ และรับจ้างตามฤดูกาล หน่วยธุรกิจและการบริการ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีดังนี้ 1. ปั๊มน้ามัน ชนิดมือหมุน 18 แห่ง 2. ปั๊มน้ามัน ชนิดเติมด้วยเครื่อง 3 แห่ง 3. ร้านค้า 63 แห่ง 4. โรงสี 15 แห่ง 5. ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์ 8 แห่ง
  • 10. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 7 ผลผลิตพื้นเมืองที่สาคัญของท้องถิ่น มีดังนี้ 1. ผลผลิตจากต้นกก ได้แก่ กระติบข้าว ผลิตที่บ้านดงดิบ หมูที่ 5 2. ผลผลิตจากฝูาย ได้แก่ ทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 และบ้านนาบัว หมู่ ที่ 3 4. ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร ได้แก่ หน่อไม้ดองบรรจุปี๊บ ผลิตที่บ้านนาบัวใต้ หมู่ 9 5. ผลิตผลจากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 6. ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ได้แก่ โคมไฟ ผลิตที่บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 สภาพสังคม การศึกษา มีโรงเรียนอยู่ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยาง จานวน 7 แห่ง โรงเรียนที่ทาการสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ประถมศึกษา จานวน 4 โรงเรียน โรงเรียนที่สอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น (ขยายโอกาสทางการศึกษา) จานวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนเอกชนจานวน 1 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรียนบ้านห้วยยาง (โรงเรียนขยายโอกาส) 2. โรงเรียนบ้านนาบัว (โรงเรียนขยายโอกาส) 3.โรงเรียนบ้านโพนแพง 4.โรงเรียนบ้านดงดิบ 5. โรงเรียนบ้านดงแถบ 6. โรงเรียนบ้านบะไห 7. โรงเรียนศรีแสงธรรม (โรงเรียนเอกชน) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยางจานวน 6 แห่ง รวม 242 คน ดังนี้ 1. ศูนย์พัฒนาเดเล็กบ้านหนองฮี จานวน 83 คน 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาบัว จานวน 44 คน 3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโพนแพง จานวน 22 คน 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดงดิบ จานวน 36 คน 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบะไห จานวน 23 คน การศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณีวัฒนธรรม พื้นบ้านที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ในการทาบุญประเพณีในวันสาคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาลประเพณีต่างๆ เป็นประจาปี โดยมีศาสนาและสานักสงฆ์ ดังนี้ 1. วัดบรมคงคา ตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านห้วยยาง หมู่ที่ 1 2. สานักสงฆ์หนองฮี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านหนองฮี หมู่ที่ 2 3. วัดสว่างสมดี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านนาบัว หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 9 4. วัดสุขสาราญ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านโพนแพง หมู่ที่ 4 5. วัดปุาดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5 6. วัดปุาศรีแสงธรรม ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงดิบ หมู่ที่ 5 7. วัดบ้านดงแถบ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6
  • 11. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 8 8. สานักสงฆ์ภูจันแดง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านดงแถบ หมู่ที่ 6 9. วัดบ้านบะไห ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านบะไห หมู่ที่ 7 10. วัดปุาสว่างดงเย็น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านเหล่าเจริญ หมู่ที่ 8 11. สานักสงฆ์ห้วยเรือ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9 12. สานักสงฆ์ภูหินกอง ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ บ้านนาบัวใต้ หมู่ที่ 9 การสาธารณสุข การให้บริการด้านการสาธารณสุขมีศูนย์สุขภาพชุมชน จานวน 1 แห่ง ที่ประชาชนในพื้นที่ตาบลห้วย ยางได้เข้ารับบริการด้านการรักษา คือ ศูนย์สุขภาพชุมชน (โรงพยาบาลส่งเสริมตาบล) บ้านนาบัวตั้งอยู่ในเขต พื้นที่บ้านนาบัว หมู่ที่3 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ในเขตพื้นที่ตาบลห้วยยางไม่มีสถานีตารวจ - มีศูนย์อปพร.ตาบลห้วยยาง จานวน 1 แห่ง สมาชิก อปพร.