SlideShare a Scribd company logo
1 of 170
Download to read offline
สวนที่ 1 /1
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
สวนที่สวนที่ ๑๑
1. ดานกายภาพ
1.1 ที่ตั้งของหมูบาน/ชุมชน/ตําบล
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ตําบลหวยยาง เปนที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเปนดินรวนปนทราย และ
มีลําหวยไหลผานพื้นที่ตําบลตามแนวเขตหมูบาน
1. ที่ราบลุมลําหวยยาง อยูในพื้นที่บานหวยยาง บานหนองฮี บานโพนแพง บานดงแถบ
(หมู 6) บานเหลาเจริญ และบานดงแถบ (หมู 10)
2. ที่ราบลุมลําหวยบัว อยูในพื้นที่บานนาบัว (หมู 3) บานนาบัว (หมู 9) และบานนา
ดอนใหญ
ตําบลหวยยาง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 145.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 93,937.50 ไร
มีอาณาเขตติดตอกับหนวยปกครองทองถิ่นอื่นๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม
และองคการบริหารสวนตําบลนาโพธิ์กลาง
ทิศใต ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ และองคการบริหาร
สวนตําบลหนองแสงใหญ
ทิศตะวันออก ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ ทิศตะวันตก ติดตอกับ
องคการบริหารสวนตําบลคําไหล องคการบริหารสวนตําบล
นาคํา อําเภอศรีเมืองใหม
สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐาน
สวนที่ 1 /2
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพอากาศของจังหวัดอุบลราชธานี แบงออกเปน 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และ ฤดู
หนาว อากาศรอนอบอาวในฤดูรอน และหนาวเย็นมากในฤดูหนาว เ ดือนที่มีอากาศรอนอบอาวมากที่สุด คือ
เดือนเมษายน และหนาวเย็นที่สุดคือเดือนมกราคม
1.4 ลักษณะของดิน
ลักษณะดินโดยทั่วไปเปนดินรวนปนทราย ประมาณ 80 % ดินลูกรังประมาณ ๑0 %
ลักษณะดินในพื้นที่เปนดินเหนียวประมาณ ๑๐ %
1.5 ลักษณะของแหลงน้ํา
- แหลงน้ํา ที่สําคัญของตําบลชวยหลอเลี้ยงประชาชนในตําบลหวยยางใหมีอยู มีกินและ
ประกอบอาชีพ คือ หวยยาง หวยเรือ หวยบัว รองดุน รองหินลับ รองหนองฮี รองโปงเชือก รองแขนหัก
รองหวยหมาก รองดงดิบ รองหินลาด หวยหนองผือ รองขุม หวยชอง
- น้ําอุปโภค ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีระบบประปาหมูบานในความดูแล
รับผิดชอบ จํานวน 20 บอสูบ ซึ่งคอนขางเพียงพอความตองการของประชาชน จํานวน 9 หมูบาน และ
ประปาหมูบานดงดิบ หมู 5 เดิมนั้นคณะกรรมการหมูบานบริหารจัดการเอง แตปจจุบันคณะกรรมการ
หมูบานไดดําเนินการโอนถายภารกิจคืนใหกับองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ดูแลและบริหารจัดการ ใน
ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ระบบประปาบานนาบัว หมู 3 บริหารจัดการโดยคณะกรรมการของหมูบาน)
- น้ําบริโภค ประชาชนจะดื่มน้ําจากการรองน้ําฝนใสโอง/ตุม และซื้อจากผูประกอบการใน
ชุมชนที่ทําเปนธุรกิจขนาดยอม ขายในราคาไมแพง
- น้ําเพื่อการเกษตร ปจจุบันเกษตรกรชาวตําบลหวยยาง ใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติ
และคลองสาธารณะในการทําการเกษตรเปนหลัก
1.6 ลักษณะของไม/ปาไม
ตําบลหวยยาง มีพื้นที่ปาไมเหลือนอย และมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรม เนื่องจากปาถูกตัด
ทําลาย แผวถาง เพื่อทําสวนยางพารา ไรมันสําปะหลัง และทํานา
2. ดานการเมือง/การปกครอง
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนหนวยงานหลัก สังกัดกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
กระทรวงมหาดไทย มีหนาที่ดูแลและบริหารจัดการ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ในเขตพื้นที่ตําบลหวยยาง
สํานักงานที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ตั้งอยู หมู 2 ตําบลหวยยาง อําเภอโขงเจียม จังหวัด
อุบลราชธานี มีเนื้อที่ 37 ไร โดยประมาณ หางจากที่วาการอําเภอโขงเจียมประมาณ 16.7 กิโลเมตร หาง
จากอําเภอเมืองอุบลราชธานีประมาณ 102 กิโลเมตร และหางจากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ
720 กิโลเมตร
2.1 เขตการปกครอง
ตําบลหวยยาง แบงเขตการปกครองออกเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 หมูบาน
สวนที่ 1 /3
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
2.2 การเลือกตั้ง
ตําบลหวยยาง แบงเขตการเลือกตั้งเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 เขตเลือกตั้ง
3. ประชากร
3.1 ขอมูลเกี่ยวกับจํานวนประชากร
สถิติจํานวนประชากรในเขตตําบลหวยยาง ณ เดือนธันวาคม 2559 มีจํานวน 9,074 คน
เปนชาย 4,661 คน และหญิง จํานวน 4,413 คน อัตราการเจริญเติบโตของประชากรในพื้นที่ตําบล หวย
ยางมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากรลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น โดยประชากรในเขตตําบลหวยยาง จะ
อาศัยอยูอยางหนาแนนในบานหวยยาง จํานวนประชาชนจําแนกตามหมูบานปรากฏตามตารางดานลาง
ตาราง แสดงสถิติจํานวนครัวเรือนและประชากรแบบแบงเขตหมูบาน ป พ.ศ. 2557 - 2560
หมู ชื่อหมูบาน
จํานวนครัวเรือน จํานวนประชากร
2557 2558 2559 2560 2557 2558 2559 2560
1 หวยยาง 250 252 254 267 1,158 1,161 1,163 1,220
2 หนองฮี 199 202 207 218 825 831 842 885
3 นาบัว 171 172 172 181 660 666 678 712
4 โพนแพง 232 236 238 250 1,027 1033 1,043 1,095
5 ดงดิบ 252 256 261 275 1,051 1060 1,074 1,128
6 ดงแถบ 242 250 253 266 785 791 790 830
7 บะไห 269 275 281 295 1,012 1,024 1,068 1,122
8 เหลาเจริญ 86 86 88 98 369 372 382 401
9 นาบัว 136 137 138 144 546 555 563 592
10 ดงแถบ 162 175 177 186 633 639 660 693
11 นาดอนใหญ 87 92 93 98 353 362 377 396
รวม 2,086 2,133 2,162 2,278 8,419 8,494 8,640 9,074
สวนที่ 1 /4
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
3.2 ชวงอายุและจํานวนประชากร
ตาราง แสดงชวงอายุและจํานวนประชากรในตําบลหวยยาง ป พ.ศ. 2558 - 2560
รายการ
ปปจจุบัน (2560) ปที่แลว (2559) 2 ปที่แลว (2558)
หมายเหตุ
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
ประชากรเยาวชน 1,403 1,306 1,336 1,243 1,172 1,250 ต่ํากวา 18 ป
ประชากร 2,835 2,645 2,703 2,519 1,850 2,120 18 – 60 ป
ประชากรผูสูงอายุ 423 462 399 440 1,044 1,058 60 ปขึ้นไป
รวม (คน) 9,074 8,640 8,494
ตาราง แสดงจํานวนประชากรจําแนกตามหมูบาน
หมูที่ ชื่อหมูบาน
ประชากร รวมจํานวน
ชาย หญิง ประชากร
1 หวยยาง 622 598 1,220
2 หนองฮี 454 431 885
3 นาบัว 361 351 712
4 โพนแพง 557 538 1,095
5 ดงดิบ 585 543 1,128
6 ดงแถบ 433 397 830
7 บะไห 606 516 1,122
8 เหลาเจริญ 206 195 401
9 นาบัว 308 284 592
10 ดงแถบ 334 359 693
11 นาดอนใหญ 195 201 396
รวม 4,461 4,413 9,074
จากสถิติขอมูลดานประชากรของสํานักทะเบียนราษฎรอําเภอโขงเจียม นับไดวาตําบล
หวยยาง เปนสังคมผูสูงอายุเนื่องจากจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชาชนในวัยแรกเกิด – 3 ป มีเพียง
242 คน แตอัตราผูสูงอายุมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกป ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีประชาชนชวง
อายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 885 คน
สวนที่ 1 /5
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน (พ.ศ. 2559)
หมูที่ ชื่อหมูบาน
ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ
60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน
1 หวยยาง 66 43 16 7 132
2 หนองฮี 43 24 12 0 79
3 นาบัว 23 22 16 1 62
4 โพนแพง 57 31 13 1 102
5 ดงดิบ 60 33 14 1 108
6 ดงแถบ 45 27 5 2 79
7 บะไห 53 31 8 0 92
8 เหลาเจริญ 16 16 2 1 35
9 นาบัว 38 19 6 1 64
10 ดงแถบ 37 21 6 0 64
11 นาดอนใหญ 21 4 2 0 27
รวม 459 271 100 14 844
ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน (พ.ศ. 2560)
หมูที่ ชื่อหมูบาน
ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ
60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน
1 หวยยาง 67 46 16 4 133
2 หนองฮี 48 28 12 0 88
3 นาบัว 35 18 17 0 70
4 โพนแพง 60 32 14 1 107
5 ดงดิบ 69 32 16 1 118
6 ดงแถบ 43 29 5 2 79
7 บะไห 50 35 9 0 94
8 เหลาเจริญ 16 15 3 0 34
9 นาบัว 38 23 6 1 68
10 ดงแถบ 36 25 5 0 66
11 นาดอนใหญ 21 5 2 0 28
รวม 483 288 105 9 885
สวนที่ 1 /6
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน (พ.ศ. 2559)
หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม
1 หวยยาง 39
2 หนองฮี 14
3 นาบัว 25
4 โพนแพง 37
5 ดงดิบ 21
6 ดงแถบ 18
7 บะไห 27
8 เหลาเจริญ 13
9 นาบัว 15
10 ดงแถบ 7
11 นาดอนใหญ 7
รวม 223
ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน (พ.ศ. 2560)
หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม
1 หวยยาง 57
2 หนองฮี 20
3 นาบัว 32
4 โพนแพง 42
5 ดงดิบ 28
6 ดงแถบ 22
7 บะไห 35
8 เหลาเจริญ 15
9 นาบัว 18
10 ดงแถบ 15
11 นาดอนใหญ 10
รวม 294
สวนที่ 1 /7
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
(1) อาชีพ
ประชาชนมีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยมีครัวเรือนประกอบอาชีพเกษตรกรรมมี
จํานวนมากที่สุด และมีการประกอบอาชีพรับจาง รับราชการ เลี้ยงสัตว รองลงมาตามลําดับ
(2) เกษตรกรรม
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีบริเวณพื้นที่การเกษตรกรรมของประชาชนในพื้นที่ ซึ่ง
พื้นที่เกษตรกรรมสวนใหญเปนพื้นที่ทํานา ปลูกยางพาราและมันสําปะหลัง เปนตน
(3) อุตสาหกรรม
ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการทําอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (มีคนงานต่ํากวา 10 คน
หรือมีทรัพยสินไมเกิน 1 ลานบาทขึ้นไป มีดังนี้
1) รานรับซื้อยางพารา 7 แหง
2) รานรับซื้อมันสด – มันเสน 2 แหง
(4) การพาณิชย
กิจการพาณิชยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีอัตราการเจริญเติบโตและการ
ขยายตัวทางการคาและการประกอบธุรกิจพาณิชยแบบทรงตัว (คงที่) และไมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในทิศ
ทางบวก ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ปรากฏ
ตามตาราง
ตาราง แสดงรายชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน
ที่ รหัสทะเบียน
ชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจ
ชุมชน
ที่ตั้ง/โทรศัพท จํานวนสมาชิก
1 4-34-03-02/1-003 ผลิตภัณฑไมไผลําไมไผงาม 169 หมู 2 7
2 4-34-03-02/1-0002 ผาฝายยอมสีธรรมชาติบานหนองฮี 51 หมู 1 , 099-1322926 17
3 4-34-03-02/1-0001 กลุมแมบานเกษตรกรบานดงดิบ 165 หมู 5, 097-6255576 20
4 4-34-03-02/1-0009 กลุมปลูกมันสําปะหลังบานาบัวใต 48 หมู 9 13
5 4-34-03-02/1-0008 ชาวสวนยางพาราบานดงแถบ 9 หมู 10 7
6 4-34-03-02/1-0023 พลังงานทดแทนโรงเรียนศรีแสงธรรม 212 หมู 5 11
7 4-34-03-02/1-0022 ชาวสวนยาง (กลุมบะไห) 243 หมู 7 54
8 4-34-03-02/1-0021 บานไมศิลป 185 หมู 2 10
9 4-34-03-02/1-0020 ชาวสวนยาง (กลุมผาแตม) 80 หมู 7, 085-1040966 36
สวนที่ 1 /8
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดใหความสําคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย มีภารกิจ
3ดาน ดังนี้
1. การจัดการศึกษาปฐมวัย
2. การจัดการสงเสริมกีฬา นันทนาการและกิจกรรมเด็กเยาวชน
3. การดําเนินงานดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น
ในปจจุบัน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดจํานวน
6 แหง ใหการศึกษาในระดับกอนวัยเรียน (อนุบาล) นอกจากนี้ ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมี
โรงเรียนสังกัดการศึกษาของเอกชน จํานวน 1 โรง
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี
2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว
3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง
4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ
5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห
6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ
โรงเรียนสังกัดเอกชน
1. โรงเรียนศรีแสงธรรม เปดสอนในระดับมัธยมศึกษา(เปดสอนในระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-6)
ตาราง แสดงจํานวนนักเรียนในศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียน ประจําปการศึกษา 2559 - 2560
โรงเรียน ปการศึกษา 2559 ปการศึกษา 2560
1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 76 79
2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 47 53
3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 21 24
4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 26 31
5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 23 32
6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ 25 30
รวม 218 249
สวนที่ 1 /9
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
3.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา
ประชาชนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณี
วัฒนธรรมพื้นบานที่ปฏิบัติสืบทอดตอกันมา ในการทําบุญประเพณีในวันสําคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาล
ประเพณีตางๆเปนประจําทุกป โดยมีศาสนสถานตางๆ ดังนี้
1. วัดบรมคงคา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหวยยาง หมูที่ 1
2. วัดหนองฮี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2
3. สํานักสงฆถ้ําชางสาร ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2
4. วัดสวางสมดี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3
5. ที่พักสงฆดอนชาติพัฒนา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3
6. วัดโพนแพง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานโพนแพง หมูที่ 4
7. วัดปาดงเย็น ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5
8. วัดปาศรีแสงธรรม ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5
9. วัดดงแถบ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
10. สํานักสงฆถ้ําชางศรี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
