SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา
(พ.ศ. 2560 - 2563)
งานนโยบายและแผน
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
โทร./โทรสาร. 0-4584-8214
คํานํา
การวางแผนเปนกระบวนการอันสําคัญยิ่งในการบริหาร เพราะแผนเปนสิ่งชี้ใหเห็นถึงเปาหมาย
และวิธีดําเนินการเพื่อใหเกิดความสําเร็จในเปาหมายนั้นๆ แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวน
ตําบลหวยยาง จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาทองถิ่น ซึ่งไดกําหนดทิศทางเพื่อนําไปสูเปาหมายการพัฒนา
ทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผน
ชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการพัฒนาทองถิ่น
แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดทําขึ้นโดยคํานึงถึงความ
เปนไปไดในทางปฏิบัติ พิจารณาถึงสภาพปญหาความจําเปนเรงดวนของปญหาที่เกิดขึ้น ความตองการของ
ประชาชนเปนสําคัญ โดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวมของทองถิ่นเปนหลัก ซึ่งจะนําไปสูการปฏิบัติหลังจากผาน
การนําเสนอโครงการ ไดรับความเห็นชอบ และอนุมัติโครงการตามขั้นตอน
การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดสําเร็จลุลวงดวยดีจาก
ความรวมมือของคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผน คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
ประชาคมทองถิ่นเปนอยางดี องคการบริหารสวนตําบลหวยยางจึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผน
คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
สารบัญ
หนา
คํานํา
บทที่ 1 บทนํา 1
ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1
วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2
ขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2
ประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 5
บทที่ 2 สภาพทั่วไป และขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 6
สภาพทั่วไป ลักษณะที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ จํานวนประชากรฯลฯ 6
โครงสรางและกระบวนการบริหารงานบุคคล 16
จุดยืนทางยุทธศาสตร 23
บทที่ 3 แผนยุทธศาสตรและการวิเคราะหศักยภาพพัฒนาทองถิ่น 26
กรอบแนวคิดในการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น 26
วิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาทองถิ่น 41
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตรการพัฒนาของ อปท. 44
แผนที่ยุทธศาสตร 45
บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แบบ ยท. 04 56

แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 1
บทที่ 1
บทนํา
ตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดบัญญัติใหมีองคกรรับผิดชอบในการจัดทําแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น คือ คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกําหนดหนาที่ของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริการสาธารณะที่จําเปนแกทองถิ่น ตลอดจนรายไดของทองถิ่นที่เพิ่มขึ้น การ
ดําเนินการบริการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกๆ ดานใหเกิดประโยชนสูงสุด มีความโปรงใส สามารถ
ตรวจสอบไดทุกขั้นตอน การวางแผนในการดําเนินการบริหารจึงเปนกลไกที่สําคัญที่ทําใหการบริหารเปนรูปแบบ
และมีทิศทาง การกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาที่สมดุลและมีประสิทธิภาพ จะสงผลใหองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นสามารถดําเนินการบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แกไขปญหาไดตรงจุด อันเกิดประโยชนแกสวนรวม
และบรรลุตามความมุงหมาย ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ไดกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการ
พัฒนา หมายถึง “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทองถิ่นที่กําหนดยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนาของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งแสดงถึง วิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดย
สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการพัฒนา
จังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ และแผนชุมชน” เปนแผนระยะยาวเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม แตไมไดกําหนดหวงระยะเวลาของแผนยุทธศาสตร
การพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไว ดังนั้น การกําหนดหวงระยะเวลาแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจึง
ขึ้นอยูกับแนวคิดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตขางหนา
ดังนั้น การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจึงมีความสําคัญตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปน
อยางยิ่ง เพราะเปนแนวทางการกําหนดทิศทางในอนาคตขององคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยกําหนดสภาพการณ
ที่ตองการบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปน
ระบบ ทั้งนี้ ตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น ปญหา ความตองการของประชาชนในทองถิ่น ซึ่งลวนเปน
สภาวการณในการกําหนดทิศทางการพัฒนาอันจะนําพาไปสูสภาพการณอันพึงประสงคไดอยางเทาทันกับการ
เปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่กําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการ
พัฒนาทองถิ่นของคณะผูบริหารทองถิ่น
การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนามีความสําคัญตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนอยางยิ่ง
เนื่องจากแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเปนแผนพัฒนาที่มุงไปสูสภาพการณที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตเปน
กระบวนการและกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหมุงไปสูสภาพการณอัน
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 2
พึงประสงคไดอยางเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมี
ประสิทธิภาพ และการกําหนดสภาพการณที่ตองการบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวม
และวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้งตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น และปญหา/
ความตองการของประชาชนในทองถิ่นไดอยางแทจริง
1.2 วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
1. เพื่อเปนเครื่องมือในการกําหนดทิศทางในการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
2. เพื่อใหการพัฒนาทองถิ่นมีทิศทางที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการพัฒนาทองถิ่น
3. เพื่อเปนการกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายในการพัฒนาไวลวงหนาในการที่จะดําเนินงาน
ตามแผนงาน/โครงการตางๆ
4. เพื่อใหสามารถนําไปสูการแกไขปญหาและตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยาง
แทจริง
5. เพื่อใชเปนกรอบในการดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาสามป
6. เพื่อใหมีการพัฒนาทองถิ่นอยางตอเนื่อง
1.3 ขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2548 ขอ 16 ไดกําหนดขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ดังนี้
1. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นจัดประชุมประชาคมทองถิ่น สวนราชการ และรัฐวิสาหกิจที่
เกี่ยวของ เพื่อแจงแนวทางการพัฒนาทองถิ่น รับทราบปญหา ความตองการประเด็นการพัฒนาและประเด็นที่
เกี่ยวของตลอดจนความชวยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนํามากําหนด
แนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา โดยใหนําขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหนวยงานตางๆ และขอมูล
ในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น รวบรวมแนวทางและขอมูลนํามา
วิเคราะห เพื่อจัดทํารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาแลวเสนอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น
3. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น พิจารณารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา เพื่อเสนอผูบริหาร
ทองถิ่น
4. ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และประกาศใชแผน
ยุทธศาสตรการพัฒนา
สําหรับองคการบริหารสวนตําบลใหผูบริหารทองถิ่นเสนอรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาตอสภา
องคการบริหารสวนตําบล เพื่อใหความเห็นชอบกอน แลวผูบริหารทองถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใชแผน
ยุทธศาสตรการพัฒนาตอไป
ในการดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา มีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2548 กําหนดใหมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาไว แตมิไดกําหนดหวงระยะเวลาของแผน
ยุทธศาสตรการพัฒนาวาเปนแผนระยะกี่ป ดังนั้น องคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถพิจารณาวาจะทําแผน
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 3
ยุทธศาสตรการพัฒนาของตน ตามแนวคิดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นวาในอนาคตขางหนายาวนานเพียงใด
ประกอบกับขอมูล ปญหาที่ตองการการแกไข และอาจกําหนดใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของการพัฒนา
ทองถิ่น
ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญ
เก็บรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญของทองถิ่น โดยใหนําแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการ
จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา พรอมทั้งจัดลําดับความสําคัญของปญหารวม 5 เกณฑ ประกอบดวย
1. ขนาดของกลุมคนที่ไดประโยชน
2. ความรายแรงและเรงดวนของปญหา
3. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
4.การยอมรับรวมกันของชุมชน
5. ความเปนไปไดในการแกไขปญหา/การดําเนินการ
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของทองถิ่นในปจจุบัน
การประเมินสถานภาพของทองถิ่นในปจจุบัน ตองวิเคราะหถึงโอกาส และภาวะคุกคาม หรือ
ขอจํากัด อันเปนสภาวะแวดลอมภายนอกที่มีผลตอการพัฒนาดานตางๆ ของทองถิ่น รวมทั้งการวิเคราะห
จุดออน จุดแข็งของทองถิ่น อันเปนสภาพวะแวดลอมภายในทองถิ่น โดยใชเทคนิค SWOT Analysis
การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength = S) เปนการพิจารณาปจจัยภายในของหนวยงานในสวนที่ดี
ความเขมแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ สวนที่สงเสริมความสําเร็จซึ่งจะพิจารณาในดานตางๆ
การวิเคราะหจุดออน (Weakness=W) เปนการพิจารณาปจจัยภายในหนวยงานวามีสวนเสีย
ความออนแอ ขอจํากัด ความไมพรอม ซึ่งจะพิจารณาในดานตางๆ เชนเดียวกับการวิเคราะหจุดแข็ง
SWOT Analysis
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
S = Strength
จุดแข็ง
W = Weah
จุดอ่อน
SWOT
ประเด็น
O = Opportunity
โอกาส
T = Threat
อุปสรรค
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 4
การวิเคราะหโอกาส (Opportunity=O) เปนการศึกษาสภาพแวดลอมภายนอกวามีสภาพเปน
อยางไร โดยพิจารณาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองและเทคโนโลยี
การวิเคราะหปญหาอุปสรรคหรือขอจํากัด (Threat =T) เปนการศึกษาสภาพแวดลอม
ภายนอกที่เปนอุปสรรคหรือภาวะคุกคาม กอใหเกิดผลเสีย โดยพิจารณาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ
ปกครอง และเทคโนโลยี
ขั้นตอนที่ 4 การกําหนดวิสัยทัศนและภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น นําขั้นตอนที่ 2และ
ขั้นตอนที่ 3 มากําหนดวิสัยทัศน และภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น
วิสัยทัศน (Vision) หมายถึง ถอยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณในอุดมคติ ซึ่งเปน “จุด
เหมาะ” ที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตขางหนา
ภารกิจ (Mission) หมายถึง ขอความหรือถอยแถลงที่แสดงถึงลักษณะหรือขอบขายในการ
ดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวกับลักษณะการบริหารและการจัดบริการสาธารณะ รวมทั้ง
แนวคิดเกี่ยวกับองคกรหรือภาพลักษณที่ตองการนําเสนอและปณิธาน หรือปรัชญาในการดําเนินงานขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น เปนขอบเขตของบทบาทหนาที่หลัก หรือขอบเขตของกิจกรรมที่มุงเนนเปนพิเศษที่องคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจะตองดําเนินการเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนที่กําหนดไว
ขั้นตอนที่ 5 การกําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การนําเอาวิสัยทัศนและภารกิจหลักมาพิจารณากําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปน
การกําหนดขอบเขตหรือประเภทของกิจกรรมที่ควรดําเนินการ เพื่อสนับสนุนหรือนําไปสูการบรรลุวิสัยทัศนและ
ภารกิจหลักที่กําหนดไว
ขั้นตอนที่ 6 การกําหนดวัตถุประสงคการพัฒนาทองถิ่น
เปนการกําหนดผลสําเร็จที่ตองการ โดยดําเนินการหลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ทองถิ่นจะตอง
ทําแลว เพื่อนําทองถิ่นไปใหบรรลุความตองการที่จะเปนในอนาคต
ขั้นตอนที่ 7 การกําหนดและการบูรณาการแนวทางการพัฒนาทองถิ่น
เมื่อไดกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจหลัก วัตถุประสงคและยุทธศาสตรการพัฒนาโดยอาศัยพื้นฐาน
การวิเคราะห SWOT แลว ขั้นตอไป คือ กําหนดแนวทางการพัฒนาทองถิ่นซึ่งแนวทางการพัฒนาทองถิ่น หมายถึง
แนวคิดหรือ วิธีที่แยบคายอันบงบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององคกรวาจะกาวไปสูเปาหมายที่ตองการใน
อนาคตไดอยางไร
ขั้นตอนที่ 8 การกําหนดเปาหมายการพัฒนาทองถิ่น
เปนการกําหนดปริมาณ หรือจํานวนสิ่งที่ตองการใหบรรลุในแตละแนวทางการพัฒนา ภายใน
เวลาที่กําหนด
ขั้นตอนที่ 9 การอนุมัติและประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
คณะกรรมการสนับสนุนการวางแผนพัฒนาทองถิ่น นําผลที่ไดจากขั้นตอนที่ 1- 8 มาจัดทําราง
แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น เพื่อ
พิจารณาและปรับปรุงกอนนําเสนอตอผูบริหารทองถิ่น
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 5
1.4 ประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
1. สามารถใชเปนกรอบทิศทางในการปฏิบัติงานไดอยางชัดเจน เหมาะสมทําใหการปฏิบัติงาน
เปนไปในทิศทางเดียวกัน ลดความซ้ําซอนและการสิ้นเปลืองทรัพยากรในการบริหาร
2. เปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนพัฒนาสามป งบประมาณรายจายประจําป และ
แผนการดําเนินงานประจําปได
3. เปนแนวทางใหทองถิ่นสามารถบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความ
ตองการของชุมชน/หมูบาน
4. สามารถกํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาได

แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 6
บทที่ 2
สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
1. สภาพทั่วไป
1.1 ลักษณะที่ตั้ง
สํานักงาน ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ตั้งอยูที่ บานหนองฮี หมู 2 องคการ
บริหารสวนตําบลหวยยาง อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 37 ไร โดยประมาณหางจากที่วาการ
อําเภอโขงเจียม ประมาณ 16.7 กิโลเมตร หางจากอําเภอเมืองอุบลราชธานีประมาณ 102 กิโลเมตร และหาง
จากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ 720 กิโลเมตร
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 140 ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณ 87,500 ไร มีอาณาเขตติดตอกับหนวยปกครองทองถิ่นอื่นๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม
และองคการบริหารสวนตําบลนาโพธิ์กลาง
ทิศใต ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ และองคการบริหารสวนตําบล
หนองแสงใหญ
ทิศตะวันออก ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ ทิศตะวันตก ติดตอกับองคการ
บริหารสวนตําบลคําไหล องคการบริหารสวนตําบลนาคํา
อําเภอศรีเมืองใหม
1.2 เขตการปกครอง
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง แบงเขตการปกครองออกเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 หมูบาน
ตาราง แสดงจํานวนครัวเรือนแบบแบงเขตหมูบาน
หมู ชื่อหมูบาน จํานวนครัวเรือน
1 หวยยาง 254
2 หนองฮี 207
3 นาบัว 172
4 โพนแพง 238
5 ดงดิบ 261
6 ดงแถบ 253
7 บะไห 281
8 เหลาเจริญ 88
9 นาบัว 138
10 ดงแถบ 177
11 นาดอนใหญ 93
รวม 2,162
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 7
1.3 ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเปนดิน
รวนปนทรายมีปาไม คอนขางสมบูรณ มีลําหวยไหลผานที่สําคัญคือ ลําหวยยาง หวยเรือ หวยบัว รองดุน
รองหินรองลับ รองหนองฮี รองโปงเชือก รองแขนหัก รองหวยหมาก รองดงดิบ รองหินลาด หวยหนองผือ
รองขุม หวยชอง
1.4 ลักษณะภูมิอากาศ
มี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว
1.5 ประชากร
สถิติจํานวนประชากรในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ณ เดือนกรกฎาคม 2559
มีจํานวน 8,640 คน เปนชาย 4,438 คน และหญิง จํานวน 4,202 คน อัตราการเจริญเติบโตของ
ประชากรในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากรลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น
ขอมูลจํานวนประชากรปรากฏตามตาราง โดยประชากรในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางจะอาศัยอยูอยาง
หนาแนนในบานหวยยาง จํานวนประชาชนจําแนกตามหมูบาน ปรากฏตามตารางที่ 1.5.2
ตาราง แสดงจํานวนประชากรและจํานวนบานในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ป พ.ศ. 2556 - 2559
รายการ ปปจจุบัน (2559) ปที่แลว (2558) 1ปที่แลว (2557) 2 ปที่แลว (2556)
ประชากรชาย (คน) 4,438 4,358 4,281 4,155
ประชากรหญิง (คน) 4,202 4,136 4,060 3,935
รวมประชากร (คน) 8,640 8,494 8,341 8,090
บาน (หลังคาเรือน) 2,162 2,086 1,993 1,971
ตาราง แสดงจํานวนประชากรจําแนกตามหมูบาน
หมูที่ ชื่อหมูบาน
ประชากร รวมจํานวน
ชาย หญิง ประชากร
1 หวยยาง 592 571 1,163
2 หนองฮี 432 410 842
3 นาบัว 344 334 678
4 โพนแพง 531 512 1,043
5 ดงดิบ 557 517 1,074
6 ดงแถบ 412 3778 790
7 บะไห 577 491 1,068
8 เหลาเจริญ 196 186 382
9 นาบัว 293 270 563
10 ดงแถบ 318 342 660
11 นาดอนใหญ 186 191 377
รวม 4,438 4,202 8,640
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 8
จากสถิติขอมูลดานประชากรของสํานักทะเบียนราษฎรอําเภอโขงเจียม นับไดวาองคการบริหาร
สวนตําบลหวยยาง เปนสังคมผูสูงอายุเนื่องจากจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชาชนในวัยแรกเกิด – 3 ป มี
เพียง 242 คน แตอัตราผูสูงอายุมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกป ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีประชาชน
ชวงอายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน847 คน จํานวนผูสูงอายุจําแนกตามหมูบาน
ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน
หมูที่ ชื่อหมูบาน
ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ
60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน
1 หวยยาง 66 43 16 7 132
2 หนองฮี 43 24 12 0 79
3 นาบัว 23 22 16 1 62
4 โพนแพง 57 31 13 1 102
5 ดงดิบ 60 33 14 1 108
6 ดงแถบ 45 27 5 2 79
7 บะไห 53 31 8 0 92
8 เหลาเจริญ 16 16 2 1 35
9 นาบัว 38 19 6 1 64
10 ดงแถบ 37 21 6 0 64
11 นาดอนใหญ 21 4 2 0 27
รวม 459 271 100 14 844
ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน
หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม
1 หวยยาง 39
2 หนองฮี 14
3 นาบัว 25
4 โพนแพง 37
5 ดงดิบ 21
6 ดงแถบ 18
7 บะไห 27
8 เหลาเจริญ 13
9 นาบัว 15
10 ดงแถบ 7
11 นาดอนใหญ 7
รวม 223
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 9
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
(1) อาชีพ
ประชาชนมีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยมีครัวเรือนประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีจํานวน
มากที่สุด และมีการประกอบอาชีพรับจาง รับราชการ เลี้ยงสัตว ง รองลงมาตามลําดับ
(2) เกษตรกรรม
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีบริเวณพื้นที่การเกษตรกรรมของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งพื้นที่
เกษตรกรรมสวนใหญเปนพื้นที่ทํานา ปลูกยางพาราและมันสําปะหลัง เปนตน
(3) อุตสาหกรรม
ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการทําอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (มีคนงานต่ํากวา 10 คน
หรือมีทรัพยสินไมเกิน 1 ลานบาทขึ้นไป มีดังนี้
1) รานรับซื้อยางพารา 7 แหง
2) รานรับซื้อมันสด – มันเสน 2 แหง
(4) การพาณิชย
กิจการพาณิชยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีอัตราการเจริญเติบโตและการขยายตัว
ทางการคาและการประกอบธุรกิจพาณิชยแบบทรงตัว (คงที่) และไมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในทิศทางบวก ใน
องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ปรากฏตามตาราง
ตาราง แสดงรายชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน
ที่ รหัสทะเบียน
ชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจ
ชุมชน
ที่ตั้ง/โทรศัพท จํานวนสมาชิก
1 4-34-03-02/1-003 ผลิตภัณฑไมไผลําไมไผงาม 169 หมู 2 7
2 4-34-03-02/1-0002 ผาฝายยอมสีธรรมชาติบานหนองฮี 51 หมู 1 , 099-1322926 17
3 4-34-03-02/1-0001 กลุมแมบานเกษตรกรบานดงดิบ 165 หมู 5, 097-6255576 20
4 4-34-03-02/1-0009 กลุมปลูกมันสําปะหลังบานาบัวใต 48 หมู 9 13
5 4-34-03-02/1-0008 ชาวสวนยางพาราบานดงแถบ 9 หมู 10 7
6 4-34-03-02/1-0023 พลังงานทดแทนโรงเรียนศรีแสงธรรม 212 หมู 5 11
7 4-34-03-02/1-0022 ชาวสวนยาง (กลุมบะไห) 243 หมู 7 54
8 4-34-03-02/1-0021 บานไมศิลป 185 หมู 2 10
9 4-34-03-02/1-0020 ชาวสวนยาง (กลุมผาแตม) 80 หมู 7, 085-1040966 36
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 10
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดใหความสําคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย มีภารกิจ 3
ดาน ดังนี้
1. การจัดการศึกษาปฐมวัย
2. การจัดการสงเสริมกีฬา นันทนาการและกิจกรรมเด็กเยาวชน
3. การดําเนินงานดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น
ในปจจุบัน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดจํานวน
6 แหง ใหการศึกษาในระดับกอนวัยเรียน (อนุบาล) นอกจากนี้ ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีโรงเรียน
สังกัดการศึกษาของเอกชน จํานวน 1 โรง
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี
2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว
3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง
4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ
5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห
6.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ
โรงเรียนสังกัดเอกชน
1. โรงเรียนศรีแสงธรรม เปดสอนในระดับมัธยมศึกษา(เปดสอนในระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 - 6)
ตาราง แสดงจํานวนนักเรียนในศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียน ประจําปการศึกษา 1/2559
โรงเรียน
จํานวน
รวม
ชาย หญิง
1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 37 39 76
2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 19 28 47
3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 12 9 21
4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 10 16 26
5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 9 14 23
6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ 9 16 25
รวม 96 122 218
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 11
3.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา
ประชาชนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณี
วัฒนธรรมพื้นบานที่ปฏิบัติสืบทอดตอกันมา ในการทําบุญประเพณีในวันสําคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาล
ประเพณีตางๆเปนประจําทุกป โดยมีศาสนสถานตางๆ ดังนี้
1. วัดบรมคงคา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหวยยาง หมูที่ 1
2. วัดหนองฮี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2
3. สํานักสงฆถ้ําชางสาร ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2
4. วัดสวางสมดี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3
5. ที่พักสงฆดอนชาติพัฒนา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3
6. วัดโพนแพง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานโพนแพง หมูที่ 4