จานวน 120 นาย ป่าชุมชน ตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วย - ปุาชุมชน ปุาดงสาละเมิน มีเนื้อที่ประมาณ 2,600 ไร่ - ปุาชุมชน ดอนชาติน้อย ดอนชาติใหญ่ บ้านนาบัว มีเนื้อที่ประมาณ 150 ไร่ - ปุาชุมชนบ้านโพนแพง มีเนื้อที่ประมาณ 40 ไร่ - ปุาชุมชนบ้านบะไห มีเนื้อที่ประมาณ 70 ไร่ - ปุาชุมชนบ้านนาดอนใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 80 ไร่ - ปุาชุมชนบ้านดงดิบ มีเนื้อที่ประมาณ 500 ไร่ - ปุาชุมชน บ้านนาบัวใต้ มีเนื้อที่ประมาณ 100 ไร่ ปัญหาป่าชุมชนและการบริหารจัดการ - การบุกรุกปุาชุมชน เช่น กรณีบุกรุกปุาชุมชนดงสาละเมิน โดยมีนายทุนและชาวบ้านเข้าบุกรุกพื้นที่ปุา เพื่อทาไร่ ทาสวนยางพาราและไร่มันสาปะหลัง ซึ่งทางคณะกรรมการ ทสม. ได้แจ้งเรื่องถึงกรรมาธิการวุฒิสภา เข้ามาตรวจสอบร่วมกับ หน่วยงานทางจังหวัดอุบลราชธานี ให้ดาเนินการอย่างจริงจัง - การตัดไม้ทาลายปุา - ปัญหาไฟปุา - การลักลอบ ค้าขายพืช สมุนไพรปุา เช่น สมุนไพรนางแส่ง ปลาไหลเผือก เจตพังคี เสลด พังพอน กล้วยไม้ปุา และสัตว์ปุาบางชนิด - การจัดการร่วม ระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ กับภาคประชาชน การบริหารจัดการ หน่วยงานภาครัฐ หน่วยรักษาปุาไม้ อบ.6 ศูนย์วนวัฒนะวิจัยโขงเจียม ศูนย์ปูองกันไฟปุาโขง เจียม องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน คณะกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสม.) คณะกรรมการปุา ชุมชน กลุ่มคนหัวใจสีเขียว ตาบลห้วยยาง อาสาสมัครปูองกันไฟปุาชุมชน
  • 12. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 9 ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตาบล โครงสร้างและอานาจหน้าที่ องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง เป็นราชการส่วนท้องถิ่น มีฐานะเป็นนิติบุคคลมีโครงสร้างการ บริหารงาน โดยแยกเป็น นายกองค์การบริหารส่วนตาบล และสภาองค์การบริหารส่วนตาบล - บุคลากรของฝุายบริหารและสมาชิก อบต. จานวน 28 คน ประกอบด้วย - ฝุายบริหารอบต. จานวน 4 คน - ฝุายสมาชิก อบต. จานวน 22 คน ตารางแสดง จานวนบุคลากรฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง 1 นายคาแดง เกษชาติ นายก อบต. 2 นางแดง ทองคา รองนายก อบต. 3 นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายก อบต. 4 นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานายก อบต. ตารางแสดง จานวนบุคลากร ในฝ่ายสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย ลาดับที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง 1 นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต. 2 นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต. 3 นายแสงทอง ส่องแสง เลขานุการสภา อบต. 4 นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1 5 นายขันอาษา จันทร์สุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2 6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2 7 นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 8 นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 9 นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4 10 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 11 นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 12 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6 13 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 14 นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 15 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 16 นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 17 นายประวิทย์ แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9
  • 13. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 10 18 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9 19 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 20 นายคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 21 นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11 22 นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11 ตารางแสดง จานวนกานัน ผู้ใหญ่บ้านที่ปกครองในตาบลห้วยยาง ประกอบด้วย หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ –สกุล ตาแหน่ง 1 บ้านห้วยยาง นายอนันต์ จันทร์สุข ผู้ใหญ่บ้าน 2 บ้านหนองฮี นายทรงวิทย์ คามั่น กานันตาบลห้วยยาง 3 บ้านนาบัว นายสุดใจ ไชโย ผู้ใหญ่บ้าน 4 บ้านโพนแพง นายประพันธ์ วงศ์จันทร์ ” 5 บ้านดงดิบ นายรัศมี ศรีชุม ” 6 บ้านดงแถบ นายอดิษฐ์ บัวงาม ” 7 บ้านบะไห นายทองจันทร์ สังข์ทองทัศ ” 8 บ้านเหล่าเจริญ นายสมเกียรติ จันทร์สุข ” 9 บ้านนาบัวใต้ นายประพิน เกษชาติ ” 10 บ้านดงแถบ นายเกษม พันธ์อินทร์ ” 11 บ้านนาดอนใหญ่ นายสูตัน มั่นธรรม ” การบริหารงานบุคคล จานวนบุคลากร พนักงานส่วนตาบลขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง และพนักงานจ้าง แบ่งส่วนราชการ 4 ส่วนดังนี้ ตาแหน่งในสานักปลัด อบต. ห้วยยาง มีจานวน 16 ตาแหน่ง ปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง รองปลัด อบต. 1 ตาแหน่ง นักบริหารงานทั่วไป(หัวหน้าสานักปลัด) 1 ตาแหน่ง นักพัฒนาชุมชน 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง บุคลากร 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน - ตาแหน่งว่าง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง
  • 14. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 11 ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร 1 ตาแหน่ง พนักงานจ้างทั่วไป 1 ตาแหน่ง พนักงานจ้างทั่วไป (งานด้านสาธารณสุข) 1 ตาแหน่ง พนักงานขับรถยนต์ (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง นักการภารโรง (พนักงานจ้างทั่วไป) 1 ตาแหน่ง พนักงานจ้างทั่วไป (งานด้านปูองกันฯ) 1 ตาแหน่ง จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน) 1 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนการคลัง มีจานวน 4 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนการคลัง 1 ตาแหน่งว่าง นักวิชาการเงินและบัญชี - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่พัสดุ - ตาแหน่งว่าง เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ - ตาแหน่งว่าง ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี (พนักงานจ้างตามภรกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนโยธา มีจานวน 3 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนโยธา 1 ตาแหน่ง ช่างโยธา 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยช่างโยธา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ตาแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจานวน 11 ตาแหน่ง หัวหน้าส่วนการศึกษา - ตาแหน่งว่าง นักวิชาการศึกษา 1 ตาแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ 1 ตาแหน่ง ครูผู้ดูแลเด็ก 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 1 ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก (พนักงานจ้างตามภารกิจ) 5 ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก 2 ตาแหน่ง เครื่องมือ เครื่องใช้ และครุภัณฑ์สานักงาน ครุภัณฑ์สานักงาน 1. เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 2 เครื่อง 2. เครื่องพิมพ์ดีด จานวน 1 เครื่อง 3. ตู้เก็บเอกสาร จานวน 17 ตู้
  • 15. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 12 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ จานวน 8 เครื่อง 2. คอมพิวเตอร์ (โครงการอินเตอร์เน็ตตาบล) จานวน 1 เครื่อง ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 1. ตู้เย็น จานวน 2 หลัง 2. กระติกน้าร้อน จานวน 1 ใบ 3. เครื่องตัดหญ้า จานวน 1 เครื่อง ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หรือการแพทย์ เครื่องพ่นหมอกควัน จานวน 3 เครื่อง ครุภัณฑ์สารวจ 1. กล้องระดับ จานวน 1 ตัว 2. ไม้สต๊าฟ จานวน 1 ชุด ครุภัณฑ์โฆษณา และเผยแพร่ เครื่องขยายเสียง จานวน 1 ชุด
  • 16. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 13 โครงสร้างการบริหารส่วนตาบล ฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติ โครงสร้างการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง นายก อบต. รองนายก รองนายก เลขานุการ คณะผู้บริหารบริหาร ประธานสภา อบต. รองประธานสภา ฯ เลขานุการ สภา ฯ สมาชิกสภา อบต. อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต. สมาชิกสภา อบต.
  • 17. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 14 สานักงานปลัด (นักบริหารงานทั่วไป6) -งานบริหารทั่วไป -นโยบายและแผน -กฎหมายและคดี -ฝุายปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย -งานกิจการสภาอบต. -งานพัฒนาชุมชน -งานวิชาการเกษตร ส่วนการคลัง (นักบริหารงานคลัง6) -งานการเงิน -งานบัญชี -งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ -ฝุายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตาบล ปลัดอบต. (นักบริหารงานอบต.8) ส่วนโยธา (นักบริหารงานช่าง6) -งานก่อสร้าง -ออกแบบและควบคุมอาคาร -งานประสานสาธารณูปโภค -ฝุายผังเมือง ส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (นักบริหารการศึกษา6) -งานบริหารการศึกษา -งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม รองปลัดอบต. (นักบริหารงานอบต.6)
  • 18. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 15 อานาจหน้าที่ในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง สภาตาบล ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชน จานวน 22 คน อยู่ใน ตาแหน่งคราวละ 4 ปี มีประธานสภาตาบล และรองประธานสภาตาบล 1 คน แต่งตั้งจากสมาชิกสภาตาบล โดยผู้ว่าราชการจังหวัดตามมติสภาตาบล คณะผู้บริหาร ประกอดด้วยนายก อบต. 1 คน และนองนายก อบต. จานวน 2 คน นายก อบต. แต่งตั้ง เลขานุการนายก อบต. 1 คน คณะผู้บริหารทาหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของตาบลตาม กฎหมาย และมีอานาจหน้าที่ตามบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่ การแบ่งส่วนการบริหารราชการ - สานักปลัด รับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของตาบล และราชการที่มิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกอง หรือหน่วยงานใดใน อบต. ให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของ อบต. และแบ่ง หน่วยงานในส่วนราชการเป็น 