11. สํานักสงฆภูจันแดง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
12. สํานักฐานพรตภูผา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
13. สํานักสงฆฐานประชุมทิพย ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6
14. วัดพุทธไพรสน (บานบะไห) ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7
15. สํานักสงฆวัดถ้ําสิงห ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7
16. วัดเหลาเจริญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานเหลาเจริญ หมูที่ 8
17. สํานักสงฆหวยเรือ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9
18. สํานักสงฆภูหินกอง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9
19. สํานักสงฆพลาญศิลาอาสน ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 10
20. ที่พักสงฆนาดอนใหญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาดอนใหญ หมูที่ 11
3.3 การสาธารณสุข
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการจัดบริการสาธารณะทางดานการรักษาพยาบาล
เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคใหแกประชาชนในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบล
หวยยางไดอยางสะดวกทั่วถึง
สําหรับการใหบริการดานการแพทยฉุกเฉิน มีจํานวนประชาชนเขารับบริการจากหนวยแพทย
ฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนจํานวนมาก โดยดําเนินการใหบริการดานการรักษาพยาบาล
เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคติดตอ
สวนที่ 1 /10
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
นอกจากนี้ ยังมีการบริหารงานทางดานการควบคุมและปองกันโรคพิษสุนัขบา โดยองคการ
บริหารสวนตําบลหวยยาง ดําเนินการใหบริการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแกสุนัขและแมว ฉีดยาคุมกําเนิด
ทําหมัน แกไขเหตุเดือดรอนรําคาญจากสุนัข แมวจรจัด จากคํารอง/หนังสือของประชาชนที่แจงใหองคการ
บริหารสวนตําบลหวยยางดําเนินการ โดยไดรับความรวมมือจากสํานักงานปศุสัตวอําเภอโขงเจียม
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศักยภาพทางดานการใหบริการดานความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพยสินอยูในระดับสูง โดยเปรียบเทียบจากพื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบและความสามารถในการใหบริการ
การควบคุมดูแล กลาวคือ ความพรอมสูงทั้งดานอัตรากําลังพนักงาน เจาหนาที่ และวัสดุอุปกรณเครื่องมือ
เครื่องใชตางๆ อยางครบครัน
จํานวนเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มี 5 อัตรา ดังนี้
1. ขาราชการ/พนักงานสวนทองถิ่น จํานวน 1 อัตรา
2. พนักงานจาง จํานวน 1 อัตรา
3. จางเหมาบริการบุคคล พนักงานดับเพลิง จํานวน 3 อัตรา
นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีการฝกอบรมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพล
เรือน เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการใหความชวยเหลือทางดานสาธารณภัยตางๆ แกผูเขารับการอบรม
ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน จํานวน 166 คน
ความพรอมทางดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติหนาที่
1. รถยนตบรรทุกน้ําอเนกประสงค จํานวน 1 คัน
2. เครื่องดับเพลิงชนิดถัง จํานวน 64 ถัง
3. เครื่องเลื่อยยนต จํานวน 1 เครื่อง
4. วิทยุสื่อสารชนิดมือถือ จํานวน 5 เครื่อง
5. เต็นทขนาดใหญและเล็ก จํานวน 4 หลัง
6. วิทยุสื่อสารประจําที่ จํานวน 1 เครื่อง
7. เครื่องโทรศัพท จํานวน 1 เครื่อง
8. เครื่องพิมพดีด จํานวน 1 เครื่อง
9. เครื่องดับเพลิงชนิดสะพายหลัง จํานวน 5 เครื่อง
10. ปายจราจรหยุดตรวจ จํานวน 4 ปาย
11. เสื้อชูชีพ จํานวน 5 ตัว
12. หมวกจราจร จํานวน 9 ใบ
13. กระบองไฟจราจร จํานวน 11 อัน
14. ไฟฉาย จํานวน 4 อัน
สวนที่ 1 /11
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
4. การบริการขั้นพื้นฐาน
4.1 การโทรคมนาคม
1. ระบบเครือขายโทรศัพท 4 ระบบ
- บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน
- บริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)
- บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)
- บริษัท เรียลมูฟ จํากัด
2. ระบบอินเตอรเน็ต5ระบบ
- บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน
- บริษัท ทริปเปลทรี อินเตอรเน็ต จํากัด
- บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (มหาชน)
- บริษัท ดีแทค เนทเวอรค จํากัด(มหาชน)
- บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด
4.2 การคมนาคม
การคมนาคมในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีทางหลวงชนบทหมายเลข 2134 เปน
ถนนเชื่อมตออําเภอศรีเมืองใหม ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2135 เชื่อมตอองคการบริหารสวนตําบล
หนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม และถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2112 เปนถนนเชื่อตออําเภอโขงเจียม
นอกจากนี้ ยังมีถนนที่ไดรับการพัฒนาโดยงบประมาณจากหนวยงานราชการเพื่อเชื่อมหมูบานตางๆ ภายใน
องคการบริหารสวนตําบล
การคมนาคมภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนเสนทางการจราจรที่ยังไม
สะดวกราบรื่นเทาใดนัก เนื่องจากถนนบางสาย/บางระยะ ยังคงเปนถนนลูกรัง ซึ่งประชาชนจะประสบปญหา
ในชวงฤดูฝนของทุกป
ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ดานการพัฒนา
ถนนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนทั้งดานการคมนาคมขนสง การอํานวยความสะดวกเดินทางสัญจรไป
มาของประชาชน ทั้งหมด 87 สาย แบงเปน
1. ถนนคอนกรีต จํานวน 54 สาย
2. แอสฟลทติก จํานวน 3 สาย
3. ถนนลาดยาง จํานวน 4 สาย
4. ถนนลูกรัง จํานวน 13 สาย
5. ถนนหินคลุก จํานวน 3 สาย
6. ถนนคันดิน จํานวน 10 สาย
สวนที่ 1 /12
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
4.3 การประปา
ครัวเรือนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางรับบริการน้ําประปาของหมูบาน
โดยมีแหลงน้ําในแตละหมูบานสําหรับกักเก็บน้ําในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประชากรในเขตองคการ
บริหารสวนตําบลที่ใชบริการมีทั้งสิ้น 985 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 45.53 และประชากรที่ไมไดใชบริการมี
ทั้งสิ้น 540 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ จากครัวเรือนทั้งหมดจํานวน2,622หลังคาเรือน และมียังคงมีหมูบานที่
ตองการใหขยายเขตประปาเพื่อใหมีน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคตลอดทั้งป
ตาราง แสดงขอมูลการใหบริการประปาในเขตองคการบริหารสวนตําบล
ที่ ชื่อหมูบาน/ชุมชน
จํานวน
ครัวเรือน
ทั้งหมด
จํานวน
ประชากร
ทั้งหมด
กรณีประปาของหมูบาน
จํานวน
ครัวเรือน
ที่ไดรับ
น้ําประปา
จํานวน
ครัวเรือน
ที่เหลือที่
ไมไดรับ
น้ําประปา
หากมีครัวเรือ
ที่เหลือ (ไมได
ใชน้ําประปา)
ใชน้ําจาก
แหลงใด
ครัวเรือนที่
เหลือสามารถ
รับน้ําจากการ
ประปาสวน
ภูมิภาคได
หรือไม
แบบ
(บาดาล/ผิว
ดิน)
ความจุ
หอถัง
(ลบ.ม.)
1 หวยยาง ผิวดิน/บาดาล 30/10 162 85
บาดาลสวนตัว/
บอ
ไมได
2 หนองฮี ผิวดิน/บาดาล 30/10 132 61
บาดาลสวนตัว/
บอ
ไมได
3 นาบัว บาดาล 10 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล)
4 โพนแพง บาดาล 10 153 70 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
5 ดงดิบ บาดาล 30 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล)
6 ดงแถบ บาดาล 10 67 142 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
7 บะไห บาดาล 10 121 136 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
8 เหลาเจริญ บาดาล 15 83 1 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
9 นาบัว บาดาล 10 112 19 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
10 ดงแถบ บาดาล 10 94 63 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
11 นาดอนใหญ บาดาล 10 61 24 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได
รวม 985 540
ที่มา : กองชางองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ขอมูล ณ เดือน เมษายน 2559
สวนที่ 1 /13
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
4.4 การไฟฟา
ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางประชาชนไดรับการบริการจายกระแสไฟฟาจากการไฟฟา
สวนภูมิภาค อําเภอโขงเจียม เพื่อการใชกระแสไฟฟาภายในครัวเรือน และการประกอบกิจการตางๆ และมีไฟฟา
ใชเกือบทุกครัวเรือน หรือรอยละ 99.99 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด
การใหบริการไฟฟาสาธารณะแกประชาชนในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนไปเพื่อให
ถนนหนทางและพื้นที่สาธารณะมีแสงสวางที่เพียงพอเหมาะสมประชาชนไดรับความปลอดภัยในการสัญจรของ
ผูใชถนนหนทางมีความปลอดภัยและชวยลดปญหาการกออาชญากรรมของโจรผูรายพรอมทั้งเสริมสราง
บรรยากาศแวดลอมใหนาอยูอาศัย ในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีการใหบริการไฟฟาสาธารณะบริเวณแนว
ถนนสายหลักแนวถนนสายรองเปนตน
4.5 การระบายน้ํา
ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการ
ระบายน้ํา จากอาคารบานเรือน รานคา ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาระบบทอระบายน้ําฝนทั้งถนนสายหลักและสาย
รองแลวระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ที่สําคัญลําหวยยางและลําหวยยอยตางๆ และจากสภาพดังกลาว
ประกอบกับการเติบโตและการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลอยางรวดเร็ว จากชุมชนที่มีลักษณะเปน
ชุมชนชนบทเปนชุมชนเกษตรกรรมมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอระบบสาธารณูปโภคที่มีอยูเดิม โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งระบบการระบายน้ําที่มีไมเพียงพอหรืออยูในสภาพที่ไมสมบูรณและในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังคง
ใชการระบายน้ําตามธรรมชาติและแผกระจายซึมลงไปในพื้นดิน บางแหงระบายน้ําไมทัน ทําใหเกิดน้ําทวมขัง
บางในชวงฤดูฝน
5. แหลงทรัพยากรธรรมชาติ
5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
- ปาไม ทรัพยากรปาไมยังมีความอุดมสมบูรณ สภาพพื้นที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติดงภูโหลน
- ดิน มีลักษณะเปนดินรวนปนทรายคอนขางขาดความอุดมสมบูรณ
5.2 แหลงทองเที่ยว
ตําบลหวยยาง มีแหลงทองเที่ยวที่มีธรรมชาติสวยงาม 3 แหง คือ น้ําตกถ้ําพวง น้ําตกกลูจอ
น้ําตกแสนเมือง และน้ําตกถ้ําพวง เปนน้ําตกซึ่งไหลลงลําหวยเรือ อยูที่บานนาบัวใต หมูที่ 9 เปนเขตปา
สงวนดงภูหลน และบริเวณระหวางน้ําตกถ้ําพวงถึงน้ําตกกลูจอ และน้ําตกแสนเมือง มีกลุมเสาหินเฉลียงตั้ง
ซอนกันหลายแหง ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่บานนาบัวหมูที่ 3 สถานที่ทองเที่ยว 3 แหง อยูหางจากอําเภอโขงเจียม
ประมาณ 27 กิโลเมตร ปาในเขตดงภูหลน มีความอุดมสมบูรณ มีตนไมขนาดใหญ สัตว สมุนไพร และของ
ปานานาชนิดเหมาะสําหรับการศึกษาธรรมชาติในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม จะมีนักทองเที่ยวเขามา
เที่ยวชม และมีการเดินปา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ป
สวนที่ 1 /14
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
6. การบริหาร
องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีที่ตั้งอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปน
หนวยงานราชการสวนทองถิ่น เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนองคการ
บริหารสวนตําบลหวยยาง ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม 2539 ซึ่งกําหนดให
ประกาศกระทรวงมหาดไทยใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
(ประกาศมีผลใชบังคับ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2540) และเปนองคการบริหารสวนตําบลหนึ่งใน 5 องคการ
บริหารสวนตําบลของอําเภอโขงเจียม (อําเภอโขงเจียมประกอบดวย 5 องคการบริหารสวนตําบล คือ โขง
เจียมหวยยาง นาโพธิ์กลาง หนองแสงใหญ และหวยไผ) จังหวัดอุบลราชธานี
ตราสัญลักษณ
ตราสัญลักษณองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนรูปตนยางนาซึ่งเปน
ตนไมที่มีมากที่สุดในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในขณะนั้น ประกอบ
กับชื่อองคการบริหารสวนตําบลหวยยางและตนยางนามีความคลองจองกัน คณะ
ผูบริหารโดยนายคงคา วงศชมพู ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวน
ตําบลหวยยาง ซึ่งเปนคณะผูบริหารในขณะนั้นไดขอความอนุเคราะหออกแบบตรา
สัญลักษณดังกลาว จึงได นายกิตติ นวลอินทร คุณครูโรงเรียนบานหวยยาง
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 อุบลราชธานี เปนผูออกแบบ และเริ่มใชหลังจากเปลี่ยนแปลง
ฐานะเปน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนตนมา
6.1 โครงสรางและกระบวนการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล
องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีฐานะเปนนิติบุคคล และเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น
องคประกอบแบงได 2 สวน คือ
1) สภาองคการบริหารสวนตําบลทําหนาที่นิติบัญญัติและควบคุมฝายบริหาร ประกอบดวย
สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนในหมูบาน จํานวน 22 คน (หมูบาน
ละ 2 คน) อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาองคการบริหารสวนตําบล มีประธานสภา 1 คน รอง
ประธานสภา 1 คน ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตามมติของสมาชิกสภา
องคการบริหารสวนตําบล
2) คณะผูบริหารทําหนาที่บริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลตามกฎหมาย
ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2 คน
และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 1 คน ซึ่งนายกองคการบริหารสวนตําบลเปนผูแตงตั้ง
สวนที่ 1 /15
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
ตารางแสดง จํานวนบุคลากรฝายบริหารองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประกอบดวย
ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง
1 นายคําแดง เกษชาติ นายก อบต.
2 นางแดง ทองคํา รองนายก อบต.
3 นายประกิจ รมโพธิ์ รองนายก อบต.
4 นายกัญญา พิมพทรัพย เลขานายก อบต.
ตาราง แสดงบัญชีรายชื่อสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง
1 นายธนาสิน อิ่นแกว ประธานสภา อบต.
2 นางสาวนงคาร จวงจันทร รองประธานสภา อบต.
3 นางพนิตนันท วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต.
4 นายประสันต บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู 1
5 นายขันอาษา พิมพวงษ สมาชิกสภา อบต. หมู 2
6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู 2
7 นายบัวเครือ จันทรสด สมาชิกสภา อบต. หมู 3
8 นางสมนึก โคตะนนท สมาชิกสภา อบต. หมู 3
9 นายชุมพล ปสสาคํา สมาชิกสภา อบต. หมู 4
10 นายแสงทอง สองแสง สมาชิกสภา อบต. หมู 4
11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู 5
12 นายอารุณ อาจารีย สมาชิกสภา อบต. หมู 5
13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู 6
14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู 7
15 นางสาวสุบรรณ ขันแกว สมาชิกสภา อบต. หมู 7
16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู 8
17 นายทองแดง หอมพันธ สมาชิกสภา อบต. หมู 8
18 นายประวิทย แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู 9
19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู 9
20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู 10
21 นางคําเพียร แพงพนม สมาชิกสภา อบต. หมู 10
22 นายอภินันท รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู 11
23 นายสมคิด หวยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู 11
สวนที่ 1 /16
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
การบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปน
ผูบังคับบัญชา ของพนักงาน และเจาหนาที่รับผิดชอบงานประจําทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล โดยแบง
สวนการบริหารงานออกเปน 1 สํานัก 4กอง โดยมีหัวหนาสวนราชการ เรียกวา หัวหนาสํานัก และ
ผูอํานวยการ เปนผูบังคับบัญชาของสวนราชการภายใน มีลักษณะโครงสรางการบริหารงานองคการบริหาร
สวนตําบลหวยยาง ดังนี้
โครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
6.2 อัตรากําลังของเจาหนาที่ องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
สํานัก/กอง พนักงานสวนตําบล พนักงานจางภารกิจ พนักงานจางทั่วไป รวม
1. สํานักปลัด 8 6 6 20
2. กองคลัง 3 3 - 6
3. กองชาง
4. กองการศึกษา
5. กองสวัสดิการสังคม
2
5
2
3
5
2
1
9
-
6
19
4
รวม 20 19 16 55
สํานักงานปลัดองคการบริหารสวนตําบล
พนักงานสวนตําบล
1. นางพนิตนันท วีสเพ็ญ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับกลาง)
2. จาเอก หาญชัย ลาวัลย รองปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับตน)
3. จาเอก เชี่ยวชาญ จวงจันทร หัวหนาสํานักปลัด (นักบริหารงานทั่วไป ระดับตน)
4. จาเอก ชาติชาย จวงจันทร เจาพนักงานธุรการ
5. นายเสริมศักดิ์ อักษรดี เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
6. นายสัญ แปลงศรี นิติกร
7. ตําแหนงวาง นักวิเคราะหนโยบายและแผน
8. ตําแหนงวาง นักทรัพยากรบุคคล
ผูบริหาร
ปลัดองคการบริหารสวน
ตําบล
สํานักปลัด กองคลัง กองชาง กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม
รองปลัดองคการบริหารสวน
ตําบล
สวนที่ 1 /17
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
พนักงานจางภารกิจ
1. นางสาวปทมาศ พิสิษธนะกร ผูชวยนักวิเคราะหนโยบายและแผน
2. นางสาวศุภลักษณ วงศชมพู ผูชวยนักประชาสัมพันธ
3. นางสาวภัสสร วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการสุขาภิบาล
4. นางสาวณิชนันทน รินทาง ผูชวยเจาพนักงานธุรการ
5. นางสาวลักษณารีย นาโพธิ์ ผูชวยเจาพนักงานธุรการ
6. นายเทียนชัย คํามั่น พนักงานขับรถยนต (ผูมีทักษะ)
พนักงานจางทั่วไป
1. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง
2. นายเอกดนัย คําศรี คนงานทั่วไป
3. นายวรเทพ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย)
4. นายประยุทธ จันทะเค คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานสาธารณสุขชุมชน)
5. นายคําปน ศรีหา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน)
6. นายสิงหาร ตุมทอง คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน)
กองคลัง
พนักงานสวนตําบล
1. นางสาวปรารถนา ทาทอง ผูอํานวยการกอกงคลัง (นักบริหารงานการคลัง ระดับตน)
2. นางชลธิชา วรเลิศ เจาพนักงานจัดเก็บรายได
3. ตําแหนงวาง เจาพนักงานพัสดุ
พนักงานจางภารกิจ
1. นางแสนสุข ละมูล ผูชวยนักวิชาการเงินและบัญชี
2. นางสาวภัสนันต รมโพธิ์ ผูชวยเจาพนักงานจัดเก็บรายได
3. นางสาวปริศนา สวัสดิ์พงษ ผูชวยเจาพนักงานพัสดุ
กองชาง
พนักงานสวนตําบล
1. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน ผูอํานวยการกองชาง (นักบริหารงานชาง ระดับตน)
2. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายชางโยธา
พนักงานจางภารกิจ
1. นายภุชพงษ สืบสิงห ผูชวยชางโยธา
2. วาที่ รต.ญ ฐิยณัฐ จริยเวชชวัฒนา ผูชวยเจาพนักงานธุรการ (กองชาง)
3. นายพอเจตน หวยยาง ผูชวยชางเขียนแบบ
สวนที่ 1 /18
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
พนักงานจางทั่วไป
1. นายวีระศักดิ์ พลที คนงานทั่วไป (ชางไฟฟา)
กองการศึกษาฯ
พนักงานสวนตําบล
1. นางนันทนภัส จันทลา ผูอํานวยการกองการศึกษา (นักบริหารงานการศึกษา ระดับตน)
2. จาเอก ธีระพงษ บุตรวัน เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน
3. นางณัฐชญาณีย สิริวรรณะกูล ครู (คศ.1)
4. นางสาววันทะนา คํามั่น ครูผูดูแลเด็ก (ครูผูชวย)
5. ตําแหนงวาง นักวิชาการศึกษา
พนักงานจางภารกิจ
1. นางสรัญญา ลาวัลย ผูชวยนักวิชาการศึกษา
2. นายวัชรชัย สีหา ผูชวยเจาหนาที่พัสดุ (กองการศึกษา)
3. นางสาววิภาพร ยืนยง ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ)
4. นางสาวเสาวลักษณ สีแสด ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ)
5. นางนาตยา ถิ่นขาม ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ)
พนักงานจางทั่วไป
1. นางรุงนภา นามวงษ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
2. นางสาวสุพรรณษา คํามั่น คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
3. นางสาวกิติยา วงศชมพู คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
4. นางฉวีวรรณ ไชโย คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
5. นายชนเดช ทิพยเสนา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
6. นางสุมิตรา ลาเถิน คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
7. นางสาวสุปรียา วันเพ็ญ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
8. นางสาวอุทัยทิพย ชาวนา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
9. นางนัฎติยา เขตสมัคร คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก)
กองสวัสดิการสังคม
พนักงานสวนตําบล
1. นางสาวอุษณีย คะบุตร ผูอํานวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการฯ ระดับตน)
2. สิบเอก กลาหาญ จวงจันทร นักพัฒนาชุมชน
สวนที่ 2 /1
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
สวนที่ ๒
๑. สรุปผลการดําเนินงานตามงบประมาณที่ไดรับ และการเบิกจายงบประมาณ ในปงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕7 – ๒๕๖0
๑.๑ สรุปสถานการณพัฒนา การตั้งงบประมาณ การเบิกจายงบประมาณ
ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาฯ
ขึ้นมา เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทําแผนพัฒนาสามป ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง อันมีลักษณะเปน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาที่
กําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทําขึ้นสําหรับปงบประมาณแตละป ซึ่งมีความตอเนื่องและ
เปนแผนกาวหนาครอบคลุมระยะเวลาสามปโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเปนประจําทุกป โดยองคการบริหาร
สวนตําบลหวยยางไดใชแผนพัฒนาสามปเปนกรอบในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป การจายขาดเงิน
สะสม เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ โครงการที่ขอใหหนวยงานอื่นมาดําเนินงานให รวมทั้งวางแนวทางเพื่อใหมีการ
ปฏิบัติใหบรรลุวัตถุประสงคตามโครงการที่กําหนดไวในแผนพัฒนาสามป
ทั้งนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการตั้งงบประมาณ การเบิกจายงบประมาณ
ดังกลาว ตามแผนพัฒนาซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้
ฐานะการคลังขององคการบริหารสวนตําบล ยอนหลัง 3 ป งบประมาณ (พ.ศ. 2557 -2560)
รายรับจริง
ปงบประมาณ
2557 2558 2559 2560
รายไดจัดเก็บ
หมวดภาษีอากร 64,662.27 69,068.18 76,790.80 30,697.04
หมวดคาธรรมเนียม คาปรับและใบอนุญาต 39,050.00 114,941.00 88,225.00 97,669.00
หมวดรายไดจากทรัพยสิน 310,280.99 316,745.64 403,269.43 214,474.95
หมวดรายไดจากสาธารณูปโภคและการพาณิชย 367,172.00 390,030.00 452,201.00 99,491.00
หมวดรายไดเบ็ดเตล็ด 323,750.00 416,110.00 263,180.00 44,570.00
หมวดรายไดจากทุน - - - -
รายไดที่รัฐบาลจัดเก็บแลวจัดสรรใหอปท.
หมวดภาษีจัดสรร 15,446,601.92 16,702,554.42 17,562,524.39 4,335,693.13
รวม 16,551,517.18 18,009,449.24 18,846,189.82 4,822,595.12
รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท.
หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 16,268,555.00 31,902,930.00 14,412,669.00 15,938,359.00
รวม 16,268,555.00 31,902,930.00 14,412,669.00 15,938,359.00
รวมทั้งสิ้น 32,820,072.18 49,912,379.24 33,258,859.62 20,760,954.12
ที่มา : ระบบบันทึกบัญชีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น http://www.laas.go.th/ ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2559
สรุปผลการพัฒนาทองถิ่นตามแผนพัฒนาทองถิ่น
(พ.ศ. ๒๕57 – ๒๕60)
สวนที่ 2 /2
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
3%
33%
64%
2558
รายไดจัดเก็บ
รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให
รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท.