7. วัดปาดงเย็น ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5
8. วัดปาศรีแสงธรรม ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5
9. วัดดงแถบ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
10. สํานักสงฆถ้ําชางศรี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
11. สํานักสงฆภูจันแดง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
12. สํานักฐานพรตภูผา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
13. สํานักสงฆฐานประชุมทิพย ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
14. วัดพุทธไพรสน (บานบะไห) ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7
15. สํานักสงฆวัดถ้ําสิงห ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7
16. วัดเหลาเจริญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานเหลาเจริญ หมูที่ 8
17. สํานักสงฆหวยเรือ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9
18. สํานักสงฆภูหินกอง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9
19. สํานักสงฆพลาญศิลาอาสน ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 10
20. ที่พักสงฆนาดอนใหญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาดอนใหญ หมูที่ 11
3.3 การสาธารณสุข
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการจัดบริการสาธารณะทางดานการรักษาพยาบาลเบื้องตน
การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคใหแกประชาชนในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางได
อยางสะดวกทั่วถึง
สําหรับการใหบริการดานการแพทยฉุกเฉิน มีจํานวนประชาชนเขารับบริการจากหนวยแพทย
ฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนจํานวนมาก โดยดําเนินการใหบริการดานการรักษาพยาบาล
เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคติดตอ
นอกจากนี้ ยังมีการบริหารงานทางดานการควบคุมและปองกันโรคพิษสุนัขบา โดยองคการ
บริหารสวนตําบลหวยยาง ดําเนินการใหบริการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแกสุนัขและแมว ฉีดยาคุมกําเนิด
ทําหมัน แกไขเหตุเดือดรอนรําคาญจากสุนัข แมวจรจัด จากคํารอง/หนังสือของประชาชนที่แจงใหองคการบริหาร
สวนตําบลหวยยางดําเนินการ โดยไดรับความรวมมือจากสํานักงานปศุสัตวอําเภอโขงเจียม
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 12
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศักยภาพทางดานการใหบริการดานความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพยสินอยูในระดับสูง โดยเปรียบเทียบจากพื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบและความสามารถในการใหบริการ
การควบคุมดูแล กลาวคือ ความพรอมสูงทั้งดานอัตรากําลังพนักงาน เจาหนาที่ และวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช
ตางๆ อยางครบครัน
จํานวนเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มี 30 อัตรา ดังนี้
1. ขาราชการ/พนักงานสวนทองถิ่น จํานวน 1 อัตรา
2. พนักงานจาง จํานวน 1 อัตรา
3. จางเหมาบริการบุคคล ดานงานปองกันฯ จํานวน 3 อัตรา
นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีการฝกอบรมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพล
เรือน เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการใหความชวยเหลือทางดานสาธารณภัยตางๆ แกผูเขารับการอบรม
ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน จํานวน 166 คน
ความพรอมทางดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติหนาที่
1.รถยนตบรรทุกน้ําใชอเนกประสงค จํานวน 1 คัน
2.เครื่องดับเพลิงชนิดถัง จํานวน 64 ถัง
3.เครื่องเลื่อยยนต จํานวน 1 เครื่อง
4.วิทยุสื่อสารชนิดมือถือ จํานวน 5 เครื่อง
5.เต็นทขนาดใหญและเล็ก จํานวน 4 หลัง
6.วิทยุสื่อสารประจําที่ จํานวน 1 เครื่อง
7. เครื่องโทรศัพท จํานวน 1 เครื่อง
8.เครื่องพิมพดีด จํานวน 1 เครื่อง
9. เครื่องดับเพลิงชนิดสะพายหลัง จํานวน 5 เครื่อง
10. ปายจราจรหยุดตรวจ จํานวน 4 ปาย
11. เสื้อชูชีพ จํานวน 5 ตัว
12. หมวกจราจร จํานวน 9 ใบ
13. กระบองไฟจราจร จํานวน 11 อัน
14. เชือกชวยชีวิตกูภัย ยาว 34 เมตร จํานวน 1 เสน
15. ไฟฉาย จํานวน 4 อัน
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 13
4. การบริการขั้นพื้นฐาน
4.1 การโทรคมนาคม
1. ระบบเครือขายโทรศัพท 4 ระบบ
- บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน
- บริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)
- บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)
- บริษัท เรียลมูฟ จํากัด
2. ระบบอินเตอรเน็ต5ระบบ
- บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน
- บริษัท ทริปเปลทรี อินเตอรเน็ต จํากัด
- บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (มหาชน)
- บริษัท ดีแทค เนทเวอรค จํากัด(มหาชน)
- บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด
4.2 การคมนาคม
การคมนาคมในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีทางหลวงชนบทหมายเลข 2134 เปนถนน
เชื่อมตออําเภอศรีเมืองใหม ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2135 เชื่อมตอองคการบริหารสวนตําบลหนามแทง
อําเภอศรีเมืองใหม และถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2112 เปนถนนเชื่อตออําเภอโขงเจียม นอกจากนี้ ยังมี
ถนนที่ไดรับการพัฒนาโดยงบประมาณจากหนวยงานราชการเพื่อเชื่อมหมูบานตางๆ ภายในองคการบริหารสวน
ตําบล
การคมนาคมภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนเสนทางการจราจรที่ยังไมสะดวก
ราบรื่นเทาใดนัก เนื่องจากถนนบางสาย/บางระยะ ยังคงเปนถนนลูกรัง ซึ่งประชาชนจะประสบปญหาในชวงฤดู
ฝนของทุกป
ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ดานการพัฒนา
ถนนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนทั้งดานการคมนาคมขนสง การอํานวยความสะดวกเดินทางสัญจรไป
มาของประชาชน ทั้งหมด 87 สาย แบงเปน
1. ถนนคอนกรีต จํานวน 54 สาย
2. แอสฟลทติก จํานวน 3 สาย
3. ถนนลาดยาง จํานวน 4 สาย
4. ถนนลูกรัง จํานวน 13 สาย
5. ถนนหินคลุก จํานวน 3 สาย
6. ถนนคันดิน จํานวน 10 สาย
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 14
4.3 การประปา
ครัวเรือนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางรับบริการน้ําประปาของหมูบาน โดย
มีแหลงน้ําในแตละหมูบานสําหรับกักเก็บน้ําในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประชากรในเขตองคการบริหาร
สวนตําบลที่ใชบริการมีทั้งสิ้น 985 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 45.53 และประชากรที่ไมไดใชบริการมีทั้งสิ้น 540
ครัวเรือน คิดเปนรอยละ จากครัวเรือนทั้งหมดจํานวน2,622หลังคาเรือน และมียังคงมีหมูบานที่ตองการให
ขยายเขตประปาเพื่อใหมีน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคตลอดทั้งป
ตาราง แสดงขอมูลการใหบริการประปาในเขตองคการบริหารสวนตําบล
ที่ ชื่อหมูบาน/ชุมชน
จํานวน
ครัวเรือน
ทั้งหมด
จํานวน
ประชากร
ทั้งหมด
กรณีประปาของหมูบาน
จํานวน
ครัวเรือน
ที่ไดรับ
น้ําประปา
จํานวน
ครัวเรือน
ที่เหลือที่
ไมไดรับ
น้ําประปา
หากมีครัวเรือ
ที่เหลือ (ไมได
ใชน้ําประปา)
ใชน้ําจาก
แหลงใด
ครัวเรือนที่
เหลือสามารถ
รับน้ําจากการ
ประปาสวน
ภูมิภาคได
หรือไม
แบบ
(บาดาล/ผิว
ดิน)
ความจุ
หอถัง
(ลบ.ม.)
1 หวยยาง ผิวดิน/บาดาล 30/10 162 85
บาดาลสวนตัว/
บอ
ไมได
2 หนองฮี ผิวดิน/บาดาล 30/10 132 61
บาดาลสวนตัว/
บอ
ไมได
3 นาบัว บาดาล 10 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล)
4 โพนแพง บาดาล 10 153 70 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
5 ดงดิบ บาดาล 30 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล)
6 ดงแถบ บาดาล 10 67 142 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
7 บะไห บาดาล 10 121 136 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
8 เหลาเจริญ บาดาล 15 83 1 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
9 นาบัว บาดาล 10 112 19 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
10 ดงแถบ บาดาล 10 94 63 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
11 นาดอนใหญ บาดาล 10 61 24 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
รวม 985 540
ที่มา : กองชางองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ขอมูล ณ เดือน เมษายน 2559
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 15
4.4 การไฟฟา
ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางประชาชนไดรับการบริการจายกระแสไฟฟาจากการไฟฟา
สวนภูมิภาค อําเภอโขงเจียม เพื่อการใชกระแสไฟฟาภายในครัวเรือน และการประกอบกิจการตางๆ และมีไฟฟา
ใชเกือบทุกครัวเรือน หรือรอยละ 99.99 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด
การใหบริการไฟฟาสาธารณะแกประชาชนในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนไปเพื่อให
ถนนหนทางและพื้นที่สาธารณะมีแสงสวางที่เพียงพอเหมาะสมประชาชนไดรับความปลอดภัยในการสัญจรของผูใช
ถนนหนทางมีความปลอดภัยและชวยลดปญหาการกออาชญากรรมของโจรผูรายพรอมทั้งเสริมสรางบรรยากาศ
แวดลอมใหนาอยูอาศัย ในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีการใหบริการไฟฟาสาธารณะบริเวณแนวถนนสายหลัก
แนวถนนสายรองเปนตน
4.5 การระบายน้ํา
ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการระบาย
น้ํา จากอาคารบานเรือน รานคา ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาระบบทอระบายน้ําฝนทั้งถนนสายหลักและสายรองแลว
ระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ที่สําคัญลําหวยยางและลําหวยยอยตางๆ และจากสภาพดังกลาวประกอบกับการ
เติบโตและการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลอยางรวดเร็ว จากชุมชนที่มีลักษณะเปนชุมชนชนบทเปน
ชุมชนเกษตรกรรมมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอระบบสาธารณูปโภคที่มีอยูเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบการ
ระบายน้ําที่มีไมเพียงพอหรืออยูในสภาพที่ไมสมบูรณและในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังคงใชการระบาย
น้ําตามธรรมชาติและแผกระจายซึมลงไปในพื้นดิน บางแหงระบายน้ําไมทัน ทําใหเกิดน้ําทวมขังบางในชวงฤดูฝน
5. แหลงทรัพยากรธรรมชาติ
5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
- ปาไม ทรัพยากรปาไมยังมีความอุดมสมบูรณ สภาพพื้นที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติดงภูโหลน
- ดิน มีลักษณะเปนดินรวนปนทรายคอนขางขาดความอุดมสมบูรณ
5.2 แหลงทองเที่ยว
ตําบลหวยยาง มีแหลงทองเที่ยวที่มีธรรมชาติสวยงาม 3 แหง คือ น้ําตกถ้ําพวง น้ําตกกลูจอ
น้ําตกแสนเมือง และน้ําตกถ้ําพวง เปนน้ําตกซึ่งไหลลงลําหวยเรือ อยูที่บานนาบัวใต หมูที่ 9 เปนเขตปาสงวน
ดงภูหลน และบริเวณระหวางน้ําตกถ้ําพวงถึงน้ําตกกลูจอ และน้ําตกแสนเมือง มีกลุมเสาหินเฉลียงตั้งซอนกัน
หลายแหง ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่บานนาบัวหมูที่ 3 สถานที่ทองเที่ยว 3 แหง อยูหางจากอําเภอโขงเจียม ประมาณ
27 กิโลเมตร ปาในเขตดงภูหลน มีความอุดมสมบูรณ มีตนไมขนาดใหญ สัตว สมุนไพร และของปานานาชนิด
เหมาะสําหรับการศึกษาธรรมชาติในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม จะมีนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวชม และมี
การเดินปา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ป
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 16
6. การบริหาร
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีที่ตั้งอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปน
หนวยงานราชการสวนทองถิ่น เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนองคการ
บริหารสวนตําบลหวยยาง ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม 2539 ซึ่งกําหนดใหประกาศ
กระทรวงมหาดไทยใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศมี
ผลใชบังคับ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2540) และเปนองคการบริหารสวนตําบลหนึ่งใน 5 องคการบริหารสวน
ตําบลของอําเภอโขงเจียม (อําเภอโขงเจียมประกอบดวย 5 องคการบริหารสวนตําบล คือ โขงเจียมหวยยาง
นาโพธิ์กลาง หนองแสงใหญ และหวยไผ) จังหวัดอุบลราชธานี
ตราสัญลักษณ
ตราสัญลักษณองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนรูปตนยาง
นาซึ่งเปนตนไมที่มีมากที่สุดในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในขณะนั้น
ประกอบกับชื่อองคการบริหารสวนตําบลหวยยางและตนยางนามีความคลองจองกัน
คณะผูบริหารโดยนายคงคา วงศชมพู ประธานกรรมการบริหารองคการบริหาร
สวนตําบลหวยยาง ซึ่งเปนคณะผูบริหารในขณะนั้นไดขอความอนุเคราะหออกแบบ
ตราสัญลักษณดังกลาว จึงได นายกิตติ นวลอินทร คุณครูโรงเรียนบานหวยยาง
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 อุบลราชธานี เปนผูออกแบบ และเริ่ม
ใชหลังจากเปลี่ยนแปลงฐานะเปน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนตนมา
6.1 โครงสรางและกระบวนการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล
องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีฐานะเปนนิติบุคคล และเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น
องคประกอบแบงได 2 สวน คือ
1) สภาองคการบริหารสวนตําบลทําหนาที่นิติบัญญัติและควบคุมฝายบริหาร ประกอบดวย
สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนในหมูบาน จํานวน 22 คน (หมูบานละ
2 คน) อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาองคการบริหารสวนตําบล มีประธานสภา 1 คน รองประธานสภา
1 คน ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตามมติของสมาชิกสภาองคการบริหาร
สวนตําบล
2) คณะผูบริหารทําหนาที่บริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลตามกฎหมาย
ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2 คน
และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 1 คน ซึ่งนายกองคการบริหารสวนตําบลเปนผูแตงตั้ง
ตารางแสดง จํานวนบุคลากรฝายบริหารองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประกอบดวย
ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง
1 นายคําแดง เกษชาติ นายก อบต.
2 นางแดง ทองคํา รองนายก อบต.
3 นายประกิจ รมโพธิ์ รองนายก อบต.
4 นายกัญญา พิมพทรัพย เลขานายก อบต.
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 17
ตาราง แสดงบัญชีรายชื่อสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง
1 นายธนาสิน อิ่นแกว ประธานสภา อบต.
2 นางสาวนงคาร จวงจันทร รองประธานสภา อบต.
3 นางพนิตนันท วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต.
4 นายประสันต บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู 1
5 นายขันอาษา พิมพวงษ สมาชิกสภา อบต. หมู 2
6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู 2
7 นายบัวเครือ จันทรสด สมาชิกสภา อบต. หมู 3
8 นางสมนึก โคตะนนท สมาชิกสภา อบต. หมู 3
9 นายชุมพล ปสสาคํา สมาชิกสภา อบต. หมู 4
10 นายแสงทอง สองแสง สมาชิกสภา อบต. หมู 4
11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู 5
12 นายอารุณ อาจารีย สมาชิกสภา อบต. หมู 5
13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู 6
14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู 7
15 นางสาวสุบรรณ ขันแกว สมาชิกสภา อบต. หมู 7
16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู 8
17 นายทองแดง หอมพันธ สมาชิกสภา อบต. หมู 8
18 นายประวิทย แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู 9
19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู 9
20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู 10
21 นางคําเพียร แพงพนม สมาชิกสภา อบต. หมู 10
22 นายอภินันท รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู 11
23 นายสมคิด หวยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู 11
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 18
การบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปน
ผูบังคับบัญชา ของพนักงาน และเจาหนาที่รับผิดชอบงานประจําทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล โดยแบงสวน
การบริหารงานออกเปน 1 สํานัก 4กอง โดยมีหัวหนาสวนราชการ เรียกวา หัวหนาสํานัก และผูอํานวยการ
เปนผูบังคับบัญชาของสวนราชการภายใน มีลักษณะโครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
ดังนี้
โครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
6.2 อัตรากําลังของเจาหนาที่ องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
สํานัก/กอง พนักงานสวนตําบล พนักงานจางภารกิจ พนักงานจางทั่วไป รวม
1. สํานักปลัด 7 7 6 20
2. กองคลัง 2 3 - 5
3. กองชาง
4. กองการศึกษา
5. กองสวัสดิการสังคม
2
1
2
3
5
1
1
8
-
6
14
3
รวม 14 19 15 48
สํานักงานปลัดองคการบริหารสวนตําบล
พนักงานสวนตําบล
1. นางพนิตนันท วีสเพ็ญ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับกลาง)
2. จาเอก หาญชัย ลาวัลย รองปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับตน)
3. จาเอก เชี่ยวชาญ จวงจันทร หัวหนาสํานักปลัด (นักบริหารงานทั่วไป ระดับตน)
4. นางทัศนีย นิยมวงค นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
5. จาเอก ชาติชาย จวงจันทร เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน
6. นายเสริมศักดิ์ อักษรดี เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยชํานาญงาน
7. นายสัญ แปลงศรี นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ
ผู้บริหาร
ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
สํานักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 19
พนักงานจางภารกิจ
1. นางสาวปทมาศ พิสิษธนะกร ผูชวยเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน
2. นางสาวศุภลักษณ วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการประชาสัมพันธ
3. นางสาวภัสสร วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการสุขาภิบาล
4. นางสาวณิชนันทน รินทาง ผูชวยเจาหนาที่บันทึกขอมูล
5. นางสาวลักษณารีย นาโพธิ์ ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ
6. นายเทียนชัย คํามั่น พนักงานขับรถยนต (ผูมีทักษะ)
7. - วาง- ผูชวยเจาหนาที่การเกษตร
พนักงานจางทั่วไป
1. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง
2. นายเอกดนัย คําศรี คนงานทั่วไป
3. นายวรเทพ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย)
4. นายประยุทธ จันทะเค คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานสาธารณสุขชุมชน)
5. นายคําปน ศรีหา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน 1669)
6. นายสิงหาร ตุมทอง คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน 1669)
กองคลัง
พนักงานสวนตําบล
1. นางสาวปรารถนา ทาทอง ผูอํานวยการกอกงคลัง (นักบริหารงานการคลัง ระดับตน)
2. นางชลธิชา วรเลิศ เจาพนักงานจัดเก็บรายไดชํานาญงาน
พนักงานจางภารกิจ
1. นางแสนสุข ละมูล ผูชวยนักวิชาการเงินและบัญชี
2. นางสาวภัสนันต รมโพธิ์ ผูชวยเจาหนาที่จัดเก็บรายได
3. นางสาวปริศนา สวัสดิ์พงษ ผูชวยเจาหนาที่พัสดุ
กองชาง
พนักงานสวนตําบล
1. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน ผูอํานวยการกองชาง (นักบริหารงานชาง ระดับตน)
2. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายชางโยธาชํานาญงาน
พนักงานจางภารกิจ
1. นายภุชพงษ สืบสิงห ผูชวยชางโยธา
2. วาที่ รต.ญ ฐิยณัฐ จริยเวชชวัฒนา ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ (กองชาง)
3. นายพอเจตน หวยยาง ผูชวยชางเขียนแบบ
พนักงานจางทั่วไป
1. นายวีระศักดิ์ พลที คนงานทั่วไป (ชางไฟฟา)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563