7 ส่วน คือ งานธุรการ งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย งานแผนงานและ งบประมาณ งานพัฒนาชุมชน งานประชาสัมพันธ์ งานเกษตร งานนิตการ และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย - ส่วนการคลัง รับผิดชอบเกี่ยวกับการรับ การจ่าย การนาส่งเงิน การเก็บรักษาเงินและเอกสารทางการ เงิน การตรวจสอบใบสาคัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบาเหน็จ บานาญ เงินอื่นๆ งาน เกี่ยวกับการจัดทางบประมาณ ฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆ การจัดทาบัญชีทุกประเภททะเบียนคุมเงิน รายได้และรายจ่ายต่างๆ การควบคุมการเบิกจ่าย งานทางบทดลองประจาปี งานจัดเก็บและพัฒนารายได้ของ อบต. งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน งานเกี่ยวกับพัสดุของ อบต. และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับ มอบหมาย - ส่วนโยธา รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการสารวจ ออกแบบ การจัดทาข้อทางวิศวกรรม การจัดเก็บและ ทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและงานเขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้าง งานควบคุมอาคารตามระเบียบ กฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงานการก่อสร้างและซ่อมบารุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบารุง งานแผนงาน ด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตามควบคุมการปฏิบัติงาน เครื่องจักรกล การควบคุมการ บารุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานสถานที่และไฟฟูา งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม เก็บรักษา การ เบิกจ่ายวัสดุ อุปกรณ์ อะไหล่ น้ามันเชื้อเพลิงและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - ส่วนกาศึกษา รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาและพัฒนาการศึกษาในระบบโรงเรียนหรือนอก ระบบโรงเรียนหรือการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การจัดการศึกษาปฐมวัย อนุบาล ประถมศึกษามัธยมศึกษา โดยให้ มีงานธุรการ งานบริหารการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม งานกีฬาและนันทนาการ งาน งบประมาณ หน่วยศึกษานิเทศก์ มีโรงเรียนในเขตพื้นที่ 6 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านห้วยยาง โรงเรียนบ้านนาบัว โรงเรียนบ้านโพนแพง โรงเรียนบ้านดงดิบ โรงเรียนบ้านบะไห จัดการศึกษาภาคบังคับและมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6 ศูนย์ และงานอื่นที่เกี่ยวข้องและได้รับมอบหมาย
  • 19. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 16 1. สานักงานปลัดรับผิดชอบงาน 1.1 งานบริหารทั่วไป -งานธุรการ -งานสารบรรณ -งานบริหารงานบุคคล -งานเลือกตั้งและทะเบียนข้อมูล -งานตรวจสอบภายใน 1.2 งานวิเคราะห์นโยบายและแผน -งานนโยบายและแผน -งานวิชาการ -งานข้อมูลและประชาสัมพันธ -งานงบประมาณ 1.3 งานกฎหมายและคดี -ฝุายกฎหมายและคดี -งานร้องเรียนร้องทุกข์และอุทธรณ -งานข้อบัญญัติและระเบียบ 1.4 งานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย -งานอานวยการ -งานปูองกัน -งานฟื้นฟู 1.5 งานกิจการสภา อบต. -งานระเบียบข้อบังคับประชุม -งานการประชุม -งานอานวยการและประสานงาน 1.6 งานพัฒนาชุมชน - งานพัฒนาชุมชน - งานสวัสดิการ - งานสังคมสงเคราะห์ 1.7 งานวิชาการเกษตร -งานสงเสริมการเกษตร -งานส่งเสริมอาชีพและงานแสดงสินค้า 2. ส่วนการคลังรับผิดชอบ 2.1 -งานการเงิน -งานรับเงินเบิกจ่าย -งานจัดทาฎีกาเบิกจ่ายเงิน -งานเก็บรักษาเงิน
  • 20. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 17 2.2 งานบัญชี -งานการบัญชี -งานทะเบียนการควบคุมเบิกจ่ายเงิน -งานงบการเงินและงบทดลอง -งานแสดงฐานะทางการเงิน 2.3 งานพัฒนาจัดเก็บรายได้ -งานภาษีอากร ค่าธรรมเนียม -งานพัฒนารายได้ -งานควบคุมกิจการค้าและค่าปรับ -งานทะเบียนควบคุมและเร่งรัดรายได 2.4 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ -งานทะเบียนและทรัพย์สิน -งานพัสดุ -งานทะเบียนเบิกจ่ายวัสดุครุภัณฑ 3. ส่วนโยธารับผิดชอบงาน 3.1 งานก่อสร้าง -งานก่อสร้างและบูรณะถนน -งานก่อสร้างสะพาน -งานข้อมูลก่อสร้าง 3.2 งานออกแบบและควบคุมอาคาร -งานประเมินราคา -งานออกแบบและบริการข้อมูล -งานควบคุมอาคารก่อสร้างอาคาร 3.3 งานประสานสาธารณูปโภค -งานประสานกิจการประปา -งานไฟฟูาสาธารณะ - งานระบายน้า 3.4 งานผังเมือง -งานสารวจและแผนที่ -งานวางผังพัฒนาเมือง -งานควบคุมทางผังเมือง 4. ส่วนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมรับผิดชอบงาน 4.1 งานบริหารการศึกษา -แผนและวิชาการ -การศึกษาปฐมวัย -การศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 21. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 18 4.