3%
47%
50%
2557
รายไดจัดเก็บ
รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให
รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท.
4%
53%
43%
2559
รายไดจัดเก็บ
รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให
รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท.
2%
21%
77%
2560
รายไดจัดเก็บ
รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให
รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท.
จากสถิติขอมูลรายรับตามตาราง จะเห็นไดวา รายไดจัดเก็บเอง มีสัดสวนที่นอยที่สุด โดยใน
ปงบประมาณ 2557 สัดสวนคิดเปนรอยละ 3.37 ปงบประมาณ 2558 สัดสวนคิดเปนรอยละ 2.67
ปงบประมาณ 2559 สัดสวนคิดเปนรอยละ 3.86 และในปงบประมาณ 2560 สัดสวนคิดเปนรอยละ 2.34
จากสัดสวนงบประมาณดังกลาว ดังแสดงตามแผนภูมิภาพขางลางนี้
แผนภูมิภาพที่ แสดงรายรับขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
สวนที่ 2 /3
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
0.00
2,000,000.00
4,000,000.00
6,000,000.00
8,000,000.00
10,000,000.00
12,000,000.00
14,000,000.00
16,000,000.00
18,000,000.00
งบกลาง งบเงินอุดหนุน งบดําเนินงาน งบบุคลากร งบลงทุน
2557
2558
2559
2560
ผลการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยางในปที่ผานมาใชแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 -
2560) เปนหลักในการพัฒนาในหลายๆ ดานซึ่งการพัฒนาไดยึดถือและปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบนโยบาย
ของรัฐบาล นโยบายของผูบริหารทองถิ่น โดยเนนการแกไขปญหา และตอบสนองความตองการของประชาชน
เปนหลัก ซึ่งในการพัฒนาที่ผานมาสามารถแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นไปในทางที่ดีขึ้นสรุปไดดังตอไปนี้
ตาราง แสดงสถิติรายจายจริงขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
รายจายจริง
ปงบประมาณ
2557 2558 2559 2560
งบกลาง 753,635.53 525,314.00 636,594.00 3,706,855.00
งบเงินอุดหนุน 4,741,898.94 5,553,835.74 16,759,804.00 2,136,000.00
งบดําเนินงาน 8,675,075.71 10,105,990.63 10,524,054.06 2,856,625.92
งบบุคลากร 7,256,682.00 8,400,217.46 10,851,073.02 4,145,605.00
งบลงทุน 4,152,420.00 1,789,300.00 3,494,475.94 23,225.00
รวมทั้งสิ้น 25,579,712.18 21,376,657.83 42,266,001.02 12,868,310.92
ที่มา : ระบบบันทึกบันชีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น http://www.laas.go.th/ ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2559
แผนภูมิภาพแสดงรายจายขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
สวนที่ 2 /4
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
1.2 การประเมินผลการนําแผนพัฒนาทองถิ่นไปปฏิบัติในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชเปน
เครื่องมือในการพัฒนาตําบลหวยยางใหบรรลุเปาหมายที่วางไว เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุดในการแกไข
ปญหาใหกับประชาชน ในการจัดทําแผนพัฒนานั้นจะตองมีการติดตามและประเมินแผนพัฒนาตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไขเพิ่มเติมถึง
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๖ ขอ ๒๙ ขอ ๑๓ โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินแผนพัฒนาเปน
ผูดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ซึ่งคณะกรรมการจะตองดําเนินการกําหนดแนวทาง วิธีการใน
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา รายงานผลและเสนอ
ความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อใหผูบริหารทองถิ่นเสนอตอ
สภาทองถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น พรอมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให
ประชาชนในทองถิ่นทราบในที่เปดเผยภายในสิบหาวันนับแตวันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกลาวและตอง
ปดประกาศไวเปนระยะเวลาไมนอยกวาสามสิบวันโดยอยางนอยปละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายใน
เดือนตุลาคมของทุกป
ซึ่งแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางสามารถนําไปปฏิบัติในเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพไดดังนี้
(๑) เชิงปริมาณ
องคการบริหารสวนตําบลหวยยางสามารถดําเนินการไดเพียงรอยละ 34.68 ในปงบประมาณ
พ.ศ. 2557 รอยละ 30.76 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอยละ 41.32 ในปงบประมาณ พ.ศ.
2559 และรอยละ 44.23 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของแผนซึ่งจะเห็นไดวาองคการบริหารสวน
ตําบลหวยยางสามารถมีแนวโนมในการพัฒนากระบวนการวางแผนเพื่อการพัฒนาทองถิ่น เนื่องจากรอยละของ
การดําเนินงานเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในทุกๆ ป รายละเอียดตามตารางผลการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร
(พ.ศ. 2557 – 2560) และตารางแสดงผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 - 2560)
ผลการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร (พ.ศ. 2557 – 2560)
แผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ป ๒๕๕๗ ป ๒๕๕๘ ป ๒๕๕๙ ป ๒๕60
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
1. การพัฒนาดานสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน
122 47 121 24 141 85 63 59
2. การพัฒนาดานเศรษฐกิจชุมชน และ
เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน
18 6 18 6 18 9 22 8
3. การพัฒนาดานสังคม 130 42 142 50 270 90 193 66
4. การพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
49 16 43 14 60 26 54 27
5. การพัฒนาดานการทองเที่ยว 12 4 16 5 21 7 31 11
6. การพัฒนาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น
40 14 34 12 42 17 36 13
7. การพัฒนาดานการบริหารจัดการและ
การบริการประชาชน
47 16 42 17 111 40 87 31
รวมทั้งสิ้น 418 145 416 128 663 274 486 215
คิดเปนรอยละของยุทธศาสตรการพัฒนา 34.68 30.76 41.32 44.23
สวนที่ 2 /5
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
ผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 – 2560)
แผนพัฒนาสามป
ป ๒๕๕๗ ป ๒๕๕๘ ป ๒๕๕๙ ป ๒๕60
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
โครงการ
(เปาหมาย)
ผลการ
ดําเนินงาน
1. การพัฒนาดานสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน
47 21 24 17 85 17 59 5
2. การพัฒนาดานเศรษฐกิจชุมชน และ
เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน
6 1 6 3 9 3 8 5
3. การพัฒนาดานสังคม 42 30 50 30 90 33 66 31
4. การพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
16 3 14 4 26 4 27 5
5. การพัฒนาดานการทองเที่ยว 4 0 5 1 7 1 11 1
6. การพัฒนาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น
14 9 12 8 17 10 13 5
7. การพัฒนาดานการบริหารจัดการและ
การบริการประชาชน
16 15 17 29 40 26 31 19
รวมทั้งสิ้น 145 79 128 92 274 94 215 71
คิดเปนรอยละของยุทธศาสตรการพัฒนา 54.48 71.87 34.30 33.02
(๒) เชิงคุณภาพ
แมวารอยละของการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามปขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
จะไมบรรลุวัตถุประสงคในระดับที่นาพึงพอใจ กลาวคือรอยละ 50 ขึ้นไป แตในดานความพึงพอใจของ
ผูรับบริการหรือประชาชนผูไดรับประโยชน องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการสํารวจความพึง
พอใจเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุดตอประชาชน การประเมินความพึงพอใจทําใหทราบถึงผลเชิง
คุณภาพในการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางในภาพรวม ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจ
ของประชาชนตอการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางอยูในระดับที่ดี สรุปไดดังนี้
 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
การประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอผลการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมของ
องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในการพัฒนาและสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีในภาพรวม ตาม
ยุทธศาสตรและประเด็นการพัฒนา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ พบวาประชาชนมีความพึงพอใจใน
ระดับพอใจคิดเปนรอยละ ๖๔.๕๒ เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาผลการประเมินความพึงพอใจอยูใน ระดับ
พอใจถึง รอยละ ๖๐.๓๗ ความพอใจของประชาชนมากกวาปที่ผานมาเล็กนอยที่ ๔.๑๕ ซึ่งประเมินไดวาควร
จะมีบริหารจัดการดําเนินงานใหประชาชนเกิดความพึงพอใจมากกวานี้ หรืออยูที่รอยละ ๘๐
 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘
ประชาชนมีความพึงพอใจอยูใน ระดับพอใจ คิดเปนรอยละ ๕๓.๒๘
ระดับความพึงพอใจ
- พอใจสูงสุด รอยละ ๕๖.๙๗
- พอใจต่ําสุด รอยละ ๕๒.๑๙
ระดับความพึงพอใจ (ตามประเด็นการพัฒนา)
- พอใจสูงสุด รอยละ ๕๔.๑๔
สวนที่ 2 /6
แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง
งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด
- พอใจต่ําสุด รอยละ ๕๑.๑๙
 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ประชาชนมีความพึงพอใจอยูใน ระดับพอใจมาก คิดเปนรอยละ ๖๘.๔๒
ระดับพอใจ
- พอใจสูงสุด รอยละ ๗๑.๙๓
- พอใจต่ําสุด รอยละ ๖๕.๖๗
ระดับพอใจ
- พอใจสูงสุด รอยละ
- พอใจต่ําสุด รอยละ ๖๕.๕๓
 ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
คาดวาจะสามารถทําใหประชาชนเกิดความพึงพอใจมาก รอยละ ๗๐ ขึ้นไป
๒. ผลที่ไดรับจากการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐
๒.๑ ผลที่ไดรับหรือผลที่สําคัญ
ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินงานตางๆ ตั้งแตมีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ –
๒๕๖๐ เพื่อแกไขปญหาใหกับประชาชน และพัฒนาองคกรใหเกิดความมั่งคงในการพัฒนาเพื่อใหความเปนอยู
ของประชาชนดีขึ้น ซึ่งผลจากการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีดังนี้
๑. ประชาชนมีน้ําประปาใชรอยละ 90
๒. ประชาชนมีไฟฟาใชรอยละ 98
๓. ประชาชนมีถนนใชในการสัญจรไปมาไดสะดวก
๔. การเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ลดลงอยางเห็นไดชัด
5. เด็กเล็กกอนวัยเรียนไดรับการพัฒนาเพื่อเตรียมการกอนเขารับการศึกษาภาคบังคับทุกคน
6. ผูสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยเอดส ไดรับเงินชวยเหลือเบี้ยยังชีพทุกคน
7. ประชาชนไดรับความชวยเหลือในเรื่องที่อยูอาศัยที่มั่นคงแข็งแรง
8. ประชาชนไดรับความชวยเหลือจากสาธาณภัย
9. ปญหาไขเลือดออกลดลง
๑0. ขยะในชุมชนมีวิธีการจัดการที่ถูกตอง
๑1. ประชาชนไดรับความรูเกี่ยวกับการสาธารณสุข
๑2. ประชาชนไดรับความรูเกี่ยวกับการปองกันภัย
๑3. ประชาชนไดมีสวนรวมในการดําเนินงานตางๆ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
14. ประชาชนไดรับบริการจากงานบริการตางๆ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางดวย
ความสะดวก
15. สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดรับการปรับปรุงตอเติมและอยูในสภาพที่ดี
ขึ้น
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง

More Related Content

Similar to แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 

Similar to แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง (9)

แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปีแผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปี
 
แผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวมแผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวม
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
 
แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
Present suphan 2552
Present suphan 2552Present suphan 2552
Present suphan 2552
 
Present suphan 2552
Present suphan 2552Present suphan 2552
Present suphan 2552
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง

รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 

More from องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง (12)

ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
 
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
รายงานผลการประเมินระบบควบคุมภายใน องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปี พ.ศ. 2559
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59ข้อบัญญัติ 59
ข้อบัญญัติ 59
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงานรายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน
 

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) ขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง

  • 1.
  • 2.
  • 3. สวนที่ 1 /1 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด สวนที่สวนที่ ๑๑ 1. ดานกายภาพ 1.1 ที่ตั้งของหมูบาน/ชุมชน/ตําบล 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ตําบลหวยยาง เปนที่ราบสลับภูเขาลาดชัน ลักษณะดินเปนดินรวนปนทราย และ มีลําหวยไหลผานพื้นที่ตําบลตามแนวเขตหมูบาน 1. ที่ราบลุมลําหวยยาง อยูในพื้นที่บานหวยยาง บานหนองฮี บานโพนแพง บานดงแถบ (หมู 6) บานเหลาเจริญ และบานดงแถบ (หมู 10) 2. ที่ราบลุมลําหวยบัว อยูในพื้นที่บานนาบัว (หมู 3) บานนาบัว (หมู 9) และบานนา ดอนใหญ ตําบลหวยยาง มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 145.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 93,937.50 ไร มีอาณาเขตติดตอกับหนวยปกครองทองถิ่นอื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม และองคการบริหารสวนตําบลนาโพธิ์กลาง ทิศใต ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ และองคการบริหาร สวนตําบลหนองแสงใหญ ทิศตะวันออก ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลหวยไผ ทิศตะวันตก ติดตอกับ องคการบริหารสวนตําบลคําไหล องคการบริหารสวนตําบล นาคํา อําเภอศรีเมืองใหม สภาพทั่วไปและขอมูลพื้นฐาน
  • 4. สวนที่ 1 /2 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 1.3 ลักษณะภูมิอากาศ สภาพอากาศของจังหวัดอุบลราชธานี แบงออกเปน 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และ ฤดู หนาว อากาศรอนอบอาวในฤดูรอน และหนาวเย็นมากในฤดูหนาว เ ดือนที่มีอากาศรอนอบอาวมากที่สุด คือ เดือนเมษายน และหนาวเย็นที่สุดคือเดือนมกราคม 1.4 ลักษณะของดิน ลักษณะดินโดยทั่วไปเปนดินรวนปนทราย ประมาณ 80 % ดินลูกรังประมาณ ๑0 % ลักษณะดินในพื้นที่เปนดินเหนียวประมาณ ๑๐ % 1.5 ลักษณะของแหลงน้ํา - แหลงน้ํา ที่สําคัญของตําบลชวยหลอเลี้ยงประชาชนในตําบลหวยยางใหมีอยู มีกินและ ประกอบอาชีพ คือ หวยยาง หวยเรือ หวยบัว รองดุน รองหินลับ รองหนองฮี รองโปงเชือก รองแขนหัก รองหวยหมาก รองดงดิบ รองหินลาด หวยหนองผือ รองขุม หวยชอง - น้ําอุปโภค ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีระบบประปาหมูบานในความดูแล รับผิดชอบ จํานวน 20 บอสูบ ซึ่งคอนขางเพียงพอความตองการของประชาชน จํานวน 9 หมูบาน และ ประปาหมูบานดงดิบ หมู 5 เดิมนั้นคณะกรรมการหมูบานบริหารจัดการเอง แตปจจุบันคณะกรรมการ หมูบานไดดําเนินการโอนถายภารกิจคืนใหกับองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ดูแลและบริหารจัดการ ใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ระบบประปาบานนาบัว หมู 3 บริหารจัดการโดยคณะกรรมการของหมูบาน) - น้ําบริโภค ประชาชนจะดื่มน้ําจากการรองน้ําฝนใสโอง/ตุม และซื้อจากผูประกอบการใน ชุมชนที่ทําเปนธุรกิจขนาดยอม ขายในราคาไมแพง - น้ําเพื่อการเกษตร ปจจุบันเกษตรกรชาวตําบลหวยยาง ใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติ และคลองสาธารณะในการทําการเกษตรเปนหลัก 1.6 ลักษณะของไม/ปาไม ตําบลหวยยาง มีพื้นที่ปาไมเหลือนอย และมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรม เนื่องจากปาถูกตัด ทําลาย แผวถาง เพื่อทําสวนยางพารา ไรมันสําปะหลัง และทํานา 2. ดานการเมือง/การปกครอง องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนหนวยงานหลัก สังกัดกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย มีหนาที่ดูแลและบริหารจัดการ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ในเขตพื้นที่ตําบลหวยยาง สํานักงานที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ตั้งอยู หมู 2 ตําบลหวยยาง อําเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี มีเนื้อที่ 37 ไร โดยประมาณ หางจากที่วาการอําเภอโขงเจียมประมาณ 16.7 กิโลเมตร หาง จากอําเภอเมืองอุบลราชธานีประมาณ 102 กิโลเมตร และหางจากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ 720 กิโลเมตร 2.1 เขตการปกครอง ตําบลหวยยาง แบงเขตการปกครองออกเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 หมูบาน
  • 5. สวนที่ 1 /3 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 2.2 การเลือกตั้ง ตําบลหวยยาง แบงเขตการเลือกตั้งเปนหมูบาน มีทั้งหมด 11 เขตเลือกตั้ง 3. ประชากร 3.1 ขอมูลเกี่ยวกับจํานวนประชากร สถิติจํานวนประชากรในเขตตําบลหวยยาง ณ เดือนธันวาคม 2559 มีจํานวน 9,074 คน เปนชาย 4,661 คน และหญิง จํานวน 4,413 คน อัตราการเจริญเติบโตของประชากรในพื้นที่ตําบล หวย ยางมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากรลดลงเพียงเล็กนอยเทานั้น โดยประชากรในเขตตําบลหวยยาง จะ อาศัยอยูอยางหนาแนนในบานหวยยาง จํานวนประชาชนจําแนกตามหมูบานปรากฏตามตารางดานลาง ตาราง แสดงสถิติจํานวนครัวเรือนและประชากรแบบแบงเขตหมูบาน ป พ.ศ. 2557 - 2560 หมู ชื่อหมูบาน จํานวนครัวเรือน จํานวนประชากร 2557 2558 2559 2560 2557 2558 2559 2560 1 หวยยาง 250 252 254 267 1,158 1,161 1,163 1,220 2 หนองฮี 199 202 207 218 825 831 842 885 3 นาบัว 171 172 172 181 660 666 678 712 4 โพนแพง 232 236 238 250 1,027 1033 1,043 1,095 5 ดงดิบ 252 256 261 275 1,051 1060 1,074 1,128 6 ดงแถบ 242 250 253 266 785 791 790 830 7 บะไห 269 275 281 295 1,012 1,024 1,068 1,122 8 เหลาเจริญ 86 86 88 98 369 372 382 401 9 นาบัว 136 137 138 144 546 555 563 592 10 ดงแถบ 162 175 177 186 633 639 660 693 11 นาดอนใหญ 87 92 93 98 353 362 377 396 รวม 2,086 2,133 2,162 2,278 8,419 8,494 8,640 9,074
  • 6. สวนที่ 1 /4 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 3.2 ชวงอายุและจํานวนประชากร ตาราง แสดงชวงอายุและจํานวนประชากรในตําบลหวยยาง ป พ.ศ. 2558 - 2560 รายการ ปปจจุบัน (2560) ปที่แลว (2559) 2 ปที่แลว (2558) หมายเหตุ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ประชากรเยาวชน 1,403 1,306 1,336 1,243 1,172 1,250 ต่ํากวา 18 ป ประชากร 2,835 2,645 2,703 2,519 1,850 2,120 18 – 60 ป ประชากรผูสูงอายุ 423 462 399 440 1,044 1,058 60 ปขึ้นไป รวม (คน) 9,074 8,640 8,494 ตาราง แสดงจํานวนประชากรจําแนกตามหมูบาน หมูที่ ชื่อหมูบาน ประชากร รวมจํานวน ชาย หญิง ประชากร 1 หวยยาง 622 598 1,220 2 หนองฮี 454 431 885 3 นาบัว 361 351 712 4 โพนแพง 557 538 1,095 5 ดงดิบ 585 543 1,128 6 ดงแถบ 433 397 830 7 บะไห 606 516 1,122 8 เหลาเจริญ 206 195 401 9 นาบัว 308 284 592 10 ดงแถบ 334 359 693 11 นาดอนใหญ 195 201 396 รวม 4,461 4,413 9,074 จากสถิติขอมูลดานประชากรของสํานักทะเบียนราษฎรอําเภอโขงเจียม นับไดวาตําบล หวยยาง เปนสังคมผูสูงอายุเนื่องจากจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชาชนในวัยแรกเกิด – 3 ป มีเพียง 242 คน แตอัตราผูสูงอายุมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกป ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีประชาชนชวง อายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 885 คน
  • 7. สวนที่ 1 /5 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน (พ.ศ. 2559) หมูที่ ชื่อหมูบาน ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ 60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน 1 หวยยาง 66 43 16 7 132 2 หนองฮี 43 24 12 0 79 3 นาบัว 23 22 16 1 62 4 โพนแพง 57 31 13 1 102 5 ดงดิบ 60 33 14 1 108 6 ดงแถบ 45 27 5 2 79 7 บะไห 53 31 8 0 92 8 เหลาเจริญ 16 16 2 1 35 9 นาบัว 38 19 6 1 64 10 ดงแถบ 37 21 6 0 64 11 นาดอนใหญ 21 4 2 0 27 รวม 459 271 100 14 844 ตาราง แสดงจํานวนผูสูงอายุจําแนกตามชวงอายุและหมูบาน (พ.ศ. 2560) หมูที่ ชื่อหมูบาน ชวงอายุ รวมผูสูงอายุ 60-69 ป 70-79 ป 80-89 ป 90 ปขึ้นไป จํานวน 1 หวยยาง 67 46 16 4 133 2 หนองฮี 48 28 12 0 88 3 นาบัว 35 18 17 0 70 4 โพนแพง 60 32 14 1 107 5 ดงดิบ 69 32 16 1 118 6 ดงแถบ 43 29 5 2 79 7 บะไห 50 35 9 0 94 8 เหลาเจริญ 16 15 3 0 34 9 นาบัว 38 23 6 1 68 10 ดงแถบ 36 25 5 0 66 11 นาดอนใหญ 21 5 2 0 28 รวม 483 288 105 9 885
  • 8. สวนที่ 1 /6 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน (พ.ศ. 2559) หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม 1 หวยยาง 39 2 หนองฮี 14 3 นาบัว 25 4 โพนแพง 37 5 ดงดิบ 21 6 ดงแถบ 18 7 บะไห 27 8 เหลาเจริญ 13 9 นาบัว 15 10 ดงแถบ 7 11 นาดอนใหญ 7 รวม 223 ตาราง แสดงจํานวนผูพิการจําแนกตามหมูบาน (พ.ศ. 2560) หมู ชื่อหมูบาน จํานวนรวม 1 หวยยาง 57 2 หนองฮี 20 3 นาบัว 32 4 โพนแพง 42 5 ดงดิบ 28 6 ดงแถบ 22 7 บะไห 35 8 เหลาเจริญ 15 9 นาบัว 18 10 ดงแถบ 15 11 นาดอนใหญ 10 รวม 294
  • 9. สวนที่ 1 /7 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 2. สภาพทางเศรษฐกิจ (1) อาชีพ ประชาชนมีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย โดยมีครัวเรือนประกอบอาชีพเกษตรกรรมมี จํานวนมากที่สุด และมีการประกอบอาชีพรับจาง รับราชการ เลี้ยงสัตว รองลงมาตามลําดับ (2) เกษตรกรรม องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีบริเวณพื้นที่การเกษตรกรรมของประชาชนในพื้นที่ ซึ่ง พื้นที่เกษตรกรรมสวนใหญเปนพื้นที่ทํานา ปลูกยางพาราและมันสําปะหลัง เปนตน (3) อุตสาหกรรม ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการทําอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (มีคนงานต่ํากวา 10 คน หรือมีทรัพยสินไมเกิน 1 ลานบาทขึ้นไป มีดังนี้ 1) รานรับซื้อยางพารา 7 แหง 2) รานรับซื้อมันสด – มันเสน 2 แหง (4) การพาณิชย กิจการพาณิชยในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีอัตราการเจริญเติบโตและการ ขยายตัวทางการคาและการประกอบธุรกิจพาณิชยแบบทรงตัว (คงที่) และไมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในทิศ ทางบวก ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ปรากฏ ตามตาราง ตาราง แสดงรายชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจชุมชน ที่ รหัสทะเบียน ชื่อวิสาหกิจชุมชน/เครือขายวิสาหกิจ ชุมชน ที่ตั้ง/โทรศัพท จํานวนสมาชิก 1 4-34-03-02/1-003 ผลิตภัณฑไมไผลําไมไผงาม 169 หมู 2 7 2 4-34-03-02/1-0002 ผาฝายยอมสีธรรมชาติบานหนองฮี 51 หมู 1 , 099-1322926 17 3 4-34-03-02/1-0001 กลุมแมบานเกษตรกรบานดงดิบ 165 หมู 5, 097-6255576 20 4 4-34-03-02/1-0009 กลุมปลูกมันสําปะหลังบานาบัวใต 48 หมู 9 13 5 4-34-03-02/1-0008 ชาวสวนยางพาราบานดงแถบ 9 หมู 10 7 6 4-34-03-02/1-0023 พลังงานทดแทนโรงเรียนศรีแสงธรรม 212 หมู 5 11 7 4-34-03-02/1-0022 ชาวสวนยาง (กลุมบะไห) 243 หมู 7 54 8 4-34-03-02/1-0021 บานไมศิลป 185 หมู 2 10 9 4-34-03-02/1-0020 ชาวสวนยาง (กลุมผาแตม) 80 หมู 7, 085-1040966 36
  • 10. สวนที่ 1 /8 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 3. สภาพทางสังคม 3.1 การศึกษา องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดใหความสําคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย มีภารกิจ 3ดาน ดังนี้ 1. การจัดการศึกษาปฐมวัย 2. การจัดการสงเสริมกีฬา นันทนาการและกิจกรรมเด็กเยาวชน 3. การดําเนินงานดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น ในปจจุบัน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดจํานวน 6 แหง ใหการศึกษาในระดับกอนวัยเรียน (อนุบาล) นอกจากนี้ ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมี โรงเรียนสังกัดการศึกษาของเอกชน จํานวน 1 โรง ศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียนในสังกัดองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ โรงเรียนสังกัดเอกชน 1. โรงเรียนศรีแสงธรรม เปดสอนในระดับมัธยมศึกษา(เปดสอนในระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-6) ตาราง แสดงจํานวนนักเรียนในศูนยพัฒนาเด็กเล็กกอนวัยเรียน ประจําปการศึกษา 2559 - 2560 โรงเรียน ปการศึกษา 2559 ปการศึกษา 2560 1. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหนองฮี 76 79 2. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานนาบัว 47 53 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานโพนแพง 21 24 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงดิบ 26 31 5. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานบะไห 23 32 6. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานดงแถบ 25 30 รวม 218 249
  • 11. สวนที่ 1 /9 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 3.2 สถาบันและองคกรทางศาสนา ประชาชนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง นับถือศาสนาพุทธและมีประเพณี วัฒนธรรมพื้นบานที่ปฏิบัติสืบทอดตอกันมา ในการทําบุญประเพณีในวันสําคัญทางศาสนา รวมทั้งเทศกาล ประเพณีตางๆเปนประจําทุกป โดยมีศาสนสถานตางๆ ดังนี้ 1. วัดบรมคงคา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหวยยาง หมูที่ 1 2. วัดหนองฮี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2 3. สํานักสงฆถ้ําชางสาร ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานหนองฮี หมูที่ 2 4. วัดสวางสมดี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3 5. ที่พักสงฆดอนชาติพัฒนา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 3 6. วัดโพนแพง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานโพนแพง หมูที่ 4 7. วัดปาดงเย็น ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5 8. วัดปาศรีแสงธรรม ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงดิบ หมูที่ 5 9. วัดดงแถบ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 10. สํานักสงฆถ้ําชางศรี ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 11. สํานักสงฆภูจันแดง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 12. สํานักฐานพรตภูผา ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 13. สํานักสงฆฐานประชุมทิพย ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 6 14. วัดพุทธไพรสน (บานบะไห) ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7 15. สํานักสงฆวัดถ้ําสิงห ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานบะไห หมูที่ 7 16. วัดเหลาเจริญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานเหลาเจริญ หมูที่ 8 17. สํานักสงฆหวยเรือ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9 18. สํานักสงฆภูหินกอง ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาบัว หมูที่ 9 19. สํานักสงฆพลาญศิลาอาสน ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานดงแถบ หมูที่ 10 20. ที่พักสงฆนาดอนใหญ ตั้งอยูในเขตพื้นที่บานนาดอนใหญ หมูที่ 11 3.3 การสาธารณสุข องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการจัดบริการสาธารณะทางดานการรักษาพยาบาล เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคใหแกประชาชนในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบล หวยยางไดอยางสะดวกทั่วถึง สําหรับการใหบริการดานการแพทยฉุกเฉิน มีจํานวนประชาชนเขารับบริการจากหนวยแพทย ฉุกเฉินองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนจํานวนมาก โดยดําเนินการใหบริการดานการรักษาพยาบาล เบื้องตน การสงเสริมสุขภาพ และการปองกันและควบคุมโรคติดตอ
  • 12. สวนที่ 1 /10 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด นอกจากนี้ ยังมีการบริหารงานทางดานการควบคุมและปองกันโรคพิษสุนัขบา โดยองคการ บริหารสวนตําบลหวยยาง ดําเนินการใหบริการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแกสุนัขและแมว ฉีดยาคุมกําเนิด ทําหมัน แกไขเหตุเดือดรอนรําคาญจากสุนัข แมวจรจัด จากคํารอง/หนังสือของประชาชนที่แจงใหองคการ บริหารสวนตําบลหวยยางดําเนินการ โดยไดรับความรวมมือจากสํานักงานปศุสัตวอําเภอโขงเจียม 3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีศักยภาพทางดานการใหบริการดานความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินอยูในระดับสูง โดยเปรียบเทียบจากพื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบและความสามารถในการใหบริการ การควบคุมดูแล กลาวคือ ความพรอมสูงทั้งดานอัตรากําลังพนักงาน เจาหนาที่ และวัสดุอุปกรณเครื่องมือ เครื่องใชตางๆ อยางครบครัน จํานวนเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มี 5 อัตรา ดังนี้ 1. ขาราชการ/พนักงานสวนทองถิ่น จํานวน 1 อัตรา 2. พนักงานจาง จํานวน 1 อัตรา 3. จางเหมาบริการบุคคล พนักงานดับเพลิง จํานวน 3 อัตรา นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังมีการฝกอบรมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพล เรือน เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการใหความชวยเหลือทางดานสาธารณภัยตางๆ แกผูเขารับการอบรม ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีสมาชิกอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน จํานวน 166 คน ความพรอมทางดานวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติหนาที่ 1. รถยนตบรรทุกน้ําอเนกประสงค จํานวน 1 คัน 2. เครื่องดับเพลิงชนิดถัง จํานวน 64 ถัง 3. เครื่องเลื่อยยนต จํานวน 1 เครื่อง 4. วิทยุสื่อสารชนิดมือถือ จํานวน 5 เครื่อง 5. เต็นทขนาดใหญและเล็ก จํานวน 4 หลัง 6. วิทยุสื่อสารประจําที่ จํานวน 1 เครื่อง 7. เครื่องโทรศัพท จํานวน 1 เครื่อง 8. เครื่องพิมพดีด จํานวน 1 เครื่อง 9. เครื่องดับเพลิงชนิดสะพายหลัง จํานวน 5 เครื่อง 10. ปายจราจรหยุดตรวจ จํานวน 4 ปาย 11. เสื้อชูชีพ จํานวน 5 ตัว 12. หมวกจราจร จํานวน 9 ใบ 13. กระบองไฟจราจร จํานวน 11 อัน 14. ไฟฉาย จํานวน 4 อัน
  • 13. สวนที่ 1 /11 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 4. การบริการขั้นพื้นฐาน 4.1 การโทรคมนาคม 1. ระบบเครือขายโทรศัพท 4 ระบบ - บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน - บริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) - บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) - บริษัท เรียลมูฟ จํากัด 2. ระบบอินเตอรเน็ต5ระบบ - บริษัททีโอที (จํากัด) มหาชน - บริษัท ทริปเปลทรี อินเตอรเน็ต จํากัด - บริษัท แอดวานซ ไวรเลส เน็ทเวอรค จํากัด (มหาชน) - บริษัท ดีแทค เนทเวอรค จํากัด(มหาชน) - บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 4.2 การคมนาคม การคมนาคมในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีทางหลวงชนบทหมายเลข 2134 เปน ถนนเชื่อมตออําเภอศรีเมืองใหม ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2135 เชื่อมตอองคการบริหารสวนตําบล หนามแทง อําเภอศรีเมืองใหม และถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 2112 เปนถนนเชื่อตออําเภอโขงเจียม นอกจากนี้ ยังมีถนนที่ไดรับการพัฒนาโดยงบประมาณจากหนวยงานราชการเพื่อเชื่อมหมูบานตางๆ ภายใน องคการบริหารสวนตําบล การคมนาคมภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนเสนทางการจราจรที่ยังไม สะดวกราบรื่นเทาใดนัก เนื่องจากถนนบางสาย/บางระยะ ยังคงเปนถนนลูกรัง ซึ่งประชาชนจะประสบปญหา ในชวงฤดูฝนของทุกป ภายในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ไดจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน ดานการพัฒนา ถนนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกประชาชนทั้งดานการคมนาคมขนสง การอํานวยความสะดวกเดินทางสัญจรไป มาของประชาชน ทั้งหมด 87 สาย แบงเปน 1. ถนนคอนกรีต จํานวน 54 สาย 2. แอสฟลทติก จํานวน 3 สาย 3. ถนนลาดยาง จํานวน 4 สาย 4. ถนนลูกรัง จํานวน 13 สาย 5. ถนนหินคลุก จํานวน 3 สาย 6. ถนนคันดิน จํานวน 10 สาย
  • 14. สวนที่ 1 /12 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 4.3 การประปา ครัวเรือนสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยางรับบริการน้ําประปาของหมูบาน โดยมีแหลงน้ําในแตละหมูบานสําหรับกักเก็บน้ําในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประชากรในเขตองคการ บริหารสวนตําบลที่ใชบริการมีทั้งสิ้น 985 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 45.53 และประชากรที่ไมไดใชบริการมี ทั้งสิ้น 540 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ จากครัวเรือนทั้งหมดจํานวน2,622หลังคาเรือน และมียังคงมีหมูบานที่ ตองการใหขยายเขตประปาเพื่อใหมีน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคตลอดทั้งป ตาราง แสดงขอมูลการใหบริการประปาในเขตองคการบริหารสวนตําบล ที่ ชื่อหมูบาน/ชุมชน จํานวน ครัวเรือน ทั้งหมด จํานวน ประชากร ทั้งหมด กรณีประปาของหมูบาน จํานวน ครัวเรือน ที่ไดรับ น้ําประปา จํานวน ครัวเรือน ที่เหลือที่ ไมไดรับ น้ําประปา หากมีครัวเรือ ที่เหลือ (ไมได ใชน้ําประปา) ใชน้ําจาก แหลงใด ครัวเรือนที่ เหลือสามารถ รับน้ําจากการ ประปาสวน ภูมิภาคได หรือไม แบบ (บาดาล/ผิว ดิน) ความจุ หอถัง (ลบ.ม.) 1 หวยยาง ผิวดิน/บาดาล 30/10 162 85 บาดาลสวนตัว/ บอ ไมได 2 หนองฮี ผิวดิน/บาดาล 30/10 132 61 บาดาลสวนตัว/ บอ ไมได 3 นาบัว บาดาล 10 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล) 4 โพนแพง บาดาล 10 153 70 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 5 ดงดิบ บาดาล 30 หมูบานบริหารจัดการเอง (ไมมีขอมูล) 6 ดงแถบ บาดาล 10 67 142 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 7 บะไห บาดาล 10 121 136 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 8 เหลาเจริญ บาดาล 15 83 1 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 9 นาบัว บาดาล 10 112 19 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 10 ดงแถบ บาดาล 10 94 63 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได 11 นาดอนใหญ บาดาล 10 61 24 บาดาลสวนตัว/บอ ไมได รวม 985 540 ที่มา : กองชางองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ขอมูล ณ เดือน เมษายน 2559
  • 15. สวนที่ 1 /13 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 4.4 การไฟฟา ในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางประชาชนไดรับการบริการจายกระแสไฟฟาจากการไฟฟา สวนภูมิภาค อําเภอโขงเจียม เพื่อการใชกระแสไฟฟาภายในครัวเรือน และการประกอบกิจการตางๆ และมีไฟฟา ใชเกือบทุกครัวเรือน หรือรอยละ 99.99 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด การใหบริการไฟฟาสาธารณะแกประชาชนในองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนไปเพื่อให ถนนหนทางและพื้นที่สาธารณะมีแสงสวางที่เพียงพอเหมาะสมประชาชนไดรับความปลอดภัยในการสัญจรของ ผูใชถนนหนทางมีความปลอดภัยและชวยลดปญหาการกออาชญากรรมของโจรผูรายพรอมทั้งเสริมสราง บรรยากาศแวดลอมใหนาอยูอาศัย ในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีการใหบริการไฟฟาสาธารณะบริเวณแนว ถนนสายหลักแนวถนนสายรองเปนตน 4.5 การระบายน้ํา ปจจุบันองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการ ระบายน้ํา จากอาคารบานเรือน รานคา ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาระบบทอระบายน้ําฝนทั้งถนนสายหลักและสาย รองแลวระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ ที่สําคัญลําหวยยางและลําหวยยอยตางๆ และจากสภาพดังกลาว ประกอบกับการเติบโตและการพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลอยางรวดเร็ว จากชุมชนที่มีลักษณะเปน ชุมชนชนบทเปนชุมชนเกษตรกรรมมากขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอระบบสาธารณูปโภคที่มีอยูเดิม โดยเฉพาะอยาง ยิ่งระบบการระบายน้ําที่มีไมเพียงพอหรืออยูในสภาพที่ไมสมบูรณและในองคการบริหารสวนตําบลหวยยางยังคง ใชการระบายน้ําตามธรรมชาติและแผกระจายซึมลงไปในพื้นดิน บางแหงระบายน้ําไมทัน ทําใหเกิดน้ําทวมขัง บางในชวงฤดูฝน 5. แหลงทรัพยากรธรรมชาติ 5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ - ปาไม ทรัพยากรปาไมยังมีความอุดมสมบูรณ สภาพพื้นที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติดงภูโหลน - ดิน มีลักษณะเปนดินรวนปนทรายคอนขางขาดความอุดมสมบูรณ 5.2 แหลงทองเที่ยว ตําบลหวยยาง มีแหลงทองเที่ยวที่มีธรรมชาติสวยงาม 3 แหง คือ น้ําตกถ้ําพวง น้ําตกกลูจอ น้ําตกแสนเมือง และน้ําตกถ้ําพวง เปนน้ําตกซึ่งไหลลงลําหวยเรือ อยูที่บานนาบัวใต หมูที่ 9 เปนเขตปา สงวนดงภูหลน และบริเวณระหวางน้ําตกถ้ําพวงถึงน้ําตกกลูจอ และน้ําตกแสนเมือง มีกลุมเสาหินเฉลียงตั้ง ซอนกันหลายแหง ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่บานนาบัวหมูที่ 3 สถานที่ทองเที่ยว 3 แหง อยูหางจากอําเภอโขงเจียม ประมาณ 27 กิโลเมตร ปาในเขตดงภูหลน มีความอุดมสมบูรณ มีตนไมขนาดใหญ สัตว สมุนไพร และของ ปานานาชนิดเหมาะสําหรับการศึกษาธรรมชาติในชวงเดือนมิถุนายน – เดือนสิงหาคม จะมีนักทองเที่ยวเขามา เที่ยวชม และมีการเดินปา โดยประมาณ 200 - 500 คน / ป
  • 16. สวนที่ 1 /14 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 6. การบริหาร องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง มีที่ตั้งอยูในเขตองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปน หนวยงานราชการสวนทองถิ่น เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนองคการ บริหารสวนตําบลหวยยาง ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม 2539 ซึ่งกําหนดให ประกาศกระทรวงมหาดไทยใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวันนับแตวันประกาในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศมีผลใชบังคับ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2540) และเปนองคการบริหารสวนตําบลหนึ่งใน 5 องคการ บริหารสวนตําบลของอําเภอโขงเจียม (อําเภอโขงเจียมประกอบดวย 5 องคการบริหารสวนตําบล คือ โขง เจียมหวยยาง นาโพธิ์กลาง หนองแสงใหญ และหวยไผ) จังหวัดอุบลราชธานี ตราสัญลักษณ ตราสัญลักษณองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนรูปตนยางนาซึ่งเปน ตนไมที่มีมากที่สุดในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในขณะนั้น ประกอบ กับชื่อองคการบริหารสวนตําบลหวยยางและตนยางนามีความคลองจองกัน คณะ ผูบริหารโดยนายคงคา วงศชมพู ประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวน ตําบลหวยยาง ซึ่งเปนคณะผูบริหารในขณะนั้นไดขอความอนุเคราะหออกแบบตรา สัญลักษณดังกลาว จึงได นายกิตติ นวลอินทร คุณครูโรงเรียนบานหวยยาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 อุบลราชธานี เปนผูออกแบบ และเริ่มใชหลังจากเปลี่ยนแปลง ฐานะเปน องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง เปนตนมา 6.1 โครงสรางและกระบวนการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีฐานะเปนนิติบุคคล และเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น องคประกอบแบงได 2 สวน คือ 1) สภาองคการบริหารสวนตําบลทําหนาที่นิติบัญญัติและควบคุมฝายบริหาร ประกอบดวย สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนในหมูบาน จํานวน 22 คน (หมูบาน ละ 2 คน) อยูในตําแหนงคราวละ 4 ป สภาองคการบริหารสวนตําบล มีประธานสภา 1 คน รอง ประธานสภา 1 คน ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตามมติของสมาชิกสภา องคการบริหารสวนตําบล 2) คณะผูบริหารทําหนาที่บริหารกิจการขององคการบริหารสวนตําบลตามกฎหมาย ประกอบดวย นายกองคการบริหารสวนตําบล 1 คน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล 2 คน และเลขานุการนายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 1 คน ซึ่งนายกองคการบริหารสวนตําบลเปนผูแตงตั้ง
  • 17. สวนที่ 1 /15 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด ตารางแสดง จํานวนบุคลากรฝายบริหารองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ประกอบดวย ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง 1 นายคําแดง เกษชาติ นายก อบต. 2 นางแดง ทองคํา รองนายก อบต. 3 นายประกิจ รมโพธิ์ รองนายก อบต. 4 นายกัญญา พิมพทรัพย เลขานายก อบต. ตาราง แสดงบัญชีรายชื่อสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง ลําดับที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง 1 นายธนาสิน อิ่นแกว ประธานสภา อบต. 2 นางสาวนงคาร จวงจันทร รองประธานสภา อบต. 3 นางพนิตนันท วีสเพ็ญ เลขานุการสภา อบต. 4 นายประสันต บุญมั่น สมาชิกสภา อบต. หมู 1 5 นายขันอาษา พิมพวงษ สมาชิกสภา อบต. หมู 2 6 นายบุญเจียง บุตรศรี สมาชิกสภา อบต. หมู 2 7 นายบัวเครือ จันทรสด สมาชิกสภา อบต. หมู 3 8 นางสมนึก โคตะนนท สมาชิกสภา อบต. หมู 3 9 นายชุมพล ปสสาคํา สมาชิกสภา อบต. หมู 4 10 นายแสงทอง สองแสง สมาชิกสภา อบต. หมู 4 11 นายธนพล จันสุตะ สมาชิกสภา อบต. หมู 5 12 นายอารุณ อาจารีย สมาชิกสภา อบต. หมู 5 13 นายนิคกี้ บัวงาม สมาชิกสภา อบต. หมู 6 14 นายสันติศักดิ์ หาสุข สมาชิกสภา อบต. หมู 7 15 นางสาวสุบรรณ ขันแกว สมาชิกสภา อบต. หมู 7 16 นายศรเพชร เกษชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู 8 17 นายทองแดง หอมพันธ สมาชิกสภา อบต. หมู 8 18 นายประวิทย แสงใบ สมาชิกสภา อบต. หมู 9 19 นายเฉลิมชัย ศรีบุระ สมาชิกสภา อบต. หมู 9 20 นางสังวาล บุญมานัด สมาชิกสภา อบต. หมู 10 21 นางคําเพียร แพงพนม สมาชิกสภา อบต. หมู 10 22 นายอภินันท รถพรม สมาชิกสภา อบต. หมู 11 23 นายสมคิด หวยยาง สมาชิกสภา อบต. หมู 11
  • 18. สวนที่ 1 /16 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด การบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีปลัดองคการบริหารสวนตําบลเปน ผูบังคับบัญชา ของพนักงาน และเจาหนาที่รับผิดชอบงานประจําทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล โดยแบง สวนการบริหารงานออกเปน 1 สํานัก 4กอง โดยมีหัวหนาสวนราชการ เรียกวา หัวหนาสํานัก และ ผูอํานวยการ เปนผูบังคับบัญชาของสวนราชการภายใน มีลักษณะโครงสรางการบริหารงานองคการบริหาร สวนตําบลหวยยาง ดังนี้ โครงสรางการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 6.2 อัตรากําลังของเจาหนาที่ องคการบริหารสวนตําบลหวยยาง สํานัก/กอง พนักงานสวนตําบล พนักงานจางภารกิจ พนักงานจางทั่วไป รวม 1. สํานักปลัด 8 6 6 20 2. กองคลัง 3 3 - 6 3. กองชาง 4. กองการศึกษา 5. กองสวัสดิการสังคม 2 5 2 3 5 2 1 9 - 6 19 4 รวม 20 19 16 55 สํานักงานปลัดองคการบริหารสวนตําบล พนักงานสวนตําบล 1. นางพนิตนันท วีสเพ็ญ ปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับกลาง) 2. จาเอก หาญชัย ลาวัลย รองปลัดองคการบริหารสวนตําบล (นักบริหารงานทองถิ่น ระดับตน) 3. จาเอก เชี่ยวชาญ จวงจันทร หัวหนาสํานักปลัด (นักบริหารงานทั่วไป ระดับตน) 4. จาเอก ชาติชาย จวงจันทร เจาพนักงานธุรการ 5. นายเสริมศักดิ์ อักษรดี เจาพนักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 6. นายสัญ แปลงศรี นิติกร 7. ตําแหนงวาง นักวิเคราะหนโยบายและแผน 8. ตําแหนงวาง นักทรัพยากรบุคคล ผูบริหาร ปลัดองคการบริหารสวน ตําบล สํานักปลัด กองคลัง กองชาง กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม รองปลัดองคการบริหารสวน ตําบล
  • 19. สวนที่ 1 /17 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด พนักงานจางภารกิจ 1. นางสาวปทมาศ พิสิษธนะกร ผูชวยนักวิเคราะหนโยบายและแผน 2. นางสาวศุภลักษณ วงศชมพู ผูชวยนักประชาสัมพันธ 3. นางสาวภัสสร วงศชมพู ผูชวยนักวิชาการสุขาภิบาล 4. นางสาวณิชนันทน รินทาง ผูชวยเจาพนักงานธุรการ 5. นางสาวลักษณารีย นาโพธิ์ ผูชวยเจาพนักงานธุรการ 6. นายเทียนชัย คํามั่น พนักงานขับรถยนต (ผูมีทักษะ) พนักงานจางทั่วไป 1. นายวิทยา แปลงศรี นักการภารโรง 2. นายเอกดนัย คําศรี คนงานทั่วไป 3. นายวรเทพ เกษชาติ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย) 4. นายประยุทธ จันทะเค คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานดานสาธารณสุขชุมชน) 5. นายคําปน ศรีหา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน) 6. นายสิงหาร ตุมทอง คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานการแพทยฉุกเฉิน) กองคลัง พนักงานสวนตําบล 1. นางสาวปรารถนา ทาทอง ผูอํานวยการกอกงคลัง (นักบริหารงานการคลัง ระดับตน) 2. นางชลธิชา วรเลิศ เจาพนักงานจัดเก็บรายได 3. ตําแหนงวาง เจาพนักงานพัสดุ พนักงานจางภารกิจ 1. นางแสนสุข ละมูล ผูชวยนักวิชาการเงินและบัญชี 2. นางสาวภัสนันต รมโพธิ์ ผูชวยเจาพนักงานจัดเก็บรายได 3. นางสาวปริศนา สวัสดิ์พงษ ผูชวยเจาพนักงานพัสดุ กองชาง พนักงานสวนตําบล 1. นายวีระศักดิ์ สุรังกาญจน ผูอํานวยการกองชาง (นักบริหารงานชาง ระดับตน) 2. นายวชิรศักดิ์ ละมูล นายชางโยธา พนักงานจางภารกิจ 1. นายภุชพงษ สืบสิงห ผูชวยชางโยธา 2. วาที่ รต.ญ ฐิยณัฐ จริยเวชชวัฒนา ผูชวยเจาพนักงานธุรการ (กองชาง) 3. นายพอเจตน หวยยาง ผูชวยชางเขียนแบบ
  • 20. สวนที่ 1 /18 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด พนักงานจางทั่วไป 1. นายวีระศักดิ์ พลที คนงานทั่วไป (ชางไฟฟา) กองการศึกษาฯ พนักงานสวนตําบล 1. นางนันทนภัส จันทลา ผูอํานวยการกองการศึกษา (นักบริหารงานการศึกษา ระดับตน) 2. จาเอก ธีระพงษ บุตรวัน เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน 3. นางณัฐชญาณีย สิริวรรณะกูล ครู (คศ.1) 4. นางสาววันทะนา คํามั่น ครูผูดูแลเด็ก (ครูผูชวย) 5. ตําแหนงวาง นักวิชาการศึกษา พนักงานจางภารกิจ 1. นางสรัญญา ลาวัลย ผูชวยนักวิชาการศึกษา 2. นายวัชรชัย สีหา ผูชวยเจาหนาที่พัสดุ (กองการศึกษา) 3. นางสาววิภาพร ยืนยง ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ) 4. นางสาวเสาวลักษณ สีแสด ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ) 5. นางนาตยา ถิ่นขาม ผูดูแลเด็ก (ผูมีทักษะ) พนักงานจางทั่วไป 1. นางรุงนภา นามวงษ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 2. นางสาวสุพรรณษา คํามั่น คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 3. นางสาวกิติยา วงศชมพู คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 4. นางฉวีวรรณ ไชโย คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 5. นายชนเดช ทิพยเสนา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 6. นางสุมิตรา ลาเถิน คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 7. นางสาวสุปรียา วันเพ็ญ คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 8. นางสาวอุทัยทิพย ชาวนา คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) 9. นางนัฎติยา เขตสมัคร คนงานทั่วไป (ปฏิบัติงานหนาที่ดูแลเด็ก) กองสวัสดิการสังคม พนักงานสวนตําบล 1. นางสาวอุษณีย คะบุตร ผูอํานวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการฯ ระดับตน) 2. สิบเอก กลาหาญ จวงจันทร นักพัฒนาชุมชน
  • 21.
  • 22. สวนที่ 2 /1 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด สวนที่ ๒ ๑. สรุปผลการดําเนินงานตามงบประมาณที่ไดรับ และการเบิกจายงบประมาณ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕7 – ๒๕๖0 ๑.๑ สรุปสถานการณพัฒนา การตั้งงบประมาณ การเบิกจายงบประมาณ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาฯ ขึ้นมา เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทําแผนพัฒนาสามป ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง อันมีลักษณะเปน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาที่ กําหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทําขึ้นสําหรับปงบประมาณแตละป ซึ่งมีความตอเนื่องและ เปนแผนกาวหนาครอบคลุมระยะเวลาสามปโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเปนประจําทุกป โดยองคการบริหาร สวนตําบลหวยยางไดใชแผนพัฒนาสามปเปนกรอบในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป การจายขาดเงิน สะสม เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ โครงการที่ขอใหหนวยงานอื่นมาดําเนินงานให รวมทั้งวางแนวทางเพื่อใหมีการ ปฏิบัติใหบรรลุวัตถุประสงคตามโครงการที่กําหนดไวในแผนพัฒนาสามป ทั้งนี้ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการตั้งงบประมาณ การเบิกจายงบประมาณ ดังกลาว ตามแผนพัฒนาซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ ฐานะการคลังขององคการบริหารสวนตําบล ยอนหลัง 3 ป งบประมาณ (พ.ศ. 2557 -2560) รายรับจริง ปงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 รายไดจัดเก็บ หมวดภาษีอากร 64,662.27 69,068.18 76,790.80 30,697.04 หมวดคาธรรมเนียม คาปรับและใบอนุญาต 39,050.00 114,941.00 88,225.00 97,669.00 หมวดรายไดจากทรัพยสิน 310,280.99 316,745.64 403,269.43 214,474.95 หมวดรายไดจากสาธารณูปโภคและการพาณิชย 367,172.00 390,030.00 452,201.00 99,491.00 หมวดรายไดเบ็ดเตล็ด 323,750.00 416,110.00 263,180.00 44,570.00 หมวดรายไดจากทุน - - - - รายไดที่รัฐบาลจัดเก็บแลวจัดสรรใหอปท. หมวดภาษีจัดสรร 15,446,601.92 16,702,554.42 17,562,524.39 4,335,693.13 รวม 16,551,517.18 18,009,449.24 18,846,189.82 4,822,595.12 รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท. หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 16,268,555.00 31,902,930.00 14,412,669.00 15,938,359.00 รวม 16,268,555.00 31,902,930.00 14,412,669.00 15,938,359.00 รวมทั้งสิ้น 32,820,072.18 49,912,379.24 33,258,859.62 20,760,954.12 ที่มา : ระบบบันทึกบัญชีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น http://www.laas.go.th/ ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2559 สรุปผลการพัฒนาทองถิ่นตามแผนพัฒนาทองถิ่น (พ.ศ. ๒๕57 – ๒๕60)
  • 23. สวนที่ 2 /2 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 3% 33% 64% 2558 รายไดจัดเก็บ รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท. 3% 47% 50% 2557 รายไดจัดเก็บ รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท. 4% 53% 43% 2559 รายไดจัดเก็บ รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท. 2% 21% 77% 2560 รายไดจัดเก็บ รายไดที่รัฐบาลจัดสรรให รายไดที่รัฐบาลอุดหนุนให อปท. จากสถิติขอมูลรายรับตามตาราง จะเห็นไดวา รายไดจัดเก็บเอง มีสัดสวนที่นอยที่สุด โดยใน ปงบประมาณ 2557 สัดสวนคิดเปนรอยละ 3.37 ปงบประมาณ 2558 สัดสวนคิดเปนรอยละ 2.67 ปงบประมาณ 2559 สัดสวนคิดเปนรอยละ 3.86 และในปงบประมาณ 2560 สัดสวนคิดเปนรอยละ 2.34 จากสัดสวนงบประมาณดังกลาว ดังแสดงตามแผนภูมิภาพขางลางนี้ แผนภูมิภาพที่ แสดงรายรับขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
  • 24. สวนที่ 2 /3 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 0.00 2,000,000.00 4,000,000.00 6,000,000.00 8,000,000.00 10,000,000.00 12,000,000.00 14,000,000.00 16,000,000.00 18,000,000.00 งบกลาง งบเงินอุดหนุน งบดําเนินงาน งบบุคลากร งบลงทุน 2557 2558 2559 2560 ผลการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหวยยางในปที่ผานมาใชแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 - 2560) เปนหลักในการพัฒนาในหลายๆ ดานซึ่งการพัฒนาไดยึดถือและปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบนโยบาย ของรัฐบาล นโยบายของผูบริหารทองถิ่น โดยเนนการแกไขปญหา และตอบสนองความตองการของประชาชน เปนหลัก ซึ่งในการพัฒนาที่ผานมาสามารถแกไขปญหาและพัฒนาทองถิ่นไปในทางที่ดีขึ้นสรุปไดดังตอไปนี้ ตาราง แสดงสถิติรายจายจริงขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง รายจายจริง ปงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 งบกลาง 753,635.53 525,314.00 636,594.00 3,706,855.00 งบเงินอุดหนุน 4,741,898.94 5,553,835.74 16,759,804.00 2,136,000.00 งบดําเนินงาน 8,675,075.71 10,105,990.63 10,524,054.06 2,856,625.92 งบบุคลากร 7,256,682.00 8,400,217.46 10,851,073.02 4,145,605.00 งบลงทุน 4,152,420.00 1,789,300.00 3,494,475.94 23,225.00 รวมทั้งสิ้น 25,579,712.18 21,376,657.83 42,266,001.02 12,868,310.92 ที่มา : ระบบบันทึกบันชีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น http://www.laas.go.th/ ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2559 แผนภูมิภาพแสดงรายจายขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง
  • 25. สวนที่ 2 /4 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด 1.2 การประเมินผลการนําแผนพัฒนาทองถิ่นไปปฏิบัติในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชเปน เครื่องมือในการพัฒนาตําบลหวยยางใหบรรลุเปาหมายที่วางไว เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุดในการแกไข ปญหาใหกับประชาชน ในการจัดทําแผนพัฒนานั้นจะตองมีการติดตามและประเมินแผนพัฒนาตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๖ ขอ ๒๙ ขอ ๑๓ โดยคณะกรรมการติดตามและประเมินแผนพัฒนาเปน ผูดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ซึ่งคณะกรรมการจะตองดําเนินการกําหนดแนวทาง วิธีการใน การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ดําเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา รายงานผลและเสนอ ความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาตอผูบริหารทองถิ่น เพื่อใหผูบริหารทองถิ่นเสนอตอ สภาทองถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาทองถิ่น พรอมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให ประชาชนในทองถิ่นทราบในที่เปดเผยภายในสิบหาวันนับแตวันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกลาวและตอง ปดประกาศไวเปนระยะเวลาไมนอยกวาสามสิบวันโดยอยางนอยปละสองครั้งภายในเดือนเมษายนและภายใน เดือนตุลาคมของทุกป ซึ่งแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางสามารถนําไปปฏิบัติในเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพไดดังนี้ (๑) เชิงปริมาณ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางสามารถดําเนินการไดเพียงรอยละ 34.68 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 รอยละ 30.76 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอยละ 41.32 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559 และรอยละ 44.23 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของแผนซึ่งจะเห็นไดวาองคการบริหารสวน ตําบลหวยยางสามารถมีแนวโนมในการพัฒนากระบวนการวางแผนเพื่อการพัฒนาทองถิ่น เนื่องจากรอยละของ การดําเนินงานเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในทุกๆ ป รายละเอียดตามตารางผลการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร (พ.ศ. 2557 – 2560) และตารางแสดงผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 - 2560) ผลการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร (พ.ศ. 2557 – 2560) แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ป ๒๕๕๗ ป ๒๕๕๘ ป ๒๕๕๙ ป ๒๕60 โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน 1. การพัฒนาดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน 122 47 121 24 141 85 63 59 2. การพัฒนาดานเศรษฐกิจชุมชน และ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 18 6 18 6 18 9 22 8 3. การพัฒนาดานสังคม 130 42 142 50 270 90 193 66 4. การพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 49 16 43 14 60 26 54 27 5. การพัฒนาดานการทองเที่ยว 12 4 16 5 21 7 31 11 6. การพัฒนาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น 40 14 34 12 42 17 36 13 7. การพัฒนาดานการบริหารจัดการและ การบริการประชาชน 47 16 42 17 111 40 87 31 รวมทั้งสิ้น 418 145 416 128 663 274 486 215 คิดเปนรอยละของยุทธศาสตรการพัฒนา 34.68 30.76 41.32 44.23
  • 26. สวนที่ 2 /5 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด ผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2557 – 2560) แผนพัฒนาสามป ป ๒๕๕๗ ป ๒๕๕๘ ป ๒๕๕๙ ป ๒๕60 โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน โครงการ (เปาหมาย) ผลการ ดําเนินงาน 1. การพัฒนาดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน 47 21 24 17 85 17 59 5 2. การพัฒนาดานเศรษฐกิจชุมชน และ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 6 1 6 3 9 3 8 5 3. การพัฒนาดานสังคม 42 30 50 30 90 33 66 31 4. การพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 16 3 14 4 26 4 27 5 5. การพัฒนาดานการทองเที่ยว 4 0 5 1 7 1 11 1 6. การพัฒนาดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น 14 9 12 8 17 10 13 5 7. การพัฒนาดานการบริหารจัดการและ การบริการประชาชน 16 15 17 29 40 26 31 19 รวมทั้งสิ้น 145 79 128 92 274 94 215 71 คิดเปนรอยละของยุทธศาสตรการพัฒนา 54.48 71.87 34.30 33.02 (๒) เชิงคุณภาพ แมวารอยละของการดําเนินการตามแผนพัฒนาสามปขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง จะไมบรรลุวัตถุประสงคในระดับที่นาพึงพอใจ กลาวคือรอยละ 50 ขึ้นไป แตในดานความพึงพอใจของ ผูรับบริการหรือประชาชนผูไดรับประโยชน องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินการสํารวจความพึง พอใจเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุดตอประชาชน การประเมินความพึงพอใจทําใหทราบถึงผลเชิง คุณภาพในการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางในภาพรวม ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจ ของประชาชนตอการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางอยูในระดับที่ดี สรุปไดดังนี้  ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ การประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอผลการดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมของ องคการบริหารสวนตําบลหวยยางในการพัฒนาและสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีในภาพรวม ตาม ยุทธศาสตรและประเด็นการพัฒนา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ พบวาประชาชนมีความพึงพอใจใน ระดับพอใจคิดเปนรอยละ ๖๔.๕๒ เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมาผลการประเมินความพึงพอใจอยูใน ระดับ พอใจถึง รอยละ ๖๐.๓๗ ความพอใจของประชาชนมากกวาปที่ผานมาเล็กนอยที่ ๔.๑๕ ซึ่งประเมินไดวาควร จะมีบริหารจัดการดําเนินงานใหประชาชนเกิดความพึงพอใจมากกวานี้ หรืออยูที่รอยละ ๘๐  ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ประชาชนมีความพึงพอใจอยูใน ระดับพอใจ คิดเปนรอยละ ๕๓.๒๘ ระดับความพึงพอใจ - พอใจสูงสุด รอยละ ๕๖.๙๗ - พอใจต่ําสุด รอยละ ๕๒.๑๙ ระดับความพึงพอใจ (ตามประเด็นการพัฒนา) - พอใจสูงสุด รอยละ ๕๔.๑๔
  • 27. สวนที่ 2 /6 แผนพัฒนาท้องถินสีปี (พ.ศ. - ) ขององค์การบริหารส่วนตําบลห้วยยาง งานนโยบายและแผน สํานักงานปลัด - พอใจต่ําสุด รอยละ ๕๑.๑๙  ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชาชนมีความพึงพอใจอยูใน ระดับพอใจมาก คิดเปนรอยละ ๖๘.๔๒ ระดับพอใจ - พอใจสูงสุด รอยละ ๗๑.๙๓ - พอใจต่ําสุด รอยละ ๖๕.๖๗ ระดับพอใจ - พอใจสูงสุด รอยละ - พอใจต่ําสุด รอยละ ๖๕.๕๓  ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ คาดวาจะสามารถทําใหประชาชนเกิดความพึงพอใจมาก รอยละ ๗๐ ขึ้นไป ๒. ผลที่ไดรับจากการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ ๒.๑ ผลที่ไดรับหรือผลที่สําคัญ ตามที่องคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดดําเนินงานตางๆ ตั้งแตมีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ เพื่อแกไขปญหาใหกับประชาชน และพัฒนาองคกรใหเกิดความมั่งคงในการพัฒนาเพื่อใหความเปนอยู ของประชาชนดีขึ้น ซึ่งผลจากการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางมีดังนี้ ๑. ประชาชนมีน้ําประปาใชรอยละ 90 ๒. ประชาชนมีไฟฟาใชรอยละ 98 ๓. ประชาชนมีถนนใชในการสัญจรไปมาไดสะดวก ๔. การเกิดอาชญากรรมในพื้นที่ลดลงอยางเห็นไดชัด 5. เด็กเล็กกอนวัยเรียนไดรับการพัฒนาเพื่อเตรียมการกอนเขารับการศึกษาภาคบังคับทุกคน 6. ผูสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยเอดส ไดรับเงินชวยเหลือเบี้ยยังชีพทุกคน 7. ประชาชนไดรับความชวยเหลือในเรื่องที่อยูอาศัยที่มั่นคงแข็งแรง 8. ประชาชนไดรับความชวยเหลือจากสาธาณภัย 9. ปญหาไขเลือดออกลดลง ๑0. ขยะในชุมชนมีวิธีการจัดการที่ถูกตอง ๑1. ประชาชนไดรับความรูเกี่ยวกับการสาธารณสุข ๑2. ประชาชนไดรับความรูเกี่ยวกับการปองกันภัย ๑3. ประชาชนไดมีสวนรวมในการดําเนินงานตางๆ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยาง 14. ประชาชนไดรับบริการจากงานบริการตางๆ ขององคการบริหารสวนตําบลหวยยางดวย ความสะดวก 15. สํานักงานองคการบริหารสวนตําบลหวยยางไดรับการปรับปรุงตอเติมและอยูในสภาพที่ดี ขึ้น