More Related Content

What's hot

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่jab bph
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 

What's hot (18)

แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
0003
00030003
0003
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 

Viewers also liked

16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.คkrupornpana55
 
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงานเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงานอบต. เหล่าโพนค้อ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 

Viewers also liked (8)

16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
 
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงานเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดระดับส่วนราชการและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
คค
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563

แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...Somyoch Comesite
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...Kanjana thong
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 Satapon Yosakonkun
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)Kanjana thong
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553pentanino
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นSurasak Tumthong
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปสปสช นครสวรรค์
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 (20)

แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
ส่วนที่ 6 แผนสามปี
ส่วนที่ 6 แผนสามปีส่วนที่ 6 แผนสามปี
ส่วนที่ 6 แผนสามปี
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
 
01 1
01 101 1
01 1
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ผลการดำเนินงานประจำป...
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
 
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
รายงานผลงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559-2560)
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
 
Operation plan
Operation planOperation plan
Operation plan
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผนคู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางองค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง (8)

ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
 
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
 
ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงานรายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน
 

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563

  • 1. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ. 2560 - 2563) งานนโยบายและแผน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง โทร./โทรสาร. 0-4584-8214
  • 2. คํานํา การวางแผนเปนกระบวนการอันสําคัญยิ่งในการบริหาร เพราะแผนเปนสิ่งชี้ใหเห็นถึงเปาหมาย และวิธีดําเนินการเพื่อใหเกิดความสําเร็จในเปาหมายนั้นๆ แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวน ตําบลหวยยาง จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาทองถิ่น ซึ่งไดกําหนดทิศทางเพื่อนําไปสูเปาหมายการพัฒนา ทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผน ชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการพัฒนาทองถิ่น แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดทําขึ้นโดยคํานึงถึงความ เปนไปไดในทางปฏิบัติ พิจารณาถึงสภาพปญหาความจําเปนเรงดวนของปญหาที่เกิดขึ้น ความตองการของ ประชาชนเปนสําคัญ โดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวมของทองถิ่นเปนหลัก ซึ่งจะนําไปสูการปฏิบัติหลังจากผาน การนําเสนอโครงการ ไดรับความเห็นชอบ และอนุมัติโครงการตามขั้นตอน การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดสําเร็จลุลวงดวยดีจาก ความรวมมือของคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผน คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประชาคมทองถิ่นเปนอยางดี องคการบริหารสวนตําบลหวยยางจึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผน คณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา บทที่ 1 บทนํา 1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1 วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2 ขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2 ประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 5 บทที่ 2 สภาพทั่วไป และขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 6 สภาพทั่วไป ลักษณะที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ จํานวนประชากรฯลฯ 6 โครงสรางและกระบวนการบริหารงานบุคคล 16 จุดยืนทางยุทธศาสตร 23 บทที่ 3 แผนยุทธศาสตรและการวิเคราะหศักยภาพพัฒนาทองถิ่น 26 กรอบแนวคิดในการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาทองถิ่น 26 วิสัยทัศนและพันธกิจการพัฒนาทองถิ่น 41 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตรการพัฒนาของ อปท. 44 แผนที่ยุทธศาสตร 45 บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แบบ ยท. 04 56 
  • 4. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 1 บทที่ 1 บทนํา ตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน ทองถิ่น พ.ศ. 2542 ไดบัญญัติใหมีองคกรรับผิดชอบในการจัดทําแผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น คือ คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกําหนดหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริการสาธารณะที่จําเปนแกทองถิ่น ตลอดจนรายไดของทองถิ่นที่เพิ่มขึ้น การ ดําเนินการบริการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกๆ ดานใหเกิดประโยชนสูงสุด มีความโปรงใส สามารถ ตรวจสอบไดทุกขั้นตอน การวางแผนในการดําเนินการบริหารจึงเปนกลไกที่สําคัญที่ทําใหการบริหารเปนรูปแบบ และมีทิศทาง การกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาที่สมดุลและมีประสิทธิภาพ จะสงผลใหองคกรปกครองสวน ทองถิ่นสามารถดําเนินการบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แกไขปญหาไดตรงจุด อันเกิดประโยชนแกสวนรวม และบรรลุตามความมุงหมาย ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ไดกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการ พัฒนา หมายถึง “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทองถิ่นที่กําหนดยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนาของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งแสดงถึง วิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดย สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ และแผนชุมชน” เปนแผนระยะยาวเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นในดานสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม แตไมไดกําหนดหวงระยะเวลาของแผนยุทธศาสตร การพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไว ดังนั้น การกําหนดหวงระยะเวลาแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจึง ขึ้นอยูกับแนวคิดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตขางหนา ดังนั้น การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาจึงมีความสําคัญตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปน อยางยิ่ง เพราะเปนแนวทางการกําหนดทิศทางในอนาคตขององคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยกําหนดสภาพการณ ที่ตองการบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปน ระบบ ทั้งนี้ ตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น ปญหา ความตองการของประชาชนในทองถิ่น ซึ่งลวนเปน สภาวการณในการกําหนดทิศทางการพัฒนาอันจะนําพาไปสูสภาพการณอันพึงประสงคไดอยางเทาทันกับการ เปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่กําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน พันธกิจ และจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการ พัฒนาทองถิ่นของคณะผูบริหารทองถิ่น การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนามีความสําคัญตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนอยางยิ่ง เนื่องจากแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเปนแผนพัฒนาที่มุงไปสูสภาพการณที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตเปน กระบวนการและกรอบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหมุงไปสูสภาพการณอัน
  • 5. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 2 พึงประสงคไดอยางเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางมี ประสิทธิภาพ และการกําหนดสภาพการณที่ตองการบรรลุและแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการรวบรวม และวิเคราะหขอมูลอยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้งตองสอดคลองกับศักยภาพของทองถิ่น และปญหา/ ความตองการของประชาชนในทองถิ่นไดอยางแทจริง 1.2 วัตถุประสงคของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. เพื่อเปนเครื่องมือในการกําหนดทิศทางในการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 2. เพื่อใหการพัฒนาทองถิ่นมีทิศทางที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายรัฐบาล และนโยบายในการพัฒนาทองถิ่น 3. เพื่อเปนการกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายในการพัฒนาไวลวงหนาในการที่จะดําเนินงาน ตามแผนงาน/โครงการตางๆ 4. เพื่อใหสามารถนําไปสูการแกไขปญหาและตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยาง แทจริง 5. เพื่อใชเปนกรอบในการดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาสามป 6. เพื่อใหมีการพัฒนาทองถิ่นอยางตอเนื่อง 1.3 ขั้นตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 ขอ 16 ไดกําหนดขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ดังนี้ 1. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่นจัดประชุมประชาคมทองถิ่น สวนราชการ และรัฐวิสาหกิจที่ เกี่ยวของ เพื่อแจงแนวทางการพัฒนาทองถิ่น รับทราบปญหา ความตองการประเด็นการพัฒนาและประเด็นที่ เกี่ยวของตลอดจนความชวยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนํามากําหนด แนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา โดยใหนําขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหนวยงานตางๆ และขอมูล ในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น รวบรวมแนวทางและขอมูลนํามา วิเคราะห เพื่อจัดทํารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาแลวเสนอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น 3. คณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น พิจารณารางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา เพื่อเสนอผูบริหาร ทองถิ่น 4. ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา และประกาศใชแผน ยุทธศาสตรการพัฒนา สําหรับองคการบริหารสวนตําบลใหผูบริหารทองถิ่นเสนอรางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาตอสภา องคการบริหารสวนตําบล เพื่อใหความเห็นชอบกอน แลวผูบริหารทองถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใชแผน ยุทธศาสตรการพัฒนาตอไป ในการดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา มีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2548 กําหนดใหมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาไว แตมิไดกําหนดหวงระยะเวลาของแผน ยุทธศาสตรการพัฒนาวาเปนแผนระยะกี่ป ดังนั้น องคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถพิจารณาวาจะทําแผน
  • 6. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาของตน ตามแนวคิดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นวาในอนาคตขางหนายาวนานเพียงใด ประกอบกับขอมูล ปญหาที่ตองการการแกไข และอาจกําหนดใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนชุมชน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของการพัฒนา ทองถิ่น ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญ เก็บรวบรวมขอมูลและปญหาสําคัญของทองถิ่น โดยใหนําแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการ จัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา พรอมทั้งจัดลําดับความสําคัญของปญหารวม 5 เกณฑ ประกอบดวย 1. ขนาดของกลุมคนที่ไดประโยชน 2. ความรายแรงและเรงดวนของปญหา 3. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4.การยอมรับรวมกันของชุมชน 5. ความเปนไปไดในการแกไขปญหา/การดําเนินการ ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของทองถิ่นในปจจุบัน การประเมินสถานภาพของทองถิ่นในปจจุบัน ตองวิเคราะหถึงโอกาส และภาวะคุกคาม หรือ ขอจํากัด อันเปนสภาวะแวดลอมภายนอกที่มีผลตอการพัฒนาดานตางๆ ของทองถิ่น รวมทั้งการวิเคราะห จุดออน จุดแข็งของทองถิ่น อันเปนสภาพวะแวดลอมภายในทองถิ่น โดยใชเทคนิค SWOT Analysis การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength = S) เปนการพิจารณาปจจัยภายในของหนวยงานในสวนที่ดี ความเขมแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ สวนที่สงเสริมความสําเร็จซึ่งจะพิจารณาในดานตางๆ การวิเคราะหจุดออน (Weakness=W) เปนการพิจารณาปจจัยภายในหนวยงานวามีสวนเสีย ความออนแอ ขอจํากัด ความไมพรอม ซึ่งจะพิจารณาในดานตางๆ เชนเดียวกับการวิเคราะหจุดแข็ง SWOT Analysis ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S = Strength จุดแข็ง W = Weah จุดอ่อน SWOT ประเด็น O = Opportunity โอกาส T = Threat อุปสรรค
  • 7. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 4 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity=O) เปนการศึกษาสภาพแวดลอมภายนอกวามีสภาพเปน อยางไร โดยพิจารณาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองและเทคโนโลยี การวิเคราะหปญหาอุปสรรคหรือขอจํากัด (Threat =T) เปนการศึกษาสภาพแวดลอม ภายนอกที่เปนอุปสรรคหรือภาวะคุกคาม กอใหเกิดผลเสีย โดยพิจารณาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครอง และเทคโนโลยี ขั้นตอนที่ 4 การกําหนดวิสัยทัศนและภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น นําขั้นตอนที่ 2และ ขั้นตอนที่ 3 มากําหนดวิสัยทัศน และภารกิจหลักการพัฒนาทองถิ่น วิสัยทัศน (Vision) หมายถึง ถอยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณในอุดมคติ ซึ่งเปน “จุด เหมาะ” ที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตขางหนา ภารกิจ (Mission) หมายถึง ขอความหรือถอยแถลงที่แสดงถึงลักษณะหรือขอบขายในการ ดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวกับลักษณะการบริหารและการจัดบริการสาธารณะ รวมทั้ง แนวคิดเกี่ยวกับองคกรหรือภาพลักษณที่ตองการนําเสนอและปณิธาน หรือปรัชญาในการดําเนินงานขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น เปนขอบเขตของบทบาทหนาที่หลัก หรือขอบเขตของกิจกรรมที่มุงเนนเปนพิเศษที่องคกร ปกครองสวนทองถิ่นจะตองดําเนินการเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนที่กําหนดไว ขั้นตอนที่ 5 การกําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การนําเอาวิสัยทัศนและภารกิจหลักมาพิจารณากําหนดจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปน การกําหนดขอบเขตหรือประเภทของกิจกรรมที่ควรดําเนินการ เพื่อสนับสนุนหรือนําไปสูการบรรลุวิสัยทัศนและ ภารกิจหลักที่กําหนดไว ขั้นตอนที่ 6 การกําหนดวัตถุประสงคการพัฒนาทองถิ่น เปนการกําหนดผลสําเร็จที่ตองการ โดยดําเนินการหลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ทองถิ่นจะตอง ทําแลว เพื่อนําทองถิ่นไปใหบรรลุความตองการที่จะเปนในอนาคต ขั้นตอนที่ 7 การกําหนดและการบูรณาการแนวทางการพัฒนาทองถิ่น เมื่อไดกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจหลัก วัตถุประสงคและยุทธศาสตรการพัฒนาโดยอาศัยพื้นฐาน การวิเคราะห SWOT แลว ขั้นตอไป คือ กําหนดแนวทางการพัฒนาทองถิ่นซึ่งแนวทางการพัฒนาทองถิ่น หมายถึง แนวคิดหรือ วิธีที่แยบคายอันบงบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององคกรวาจะกาวไปสูเปาหมายที่ตองการใน อนาคตไดอยางไร ขั้นตอนที่ 8 การกําหนดเปาหมายการพัฒนาทองถิ่น เปนการกําหนดปริมาณ หรือจํานวนสิ่งที่ตองการใหบรรลุในแตละแนวทางการพัฒนา ภายใน เวลาที่กําหนด ขั้นตอนที่ 9 การอนุมัติและประกาศใชแผนยุทธศาสตรการพัฒนา คณะกรรมการสนับสนุนการวางแผนพัฒนาทองถิ่น นําผลที่ไดจากขั้นตอนที่ 1- 8 มาจัดทําราง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น เพื่อ พิจารณาและปรับปรุงกอนนําเสนอตอผูบริหารทองถิ่น
  • 8. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 5 1.4 ประโยชนของการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนา 1. สามารถใชเปนกรอบทิศทางในการปฏิบัติงานไดอยางชัดเจน เหมาะสมทําใหการปฏิบัติงาน เปนไปในทิศทางเดียวกัน ลดความซ้ําซอนและการสิ้นเปลืองทรัพยากรในการบริหาร 2. เปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนพัฒนาสามป งบประมาณรายจายประจําป และ แผนการดําเนินงานประจําปได 3. เปนแนวทางใหทองถิ่นสามารถบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความ ตองการของชุมชน/หมูบาน 4. สามารถกํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาได 
  • 9. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 6 บทที่ 2 สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 1. สภาพทั่วไป 1.1 ลักษณะที่ตั้ง สํานักงาน ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ตั้งอยูที่ บานหนองฮี หมู 2 องคการ บริหารสวนตําบลหวยยาง อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 37 ไร โดยประมาณหางจากที่วาการ อําเภอโขงเจียม ประมาณ 16.7 กิโลเมตร หางจากอําเภอเมืองอุบลราชธานีประมาณ 102 กิโลเมตร และหาง จากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ 720 กิโลเมตร องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 140 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 87,500 ไร มีอาณาเขตติดตอกับหนวยปกครองทองถิ่นอื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม และองคการบริหารสวนตําบลนาโพธิ์กลาง ทิศใต ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ และองคการบริหารสวนตําบล หนองแสงใหญ ทิศตะวันออก ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ ทิศตะวันตก ติดตอกับองคการ บริหารสวนตําบลคําไหล องคการบริหารสวนตําบลนาคํา อําเภอศรีเมืองใหม 1.2 เขตการปกครอง องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง แบงเขตการปกครองออกเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 หมูบาน ตาราง แสดงจํานวนครัวเรือนแบบแบงเขตหมูบาน หมู ชื่อหมูบาน จํานวนครัวเรือน 1 หวยยาง 254 2 หนองฮี 207 3 นาบัว 172 4 โพนแพง 238 5 ดงดิบ 261 6 ดงแถบ 253 7 บะไห 281 8 เหลาเจริญ 88 9 นาบัว 138 10 ดงแถบ 177 11 นาดอนใหญ 93 รวม 2,162
  • 10. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 7 1.3 ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเปนดิน รวนปนทรายมีปาไม คอนขางสมบูรณ มีลําหวยไหลผานที่สําคัญคือ ลําหวยยาง หวยเรือ หวยบัว รองดุน รองหินรองลับ รองหนองฮี รองโปงเชือก รองแขนหัก รองหวยหมาก รองดงดิบ รองหินลาด หวยหนองผือ รองขุม หวยชอง 1.4 ลักษณะภูมิอากาศ มี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว 1.5 ประชากร สถิติจํานวนประชากรในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ณ เดือนกรกฎาคม 2559 มีจํานวน 8,640 คน เปนชาย 4,438 คน และหญิง จํานวน 4,202 คน อัตราการเจริญเติบโตของ ประชากรในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากรลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น ขอมูลจํานวนประชากรปรากฏตามตาราง โดยประชากรในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางจะอาศัยอยูอยาง หนาแนนในบานหวยยาง จํานวนประชาชนจําแนกตามหมูบาน ปรากฏตามตารางที่ 1.5.2 ตาราง แสดงจํานวนประชากรและจํานวนบานในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ป พ.ศ. 2556 - 2559 รายการ ปปจจุบัน (2559) ปที่แลว (2558) 1ปที่แลว (2557) 2 ปที่แลว (2556) ประชากรชาย (คน) 4,438 4,358 4,281 4,155 ประชากรหญิง (คน) 4,202 4,136 4,060 3,935 รวมประชากร (คน) 8,640 8,494 8,341 8,090 บาน (หลังคาเรือน) 2,162 2,086 1,993 1,971 ตาราง แสดงจํานวนประชากรจําแนกตามหมูบาน หมูที่ ชื่อหมูบาน ประชากร รวมจํานวน ชาย หญิง ประชากร 1 หวยยาง 592 571 1,163 2 หนองฮี 432 410 842 3 นาบัว 344 334 678 4 โพนแพง 531 512 1,043 5 ดงดิบ 557 517 1,074 6 ดงแถบ 412 3778 790 7 บะไห 577 491 1,068 8 เหลาเจริญ 196 186 382 9 นาบัว 293 270 563 10 ดงแถบ 318 342 660 11 นาดอนใหญ 186 191 377 รวม 4,438 4,202 8,640
  • 11. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 8 จากสถิติขอมูลดานประชากรของสํานักทะเบียนราษฎรอําเภอโขงเจียม นับไดวาองคการบริหาร สวนตําบลหวยยาง เปนสังคมผูสูงอายุเนื่องจากจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชาชนในวัยแรกเกิด – 3 ป มี เพียง 242 คน แตอัตราผูสูงอายุมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกป ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีประชาชน ชวงอายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน847 คน จํานวนผูสูงอายุจําแนกตามหมูบาน ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน หมูที่ ชื่อหมูบาน ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ 60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน 1 หวยยาง 66 43 16 7 132 2 หนองฮี 43 24 12 0 79 3 นาบัว 23 22 16 1 62 4 โพนแพง 57 31 13 1 102 5 ดงดิบ 60 33 14 1 108 6 ดงแถบ 45 27 5 2 79 7 บะไห 53 31 8 0 92 8 เหลาเจริญ 16 16 2 1 35 9 นาบัว 38 19 6 1 64 10 ดงแถบ 37 21 6 0 64 11 นาดอนใหญ 21 4 2 0 27 รวม 459 271 100 14 844 ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม 1 หวยยาง 39 2 หนองฮี 14 3 นาบัว 25 4 โพนแพง 37 5 ดงดิบ 21 6 ดงแถบ 18 7 บะไห 27 8 เหลาเจริญ 13 9 นาบัว 15 10 ดงแถบ 7 11 นาดอนใหญ 7 รวม 223
  • 12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 9 2. สภาพทางเศรษฐกิจ (1) อาชีพ ประชาชนมีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยมีครัวเรือนประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีจํานวน มากที่สุด และมีการประกอบอาชีพรับจาง รับราชการ เลี้ยงสัตว ง รองลงมาตามลําดับ (2) เกษตรกรรม องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีบริเวณพื้นที่การเกษตรกรรมของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งพื้นที่ เกษตรกรรมสวนใหญเปนพื้นที่ทํานา ปลูกยางพาราและมันสําปะหลัง เปนตน (3) อุตสาหกรรม ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการทําอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (มีคนงานต่ํากวา 10 คน หรือมีทรัพยสินไมเกิน 1 ลานบาทขึ้นไป มีดังนี้ 1) รานรับซื้อยางพารา 7 แหง 2) รานรับซื้อมันสด – มันเสน 2 แหง (4) การพาณิชย กิจการพาณิชยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีอัตราการเจริญเติบโตและการขยายตัว ทางการคาและการประกอบธุรกิจพาณิชยแบบทรงตัว (คงที่) และไมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในทิศทางบวก ใน องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ปรากฏตามตาราง ตาราง แสดงรายชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ที่ รหัสทะเบียน ชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจ ชุมชน ที่ตั้ง/โทรศัพท จํานวนสมาชิก 1 4-34-03-02/1-003 ผลิตภัณฑไมไผลําไมไผงาม 169 หมู 2 7 2 4-34-03-02/1-0002 ผาฝายยอมสีธรรมชาติบานหนองฮี 51 หมู 1 , 099-1322926 17 3 4-34-03-02/1-0001 กลุมแมบานเกษตรกรบานดงดิบ 165 หมู 5, 097-6255576 20 4 4-34-03-02/1-0009 กลุมปลูกมันสําปะหลังบานาบัวใต 48 หมู 9 13 5 4-34-03-02/1-0008 ชาวสวนยางพาราบานดงแถบ 9 หมู 10 7 6 4-34-03-02/1-0023 พลังงานทดแทนโรงเรียนศรีแสงธรรม 212 หมู 5 11 7 4-34-03-02/1-0022 ชาวสวนยาง (กลุมบะไห) 243 หมู 7 54 8 4-34-03-02/1-0021 บานไมศิลป 185 หมู 2 10 9 4-34-03-02/1-0020 ชาวสวนยาง (กลุมผาแตม) 80 หมู 7, 085-1040966 36
  • 13. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 10 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดใหความสําคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย มีภารกิจ 3 ดาน ดังนี้ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัย 2. การจัดการสงเสริมกีฬา นันทนาการและกิจกรรมเด็กเยาวชน 3. การดําเนินงานดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น ในปจจุบัน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดจํานวน 6 แหง ใหการศึกษาในระดับกอนวัยเรียน (อนุบาล) นอกจากนี้ ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีโรงเรียน สังกัดการศึกษาของเอกชน จํานวน 1 โรง ศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 6.ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ โรงเรียนสังกัดเอกชน 1. โรงเรียนศรีแสงธรรม เปดสอนในระดับมัธยมศึกษา(เปดสอนในระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 - 6) ตาราง แสดงจํานวนนักเรียนในศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียน ประจําปการศึกษา 1/2559 โรงเรียน จํานวน รวม ชาย หญิง 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 37 39 76 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 19 28 47 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 12 9 21 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 10 16 26 5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 9 14 23 6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ 9 16 25 รวม 96 122 218
  • 14. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 11 3.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา ประชาชนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณี วัฒนธรรมพื้นบานที่ปฏิบัติสืบทอดตอกันมา ในการทําบุญประเพณีในวันสําคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาล ประเพณีตางๆเปนประจําทุกป โดยมีศาสนสถานตางๆ ดังนี้ 1. วัดบรมคงคา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหวยยาง หมูที่ 1 2. วัดหนองฮี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2 3. สํานักสงฆถ้ําชางสาร ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2 4. วัดสวางสมดี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3 5. ที่พักสงฆดอนชาติพัฒนา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3 6. วัดโพนแพง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานโพนแพง หมูที่ 4 7. วัดปาดงเย็น ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5 8. วัดปาศรีแสงธรรม ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5 9. วัดดงแถบ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 10. สํานักสงฆถ้ําชางศรี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 11. สํานักสงฆภูจันแดง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 12. สํานักฐานพรตภูผา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 13. สํานักสงฆฐานประชุมทิพย ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 14. วัดพุทธไพรสน (บานบะไห) ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7 15. สํานักสงฆวัดถ้ําสิงห ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7 16. วัดเหลาเจริญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานเหลาเจริญ หมูที่ 8 17. สํานักสงฆหวยเรือ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9 18. สํานักสงฆภูหินกอง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9 19. สํานักสงฆพลาญศิลาอาสน ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 10 20. ที่พักสงฆนาดอนใหญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาดอนใหญ หมูที่ 11 3.3 การสาธารณสุข องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการจัดบริการสาธารณะทางดานการรักษาพยาบาลเบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคใหแกประชาชนในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางได อยางสะดวกทั่วถึง สําหรับการใหบริการดานการแพทยฉุกเฉิน มีจํานวนประชาชนเขารับบริการจากหนวยแพทย ฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนจํานวนมาก โดยดําเนินการใหบริการดานการรักษาพยาบาล เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคติดตอ นอกจากนี้ ยังมีการบริหารงานทางดานการควบคุมและปองกันโรคพิษสุนัขบา โดยองคการ บริหารสวนตําบลหวยยาง ดําเนินการใหบริการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแกสุนัขและแมว ฉีดยาคุมกําเนิด ทําหมัน แกไขเหตุเดือดรอนรําคาญจากสุนัข แมวจรจัด จากคํารอง/หนังสือของประชาชนที่แจงใหองคการบริหาร สวนตําบลหวยยางดําเนินการ โดยไดรับความรวมมือจากสํานักงานปศุสัตวอําเภอโขงเจียม
  • 15. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 12 3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศักยภาพทางดานการใหบริการดานความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินอยูในระดับสูง โดยเปรียบเทียบจากพื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบและความสามารถในการใหบริการ การควบคุมดูแล กลาวคือ ความพรอมสูงทั้งดานอัตรากําลังพนักงาน เจาหนาที่ และวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช ตางๆ อยางครบครัน จํานวนเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มี 30 อัตรา ดังนี้ 1. ขาราชการ/พนักงานสวนทองถิ่น จํานวน 1 อัตรา 2. พนักงานจาง จํานวน 1 อัตรา 3. จางเหมาบริการบุคคล ดานงานปองกันฯ จํานวน 3 อัตรา นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีการฝกอบรมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพล เรือน เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการใหความชวยเหลือทางดานสาธารณภัยตางๆ แกผูเขารับการอบรม ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน จํานวน 166 คน ความพรอมทางดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติหนาที่ 1.รถยนตบรรทุกน้ําใชอเนกประสงค จํานวน 1 คัน 2.เครื่องดับเพลิงชนิดถัง จํานวน 64 ถัง 3.เครื่องเลื่อยยนต จํานวน 1 เครื่อง 4.วิทยุสื่อสารชนิดมือถือ จํานวน 5 เครื่อง 5.เต็นทขนาดใหญและเล็ก จํานวน 4 หลัง 6.วิทยุสื่อสารประจําที่ จํานวน 1 เครื่อง 7. เครื่องโทรศัพท จํานวน 1 เครื่อง 8.เครื่องพิมพดีด จํานวน 1 เครื่อง 9. เครื่องดับเพลิงชนิดสะพายหลัง จํานวน 5 เครื่อง 10. ปายจราจรหยุดตรวจ จํานวน 4 ปาย 11. เสื้อชูชีพ จํานวน 5 ตัว 12. หมวกจราจร จํานวน 9 ใบ 13. กระบองไฟจราจร จํานวน 11 อัน 14. เชือกชวยชีวิตกูภัย ยาว 34 เมตร จํานวน 1 เสน 15. ไฟฉาย จํานวน 4 อัน
  • 16. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 13 4. การบริการขั้นพื้นฐาน 4.1 การโทรคมนาคม 1. ระบบเครือขายโทรศัพท 4 ระบบ - บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน - บริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) - บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) - บริษัท เรียลมูฟ จํากัด 2. ระบบอินเตอรเน็ต5ระบบ - บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน - บริษัท ทริปเปลทรี อินเตอรเน็ต จํากัด - บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (มหาชน) - บริษัท ดีแทค เนทเวอรค จํากัด(มหาชน) - บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 4.2 การคมนาคม การคมนาคมในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีทางหลวงชนบทหมายเลข 2134 เปนถนน เชื่อมตออําเภอศรีเมืองใหม ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2135 เชื่อมตอองคการบริหารสวนตําบลหนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม และถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2112 เปนถนนเชื่อตออําเภอโขงเจียม นอกจากนี้ ยังมี ถนนที่ไดรับการพัฒนาโดยงบประมาณจากหนวยงานราชการเพื่อเชื่อมหมูบานตางๆ ภายในองคการบริหารสวน ตําบล การคมนาคมภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนเสนทางการจราจรที่ยังไมสะดวก ราบรื่นเทาใดนัก เนื่องจากถนนบางสาย/บางระยะ ยังคงเปนถนนลูกรัง ซึ่งประชาชนจะประสบปญหาในชวงฤดู ฝนของทุกป ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ดานการพัฒนา ถนนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนทั้งดานการคมนาคมขนสง การอํานวยความสะดวกเดินทางสัญจรไป มาของประชาชน ทั้งหมด 87 สาย แบงเปน 1. ถนนคอนกรีต จํานวน 54 สาย 2. แอสฟลทติก จํานวน 3 สาย 3. ถนนลาดยาง จํานวน 4 สาย 4. ถนนลูกรัง จํานวน 13 สาย 5. ถนนหินคลุก จํานวน 3 สาย 6. ถนนคันดิน จํานวน 10 สาย
  • 17. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 14 4.3 การประปา ครัวเรือนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางรับบริการน้ําประปาของหมูบาน โดย มีแหลงน้ําในแตละหมูบานสําหรับกักเก็บน้ําในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประชากรในเขตองคการบริหาร สวนตําบลที่ใชบริการมีทั้งสิ้น 985 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 45.53 และประชากรที่ไมไดใชบริการมีทั้งสิ้น 540 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ จากครัวเรือนทั้งหมดจํานวน2,622หลังคาเรือน และมียังคงมีหมูบานที่ตองการให ขยายเขตประปาเพื่อใหมีน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคตลอดทั้งป ตาราง แสดงขอมูลการใหบริการประปาในเขตองคการบริหารสวนตําบล ที่ ชื่อหมูบาน/ชุมชน จํานวน ครัวเรือน ทั้งหมด จํานวน ประชากร ทั้งหมด กรณีประปาของหมูบาน จํานวน ครัวเรือน ที่ไดรับ น้ําประปา จํานวน ครัวเรือน ที่เหลือที่ ไมไดรับ น้ําประปา หากมีครัวเรือ ที่เหลือ (ไมได ใชน้ําประปา) ใชน้ําจาก แหลงใด ครัวเรือนที่ เหลือสามารถ รับน้ําจากการ ประปาสวน ภูมิภาคได หรือไม แบบ (บาดาล/ผิว ดิน) ความจุ หอถัง (ลบ.ม.) 1 หวยยาง ผิวดิน/บาดาล 30/10 162 85 บาดาลสวนตัว/ บอ ไมได 2 หนองฮี ผิวดิน/บาดาล 30/10 132 61 บาดาลสวนตัว/ บอ ไมได 3 นาบัว บาดาล 10 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล) 4 โพนแพง บาดาล 10 153 70 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 5 ดงดิบ บาดาล 30 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล) 6 ดงแถบ บาดาล 10 67 142 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 7 บะไห บาดาล 10 121 136 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 8 เหลาเจริญ บาดาล 15 83 1 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 9 นาบัว บาดาล 10 112 19 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 10 ดงแถบ บาดาล 10 94 63 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 11 นาดอนใหญ บาดาล 10 61 24 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได รวม 985 540 ที่มา : กองชางองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ขอมูล ณ เดือน เมษายน 2559
  • 18. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 15 4.4 การไฟฟา ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางประชาชนไดรับการบริการจายกระแสไฟฟาจากการไฟฟา สวนภูมิภาค อําเภอโขงเจียม เพื่อการใชกระแสไฟฟาภายในครัวเรือน และการประกอบกิจการตางๆ และมีไฟฟา ใชเกือบทุกครัวเรือน หรือรอยละ 99.99 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด การใหบริการไฟฟาสาธารณะแกประชาชนในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนไปเพื่อให ถนนหนทางและพื้นที่สาธารณะมีแสงสวางที่เพียงพอเหมาะสมประชาชนไดรับความปลอดภัยในการสัญจรของผูใช ถนนหนทางมีความปลอดภัยและชวยลดปญหาการกออาชญากรรมของโจรผูรายพรอมทั้งเสริมสรางบรรยากาศ แวดลอมใหนาอยูอาศัย ในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีการใหบริการไฟฟาสาธารณะบริเวณแนวถนนสายหลัก แนวถนนสายรองเปนตน 4.5 การระบายน้ํา ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการระบาย น้ํา จากอาคารบานเรือน รานคา ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาระบบทอระบายน้ําฝนทั้งถนนสายหลักและสายรองแลว ระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ที่สําคัญลําหวยยางและลําหวยยอยตางๆ และจากสภาพดังกลาวประกอบกับการ เติบโตและการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลอยางรวดเร็ว จากชุมชนที่มีลักษณะเปนชุมชนชนบทเปน ชุมชนเกษตรกรรมมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอระบบสาธารณูปโภคที่มีอยูเดิม โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบการ ระบายน้ําที่มีไมเพียงพอหรืออยูในสภาพที่ไมสมบูรณและในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังคงใชการระบาย น้ําตามธรรมชาติและแผกระจายซึมลงไปในพื้นดิน บางแหงระบายน้ําไมทัน ทําใหเกิดน้ําทวมขังบางในชวงฤดูฝน 5. แหลงทรัพยากรธรรมชาติ 5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ - ปาไม ทรัพยากรปาไมยังมีความอุดมสมบูรณ สภาพพื้นที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติดงภูโหลน - ดิน มีลักษณะเปนดินรวนปนทรายคอนขางขาดความอุดมสมบูรณ 5.2 แหลงทองเที่ยว ตําบลหวยยาง มีแหลงทองเที่ยวที่มีธรรมชาติสวยงาม 3 แหง คือ น้ําตกถ้ําพวง น้ําตกกลูจอ น้ําตกแสนเมือง และน้ําตกถ้ําพวง เปนน้ําตกซึ่งไหลลงลําหวยเรือ อยูที่บานนาบัวใต หมูที่ 9 เปนเขตปาสงวน ดงภูหลน และบริเวณระหวางน้ําตกถ้ําพวงถึงน้ําตกกลูจอ และน้ําตกแสนเมือง มีกลุมเสาหินเฉลียงตั้งซอนกัน หลายแหง ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่บานนาบัวหมูที่ 3 สถานที่ทองเที่ยว 3 แหง อยูหางจากอําเภอโขงเจียม ประมาณ 27 กิโลเมตร ปาในเขตดงภูหลน มีความอุดมสมบูรณ มีตนไมขนาดใหญ สัตว สมุนไพร และของปานานาชนิด เหมาะสําหรับการศึกษาธรรมชาติในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม จะมีนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวชม และมี การเดินปา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ป
  • 19. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 16 6. การบริหาร องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีที่ตั้งอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปน หนวยงานราชการสวนทองถิ่น เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนองคการ บริหารสวนตําบลหวยยาง ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม 2539 ซึ่งกําหนดใหประกาศ กระทรวงมหาดไทยใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศมี ผลใชบังคับ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2540) และเปนองคการบริหารสวนตําบลหนึ่งใน 5 องคการบริหารสวน ตําบลของอําเภอโขงเจียม (อําเภอโขงเจียมประกอบดวย 5 องคการบริหารสวนตําบล คือ โขงเจียมหวยยาง นาโพธิ์กลาง หนองแสงใหญ และหวยไผ) จังหวัดอุบลราชธานี ตราสัญลักษณ ตราสัญลักษณองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนรูปตนยาง นาซึ่งเปนตนไมที่มีมากที่สุดในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในขณะนั้น ประกอบกับชื่อองคการบริหารสวนตําบลหวยยางและตนยางนามีความคลองจองกัน คณะผูบริหารโดยนายคงคา วงศชมพู ประธานกรรมการบริหารองคการบริหาร สวนตําบลหวยยาง ซึ่งเปนคณะผูบริหารในขณะนั้นไดขอความอนุเคราะหออกแบบ ตราสัญลักษณดังกลาว จึงได นายกิตติ นวลอินทร คุณครูโรงเรียนบานหวยยาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 อุบลราชธานี เปนผูออกแบบ และเริ่ม ใชหลังจากเปลี่ยนแปลงฐานะเปน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนตนมา 6.1 โครงสรางและกระบวนการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีฐานะเปนนิติบุคคล และเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น องคประกอบแบงได 2 สวน คือ 1) สภาองคการบริหารสวนตําบลทําหนาที่นิติบัญญัติและควบคุมฝายบริหาร ประกอบดวย สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนในหมูบาน จํานวน 22 คน (หมูบานละ 2 คน) อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาองคการบริหารสวนตําบล มีประธานสภา 1 คน รองประธานสภา 1 คน ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตามมติของสมาชิกสภาองคการบริหาร สวนตําบล 2) คณะผูบริหารทําหนาที่บริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลตามกฎหมาย ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2 คน และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 1 คน ซึ่งนายกองคการบริหารสวนตําบลเปนผูแตงตั้ง ตารางแสดง จํานวนบุคลากรฝายบริหารองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประกอบดวย ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง 1 นายคําแดง เกษชาติ นายก อบต. 2 นางแดง ทองคํา รองนายก อบต. 3 นายประกิจ รมโพธิ์ รองนายก อบต. 4 นายกัญญา พิมพทรัพย เลขานายก อบต.
  • 20. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 17 ตาราง แสดงบัญชีรายชื่อสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง 1 นายธนาสิน อิ่นแกว ประธานสภา อบต. 2 นางสาวนงคาร จวงจันทร รองประธานสภา อบต. 3 นางพนิตนันท วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต. 4 นายประสันต บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู 1 5 นายขันอาษา พิมพวงษ สมาชิกสภา อบต. หมู 2 6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู 2 7 นายบัวเครือ จันทรสด สมาชิกสภา อบต. หมู 3 8 นางสมนึก โคตะนนท สมาชิกสภา อบต. หมู 3 9 นายชุมพล ปสสาคํา สมาชิกสภา อบต. หมู 4 10 นายแสงทอง สองแสง สมาชิกสภา อบต. หมู 4 11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู 5 12 นายอารุณ อาจารีย สมาชิกสภา อบต. หมู 5 13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู 6 14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู 7 15 นางสาวสุบรรณ ขันแกว สมาชิกสภา อบต. หมู 7 16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู 8 17 นายทองแดง หอมพันธ สมาชิกสภา อบต. หมู 8 18 นายประวิทย แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู 9 19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู 9 20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู 10 21 นางคําเพียร แพงพนม สมาชิกสภา อบต. หมู 10 22 นายอภินันท รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู 11 23 นายสมคิด หวยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู 11
  • 21. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 18 การบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปน ผูบังคับบัญชา ของพนักงาน และเจาหนาที่รับผิดชอบงานประจําทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล โดยแบงสวน การบริหารงานออกเปน 1 สํานัก 4กอง โดยมีหัวหนาสวนราชการ เรียกวา หัวหนาสํานัก และผูอํานวยการ เปนผูบังคับบัญชาของสวนราชการภายใน มีลักษณะโครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ดังนี้ โครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 6.2 อัตรากําลังของเจาหนาที่ องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง สํานัก/กอง พนักงานสวนตําบล พนักงานจางภารกิจ พนักงานจางทั่วไป รวม 1. สํานักปลัด 7 7 6 20 2. กองคลัง 2 3 - 5 3. กองชาง 4. กองการศึกษา 5. กองสวัสดิการสังคม 2 1 2 3 5 1 1 8 - 6 14 3 รวม 14 19 15 48 สํานักงานปลัดองคการบริหารสวนตําบล พนักงานสวนตําบล 1. นางพนิตนันท วีสเพ็ญ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับกลาง) 2. จาเอก หาญชัย ลาวัลย รองปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับตน) 3. จาเอก เชี่ยวชาญ จวงจันทร หัวหนาสํานักปลัด (นักบริหารงานทั่วไป ระดับตน) 4. นางทัศนีย นิยมวงค นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ 5. จาเอก ชาติชาย จวงจันทร เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน 6. นายเสริมศักดิ์ อักษรดี เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยชํานาญงาน 7. นายสัญ แปลงศรี นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ ผู้บริหาร ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล สํานักปลัด กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม รองปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
  • 22. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563 องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด องคการบริหารสวนตําบล 19 พนักงานจางภารกิจ 1. นางสาวปทมาศ พิสิษธนะกร ผูชวยเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 2. นางสาวศุภลักษณ วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการประชาสัมพันธ 3. นางสาวภัสสร วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการสุขาภิบาล 4. นางสาวณิชนันทน รินทาง ผูชวยเจาหนาที่บันทึกขอมูล 5. นางสาวลักษณารีย นาโพธิ์ ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ 6. นายเทียนชัย คํามั่น พนักงานขับรถยนต (ผูมีทักษะ) 7. - วาง- ผูชวยเจาหนาที่การเกษตร พนักงานจางทั่วไป 1. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง 2. นายเอกดนัย คําศรี คนงานทั่วไป 3. นายวรเทพ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย) 4. นายประยุทธ จันทะเค คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานสาธารณสุขชุมชน) 5. นายคําปน ศรีหา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน 1669) 6. นายสิงหาร ตุมทอง คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน 1669) กองคลัง พนักงานสวนตําบล 1. นางสาวปรารถนา ทาทอง ผูอํานวยการกอกงคลัง (นักบริหารงานการคลัง ระดับตน) 2. นางชลธิชา วรเลิศ เจาพนักงานจัดเก็บรายไดชํานาญงาน พนักงานจางภารกิจ 1. นางแสนสุข ละมูล ผูชวยนักวิชาการเงินและบัญชี 2. นางสาวภัสนันต รมโพธิ์ ผูชวยเจาหนาที่จัดเก็บรายได 3. นางสาวปริศนา สวัสดิ์พงษ ผูชวยเจาหนาที่พัสดุ กองชาง พนักงานสวนตําบล 1. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน ผูอํานวยการกองชาง (นักบริหารงานชาง ระดับตน) 2. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายชางโยธาชํานาญงาน พนักงานจางภารกิจ 1. นายภุชพงษ สืบสิงห ผูชวยชางโยธา 2. วาที่ รต.ญ ฐิยณัฐ จริยเวชชวัฒนา ผูชวยเจาหนาที่ธุรการ (กองชาง) 3. นายพอเจตน หวยยาง ผูชวยชางเขียนแบบ พนักงานจางทั่วไป 1. นายวีระศักดิ์ พลที คนงานทั่วไป (ชางไฟฟา)