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม -ประเพณี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม -กิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชน -การศึกษานอกระบบและส่งเสริมอาชีพ -บริหารทั่วไป ภารกิจและอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล ภารกิจและอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบล จัดแบ่งออกเป็น 7 ด้านดังนี้ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1. การจัดให้มีการบารุงทางน้าและการระบายน้า 2. การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ 3. การสาธารณูปการ 4. การจัดให้มีการควบคุมตลาดและที่จอดรถ 5. การขนส่งและการวิศวกรรม 6. การควบคุมอาคาร 7. ให้มีน้าสะอาดหรือการประปา 8. ให้มีโรงฆ่าสัตว์ 9. ให้มีตลาด 10. ให้มีการบารุงการไฟฟูาหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น 2. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 1. ปูองกันและระงับโรคติดต่อ 2. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม 3. ส่งเสริมการพัฒนา สตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ 4. ส่งเสริมการฝึกและการประกอบอาชีพ 5. การจัดการศึกษา 6. การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ทางสังคม 7. การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 8. การส่งเสริมการกีฬา 9. การสาธารณสุข การอนามัย และการรักษาพยาบาล 10. ให้มีการบารุงโรงพยาบาล 11. การควบคุมสุขลักษณะและอนามัยให้ร้านจาหน่ายอาหารและสถานบริการอื่น 12. จัดทากิจการจาเป็นเพื่อการสาธารณสุข 13. ให้มีการบารุงสถานที่สาหรับการกีฬาและพลศึกษา 14. ให้มีและบารุงสวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ 3. จัดระเบียบชุมชนสังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 2. ให้มีเครื่องใช้ในการดับเพลิง
  • 22. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 19 3. การปรับปรุงแหล่งชุมชนและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 4. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัย 5. การควบคุมการเลี้ยงสัตว 6. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยสาธารณะอื่น ๆ 7. การดูแลรักษาที่สาธารณะ 8. การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย 9. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนปูองกันและรักษาความความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 10. ปรับปรุงแหล่งเสื่อมโทรมและรักษาความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง 4. การวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพานิชยกรรมการท่องเที่ยว ฯลฯ 1. การพาณิชย์และการส่งเสริมการลงทุน 2. การส่งเสริมการท่องเที่ยว 3. บารุงและส่งเสริมการทามาหากินของราษฎร 5. การบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. รักษาความสะอาดถนนหรือที่สาธารณะการกาจัดขยะมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้าเสีย 2. การจัดการ การบารุงรักษา การใช้ประโยชน์จากที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 6. ศาสนาศิลปวัฒนธรรม 1. บารุงศิลป์จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 7. การบริหารจัดการ 1. การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคสิทธิเสรีภาพของประชาชน 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น 4. การผังเมือง งบประมาณ ฐานะการเงินปี พ.ศ. 2557 การบริหารรายรับ รายได้ที่ อบต. ห้วยยางจัดเก็บเอง เป็นเงิน 331,756.95 บาท รายได้ที่ส่วนราชการต่าง ๆ จัดเก็บให้ เป็นเงิน 11,061,053.92 บาท เงินอุดหนุนทั่วไป เป็นเงิน 16,011,314.00 บาท เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เป็นเงิน 9,155,881.00 บาท เงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่น เป็นเงิน 18,500.00 บาท รายรับของ อบต. ห้วยยางประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เป็นเงิน 36,578,505.87 บาท ข้อมูลวันที่ 1 ตุลาคม 2556 – 30 มิถุนายน 2557
  • 23. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 20 ส่วนที่ 3 วิเคราะห์ศักยภาพและการพัฒนาท้องถิ่น
  • 24. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 21 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาตาบลห้วยยาง ด้วยเทคนิค SWOT Analysis จุดแข็ง (Strength) ในพื้นที่ตาบลห้วยยาง มีดังนี้ 1. องค์การบริหารส่วนตาบลมีศักยภาพเพียงพอที่รองรับการบริการสาธารณะและแก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชน 2. มีการประสานร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตาบลกับส่วนราชการในพื้นที่ 3. องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีรายได้เพิ่มขึ้นทุกปีจากการลงทุนด้านเศรษฐกิจของ ผู้ประกอบการ เงินภาษีและจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล จุดอ่อน (Weakness) 1. ขาดบุคลากรเพื่อจัดการด้านผังเมืองและกาหนดเขตในการก่อสร้าง 2. องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ไม่มีงบประมาณที่เพียงพอในการพัฒนาทรัพยากรของตาบลให้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว โอกาส (Opportunity) 1. จังหวัดอุบลราชธานีสามารถสนับสนุนงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีแผนงาน โครงการตามแนวทางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 2. มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวก สบายและเหมาะสม สามารถขนส่งสินค้าการเกษตร และ สามารถ รองรับการขยายตัวของการลงทุนทางเศรษฐกิจ 3. ในระดับหมู่บ้านมีกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง และสามารถดาเนินกิจการของกลุ่ม 4. ตาบลห้วยยางมีพื้นที่สาธารณะจานวนมากเหมาะแก่การพัฒนาเป็นสวนสาธารณะหรือเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว 5. ประชาชนในเขตตาบลห้วยยาง มีรายได้มากเพิ่มขึ้น จากการจาหน่ายพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา มันสาปะหลัง ทาให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 6. ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ ตลอดทั้งปี 7. ประชาชนมีคุณภาพ และมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน และ คุณภาพชีวิต 8. ผู้นาชุมชนสมานสามัคคีไม่มีปัญหาในด้านการร่วมมือกันในการปกครองและบริหารการพัฒนา 9. มีโรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 2 แห่ง โรงเรียนเอกชน 1 แห่ง สามารถรองรับการเรียนของเด็กนักเรียนได้อย่างเพียงพอ 10. ประชาชนส่วนใหญ่มีการตื่นตัว และให้ความสนใจในการพัฒนาและต้องการที่จะมีส่วนร่วมใน การพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง 11. ประชาชนมีความรักในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะการในความสนใจในการ เลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นระดับท้องถิ่น หรือระดับประเทศ 12. ประชาชนในพื้นที่มีวัฒนธรรมประเพณีอันงดงาม ที่ชุมชนร่วมกันอนุรักษ์และสืบสานประเพณีให้ คงอยู่สืบไป 13. ตาบลห้วยยาง มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าดงสาละเมิน มีน้าตกมีเสาเฉลียง ป่า ชุมชนในเขตแต่ละหมู่บ้าน
  • 25. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 22 14. ตาบลห้วยยาง มีการพัฒนาด้านการปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ มันสาปะหลัง ยางพารา ซึ่งสร้าง รายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ทาให้มีคนต่างถิ่นเข้ามาลงทุนปลูกยางพาราและรับจ้างกรีดยางด้วย อุปสรรค (Threat) 1. การปกครองท้องถิ่นยังไม่เข้มแข็ง ขาดความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันในการพัฒนาตาบล เช่น ด้าน การเกษตร, การท่องเที่ยว, การช่วยเหลือสวัสดิการสังคมในพื้นที่ตาบล 2. ภัยธรรมชาติซ้าซาก (ภัยแล้ง, วาตภัย) 3. ภาวะความยากจนและหนี้สินของประชาชนทาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาตกเป็นเหยื่อของ นายทุน 4. เกษตรกรไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทากิน 6. ประชาชนหรือเกษตรกรส่วนใหญ่มีภาระหนี้สิน 7. ประชาชนในพื้นที่ตาบลห้วยยาง มีรายได้ส่วนใหญ่จากการเกษตรและต้องพึ่งพาธรรมชาติ ซึ่งถือ เป็นข้อจากัดในการสร้างรายได้อีกประการหนึ่ง 8. ประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรอย่างถูกต้องเหมาะสม คุ้มค่า 9. ประชาชนขาดแหล่งเก็บน้าเพื่อใช้ในการเกษตร 10. ประชาชนเริ่มมีค่านิยมด้านวัตถุนิยมมากขึ้น 11. ชุมชนยังขาดแคลนน้าที่สะอาด (ระบบประปาหมู่บ้าน) เพื่อการอุปโภคและบริโภค 12. เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้ความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีด้านการเกษตรด้านการผลิต ขาดอาชีพเสริม และบางพื้นที่ขาดกรรมสิทธิ์ในที่ดินทากิน 13. การขาดการบูรณาการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 14. ขาดการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 15. ขาดตลาดในการรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรในราคาอย่างเป็นธรรม 16. ประชาชนมีการบุกรุกป่าไม้ เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ บุคลากร องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีบุคลากร ดังนี้ คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 1. นายคาแดง เกษชาติ นายกองค์การบริหารส่วนตาบล 2. นางแดง ทองคา รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 3. นายประกิจ ร่มโพธิ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 4. นายกัญญา พิมพ์ทรัพย์ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตาบล สภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 1. นายธนาสิน อิ่นแก้ว ประธานสภา อบต. 2. นางสาวนงคาร จวงจันทร์ รองประธานสภา อบต. 3. นายแสงทอง ส่องแสง เลขานุการสภา อบต. 4. นายประสันต์ บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู่ 1 5. นายขันอษา พิมพ์วงษ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2 6. นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู่ 2
  • 26. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 23 7. นายบัวเครือ จันทร์สด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 8. นางสมนึก โคตะนนท์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 3 9. นายชุมพล ปัสสาคา สมาชิกสภา อบต. หมู่ 4 10. นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 11. นายอารุณ อาจารีย์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 5 12. นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 6 13. นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 14. นางสาวสุบรรณ ขันแก้ว สมาชิกสภา อบต. หมู่ 7 15. นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 16. นายทองแดง หอมพันธ์ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 8 17. นายประวิท แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9 18. นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู่ 9 19. นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 20. นางคาเพียร แพ่งพนม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 10 21. นายอภินันท์ รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11 22. นายสมคิด ห้วยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู่ 11 พนักงานส่วนตาบล พนักงานจ้างตามภารกิจ และลูกจ้าง องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 1. จ่าเอกยุติธรรม ซิงค์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล 2. จ่าเอกหาญชัย ลาวัลย์ รองปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล 3. จ่าเอกบรรจง ปะตะสังค์ หัวหน้าสานักปลัด 4. นางสาวปรารถนา ทาทอง หัวหน้าส่วนการคลัง 5. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน์ หัวหน้าส่วนโยธา 6. สิบเอกกล้าหาญ จวงจันทร์ นักวิชาการศึกษา 7. จ่าเอกเชี่ยวชาญ จวงจันทร์ บุคลากร 8. จ่าเอกชาติชาย จวงจันทร์ เจ้าพนักงานธุรการ 9. นางสาวอุษณีย์ คะบุตร นักพัฒนาชุมชน 10. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายช่างโยธา 11. จ่าเอกธีระพงษ์ บุตรวัน เจ้าพนักงานธุรการ 12. นางณัฐชญาณีย์ สิริวรรณะกูล ครูผู้ดูแลเด็ก 13. นางสาวปัทมาศ พิสิษธนะกร ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 14. นางสาวศุภลักษณ์ วงศ์ชมพู ผู้ช่วยนักวิชาการประชาสัมพันธ์ 15. นางสาวลักษณารีย์ นาโพธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ 16. นายอรรณพ สีทาคูณ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเกษตร 17. นางสาวภัสนันต์ ร่มโพธิ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ 18. นางแสนสุข ละมูล ผู้ช่วยนักวิชาการเงินและบัญชี 19. นางสาวปริศนา สวัสดิพงษ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัสดุ 20. นายภุชพงษ์ สืบสิงห์ ผู้ช่วยช่างโยธา 21. นางสรัญญา ลาวัลย์ ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา
  • 27. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 24 22. นางวิภาพร ยืนยง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 23. นางสาววันทะนา คามั่น ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 24. นางสาวอุษา เพ็ญพักตร์ ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 25. นางสาวภัสสร วงศ์ชมพู คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข) 26. นายวีระพงษ์ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานด้านการป้องกันฯ) 27. นายเอกดนัย คาศรี คนงานทั่วไป 28. นายเทียนชัย คามั่น พนักงานขับรถยนต์ 29. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง 30. นางสาวทองวรรณ์ ปัดชาราช ผู้ดูแลเด็ก 31. นางสาวอรวรรณ สีแสด ผู้ดูแลเด็ก 32. นางบุญฮู้ นาคทอง จ้างเหมาบริการ (แม่บ้าน) 33. นายวีระศักดิ์ พลที จ้างเหมาบริการ (ช่างไฟฟ้า)
  • 28. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 25 ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัด
  • 29. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 26 วิสัยทัศน์ “ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนเข้มแข็ง เป็นประตูการค้าการท่องเทียว การเกษตรมีศักยภาพ มีการพัฒนาอย่างสมดุล ยั่งยืน ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ 1. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่ได้มาตรฐานบริการประชาชน 2. ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพแก่ประชาชน 3. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในระดับท้องถิ่น 4. ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง 5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการป้องกัน การดูแล และการรักษาสุขภาพแก่ประชาชน 6. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักสิทธิ หน้าที่ ตามกฎหมาย ในระบอบประชาธิปไตย 7. ส่งเสริมและบูรณาการระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8. ส่งเสริมระบบการตรวจสอบการทางานภาครัฐโดยภาคประชาชน 9. ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการทางานของทุกภาคส่วน 10. ส่งเสริมให้ภาคประชาชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น 11. บริหารจัดการการท่องเที่ยวของจังหวัด 12. ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและการพาณิชยกรรม 13. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 14. จัดให้มีระบบบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะ 15. อนุรักษ์ฟื้นฟู และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 1. ระบบโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ เพียงพอต่อความต้องการของประชาขน 2. ประชาชนมีความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานภูมิปัญญาสมัยใหม่ 3. โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐานและสอดคล้อง กับบริบทวิถีชีวิตของท้องถิ่น 4. ครอบครัวอบอุ่นชุมชนเข้มแข็ง 5. ประชาชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและการป้องกันโรคอย่างเป็นระบบ 6. ประชาชนมีความรู้ปรัชญาอุดมการณ์ สิทธิและหน้าที่ของตนเองในระบอบประชาธิปไตย 7. ศูนย์ประสานงานและบูรณาการข้อมูล ทรัพยากร ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8. ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและกระบวนการเรียนรู้ขององค์กรภาคประชาชน 9. ระบบการทางานที่สนับสนุนซึ่งกันและกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10. ชุมชนมีกระบวนการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นทุกระดับชั้น 11. ศูนย์บูรณาการข้อมูลการท่องเที่ยวที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน 12. อุตสาหกรรมขนาดเล็ก กลุ่มอาชีพ ได้รับการส่งเสริมแบบครบวงจร (ความรู้ การผลิต การบริหาร การตลาด) ในการกาหนดทิศทางการจัดการทุกขั้นตอน 13. ประชาชนมีองค์ความรู้ในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดความตระหนักในการเข้ามามี ส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการจัดการทุกขั้นตอน
  • 30. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2558 - 2562) 27 14. ความเป็นระบบของข้อมูลพื้นที่เป็นสาธารณะ ผู้รับผิดชอบ และการใช้สอยร่วมกันของประชาชน 15. มีการจัดระบบการเรียนรู้ เผยแพร่ สืบทอด และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาตาบล วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ภายใต้แผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนา (พ.ศ. 2558 - 2560) มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาท้องถิ่นคือ “พัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบล ห้วยยาง ให้มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควบคู่ธรรมาภิบาล เน้นสวัสดิการคุณภาพชีวิต และภารกิจจัด การศึกษา พัฒนารักษาสิ่งแวดล้อม น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง 1. พัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพื้นฐาน 2. พัฒนาแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร 3. อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริม และพัฒนาการศึกษา 5. บารุงศาสนา อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมพัฒนาการบริหารและการท่องเที่ยว 7. สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 8. จัดสวัสดิการสังคม และการสังคมสงเคราะห์ 9. ส่งเสริมให้มีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 10. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1. ระบบโครงสร้างพื้นฐานเส้นทางการคมนาคมที่สะดวก สาธารณูปโภค สาธารณูปการเพียงพอและ ทั่วถึง 2. ประชาชนมีแหล่งน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค และเพื่อการเกษตรที่เพียงพอ 3. ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ สิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่เป็นมลพิษ 4. ประชาชนมีโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต 5. วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสืบทอด 6. ประชาชนมีการประกอบอาชีพและมีรายได้เพียงพอ สามารถพึ่งตนเองได้ 7. สถานที่ท่องเที่ยวได้รับการพัฒนาให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย รองรับ ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้มาก 8. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ชุมชนสงบสุข ปราศจากอบายมุขและสิ่งเสพติด 9. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาสได้รับสวัสดิการสังคมที่ดี 10. การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทันสมัย และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน