SlideShare a Scribd company logo
1 of 175
Download to read offline
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
บทสรุปผูบริหาร
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน จัดทำขึ้นเพื่อ
กำหนดทิศทางการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
(ขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี และหนองบัวลำภู) ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน และหนวยงานที่เกี่ยวของ
ไดใชเปนแนวทางในการบูรณาการในการทำงานรวมกันอยางมีเอกภาพ และมีพลังจนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี
ขึ้น เพิ่มมูลคารวมตลาดของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น
อีสานใหเติบโตอยางตอเนื่อง เพิ่มการสรางงาน อาชีพใหกับประชาชน และรายไดกับชุมชนจากการพัฒนาการ
ทองเที่ยวของชุมชน พรอมทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมทองเที่ยวใหเปนกลไกสงเสริมเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม
ความมั่นคง และการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และอนุรักษพัฒนาสืบสานตอยอดการ
ทองเที่ยวทางธรณีวิทยาและการดำรงรักษาไวซึ่งเอกลักษณธรณีวิทยาถิ่นอีสาน สรางความรัก ความภาคภูมิใจ
ความหวงแหนตอวิถีชีวิตที่ดีงาม และหนุนเสริมการเสริมสรางการทองเที่ยวทางธรณีวิทยาของพื้นที่ ให
เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป แผนแมบทการพัฒนาประเทศ วาระปฎิรูปประเทศ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา และ
สอดคลองกับแผนการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน แผนพัฒนา
จังหวัดชัยภูมิ แผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ แผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานี แผนพัฒนาจังหวัดหนองบัวลำภู โดยได
จัดทำแผนปฏิบัติการฯ ใหมีความสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาประเทศที่สำคัญในปจจุบัน รวมทั้งความ
เหมาะสมกับสภาพแวดลอมและสถานการณของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
เพื่อใหตอบสนองความตองการ นอกจากนี้ยังไดจัดใหมีการประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นผูเกี่ยวของ และผู
มีสวนไดสวนเสีย เพื่อเพิ่มเติมแกไขใหแผนปฏิบัติการฯ มีความสมบูรณที่สุด
โดยสาระสำคัญของแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น
อีสาน ประกอบไปดวย วิสัยทัศน เปาหมายการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา อันเปนเครื่องมือที่สำคัญที่ใชเปน
แนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ใหบรรลุ
วัตถุประสงค ซึ่งประกอบดวย
วิสัยทัศน (Vision) : “บูรณาการจัดการทองเที่ยวธรณีวิทยาและภูมิปญญาพื้นถิ่นอีสาน เชื่อมโยง
การทองเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง” และใหคำนิยามของวิสัยทัศนไวดังนี้ การจัดการทองเที่ยวในเขต
ธรณีวิทยารวมกับการใชภูมิปญญาทองถิ่นของชุมชนอีสานที่อาศัยอยูในพื้นที่ทองเที่ยว รวมกับหนวยงาน
ภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการทองเที่ยวอยางยั่งยืน เชื่อมโยงการทองเที่ยวระหวางไทย ลาว พมา และจีน
เพื่อเสริมสรางเศรษฐกิจในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน วิสัยทัศนแผนปฏิบัติการพัฒนาการ
ทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน มีแนวคิดหลักในใหประชาชนมีสวนรวมและการ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยจัดรูปแบบการทองเที่ยวใหสอดคลองกับกลุมวัย ภายใตทรัพยากรการ
ทองเที่ยวที่โดดเดน โดยมุงเนนการทองเที่ยวทางประวัติศาสตร วัฒนธรรมและธรรมชาติ เชน พิพิธภัณฑ
ไดโนเสาร และพิพิธภัณฑบานเชียง ซึ่งเปนอารยธรรมสมัยกอนประวัติศาสตรที่มีคุณคายิ่ง ตลอดจนบูรณาการ
การจัดการทองเที่ยวโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาจัดการดานระบบฐานขอมูลดานการทองเที่ยว การสื่อสาร
การตลาดการประชาสัมพันธ และการอำนวยความสะดวกแกนักทองเที่ยว เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวให
ครอบคลุมอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง
เปาหมายการพัฒนา :
1. มูลคารวมของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เติบโตอยาง
ตอเนื่อง มีมูลคารวมไมนอยกวา ........ ลานบาท
2. จำนวนบุคลากร/ชุมชนที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพทางดานการทองเที่ยวไมนอยกวา 200 คน
3. อัตราการขยายตัวของรายไดจากการทองเที่ยวทางธรณีวิทยาของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการ
ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เติบโตไมนอยกวารอยละ 10
4. ดัชนีความสุขของประชาชนในชุมชนทองเที่ยวหลักของพื้นที่ (ความพึงพอใจตอการทองเที่ยวที่สราง
รายได สรางโอกาสทางเศรษฐกิจแกชุมชน) เติบโตไมนอยกวารอยละ 75
5. สรางและพัฒนาพื้นที่ทองเที่ยวทางธรณีวิทยาที่เติบโตอยางตอเนื่องบนฐานเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตที่
เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จำนวนไมนอยกวา 20 แหง
ประเด็นการพัฒนา :
1. พัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาและภูมิปญญาพื้นถิ่นอีสาน เพื่อรองรับการเปนอุทยานธรณีวิทยา
มุงเนนการสงเสริมและพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่โดดเดนของพื้นที่ธรณีวิทยา เมืองยุคกอน
ประวัติศาสตร ดินแดนไดโนเสาร และวัฒนธรรมประเพณีพื้นถิ่นอีสาน
2. พัฒนาการทองเที่ยวเพื่อรองรับขีดความสามารถการเปนเมืองไมซ (MICE City) และเชื่อมโยงสูจังหวัด
ใกลเคียง มุงเนนการพัฒนาขีดความสามารถทางการทองเที่ยวรองรับการเปนเมืองไมซ (MICE City)
และเชื่อมโยงการทองเที่ยวกระจายไปยังจังหวัดที่มีพื้นที่ติดตอ
3. พัฒนาเสนทางคมนาคมในแนวระเบียงเศรษฐกิจ EWEC (East-West Economic Corridor) เพื่อ
เชื่อมโยงการทองเที่ยวกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง มุงเนนการพัฒนาเสนทางคมนาคมในแนว
ระเบียงเศรษฐกิจใหสามารถเชื่อมโยงเสนทางหลักในแนวระเบียงเศรษฐกิจกับแหลงทองเที่ยวเสนทาง
รอง และพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใหพรอมและเพียงพอตอการรองรับการทองเที่ยวในเขต
พัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อเพิ่มโอกาสทางดานธุรกิจและการเดินทางทองเที่ยว
4. พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกระดับการทองเที่ยวและเพิ่มมูลคาสินคา มุงเนนการพัฒนา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสงเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ เพื่อยกระดับการทองเที่ยว
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
และเพิ่มมูลคา รวมถึงการเพิ่มชองทางการจำหนายสินคาทองเที่ยว ผลิตภัณฑชุมชน และสินคา
OTOP
5. การบูรณาการเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานอยางยั่งยืน มุงเนนการพัฒนาการทองเที่ยว
แบบบูรณาการ โดยหนวยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนเปนหุนสวนในการจัดการทองเที่ยวอยางยั่งยืน
โดยแสดงภาพรวมของแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยา
ถิ่นอีสาน ดังผังโครงสรางตอไปนี้
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
สารบัญ
หนา
บทนํา 1
• แนวคิดการจัดทําแผน 1
• กระบวนการจัดทําแผน 2
บทที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 5
• ขอมูลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5
• ขอมูลจังหวัดขอนแกน 18
• ขอมูลจังหวัดชัยภูมิ 31
• ขอมูลจังหวัดกาฬสินธุ 54
• ขอมูลจังหวัดอุดรธานี 67
• ขอมูลจังหวัดหนองบัวลําภู 89
• สถานการณและแนวโนมการทองเที่ยว 104
• แนวทางและขอเสนอแนะในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว
ประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
บทที่ 2 จุดยืน ตําแหนง และศักยภาพการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการ 112
ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
• จุดยืนและตําแหนงการพัฒนา 112
• การประเมินศักยภาพและสภาพแวดลอมภายนอก (SWOT Analysis) 113
บทที่ 3 แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยว 118
ธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
• วิสัยทัศน (Vision) 118
• วัตถุประสงค 119
• เปาหมายการพัฒนา 119
• ประเด็นการพัฒนา/ยุทธศาสตร 119
หนา
• แผนงาน/โครงการ ภายใตแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว 125
ประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
บทที่ 4 ผลประโยชน รูปแบบการลงทุน และกลไกการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ 154
พัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
• ผลประโยชนดานเศรษฐกิจ ความมั่นคง สังคม และสิ่งแวดลอม 154
• รูปแบบการลงทุนการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 156
• กลไกการขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยว 156
ธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
บรรณานุกรม
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 1
บทนำ
แนวคิดการจัดทำแผน
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน มีแนวคิด
หลักการสำคัญ ดังนี้
1. แผนปฏิบัติการยึดมั่นในแนวคิดในการมุงเนนการเชื่อมโยงยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบทการ
พัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แผนพัฒนากลุมจังหวัด และ แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู ที่เกี่ยวของ
กับประเด็นการสงเสริมการทองเที่ยว รวมทั้งการเชื่อมโยงการทองเที่ยวของพื้นที่กับแผนพัฒนาการทองเที่ยว
แหงชาติ อีกทั้งใหความสำคัญกับการเชื่อมโยงความตองการของผูที่มีสวนไดสวนเสียในบริบทของพื้นที่ โดย
เนนการบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยยึด
หลักการใชพื้นที่ทองเที่ยวสำคัญเปนฐานในการพัฒนา ยึดประชาชนและนักทองเที่ยวเปนศูนยกลางของการ
จัดทำแผนปฏิบัติการ
2. การศึกษาสภาพแวดลอมและบริบทการทองเที่ยวของจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี
หนองบัวลำภู ประเทศไทย อาเซียนใต และของโลกที่เชื่อมโยงและเกี่ยวของ เพื่อศึกษาสถานการณความ
เคลื่อนไหวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การเปลี่ยนแปลงและแนวโนมที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการ
กำหนดทิศทางการพัฒนาในชวงเวลาของแผนพัฒนาแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการ
ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อนำมาเปนปจจัยเขาในการกำหนดทิศทางการพัฒนา โดยยึดการตั้งอยูบน
พื้นฐานของศักยภาพที่แทจริง และมีความเปนไปไดของพื้นที่เปนสำคัญ
3. การทบทวนการพัฒนาการทองเที่ยวของประเทศคูแขง ประเทศตนแบบ พื้นที่สำคัญในประเทศ
ไทย และนานาชาติ ที่ประสบความสำเร็จจากการทองเที่ยวในบริบทของพื้นที่การทองเที่ยวที่มีความคลายคลึง
กันกับ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนื่องจากการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่สำคัญของหลายประเทศทั่วโลก
ที่มีการแขงขันสูง ดังนั้นเพื่อศึกษาบริบทการทองเที่ยวและทิศทางการพัฒนาของหลายพื้นที่หลายประเทศทั่ว
โลก เพื่อใหไดมาซึ่งขอเรียนรูสำหรับการพัฒนา 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสานตอไป
4. การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวของสวนราชการในพื้นที่
จังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู เนื่องจากการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง
และบูรณาการการพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรในการพัฒนาการทองเที่ยวรวมกัน และรวมหนุนเสริมการสราง
รายได และการระดมพลังการพัฒนาใหมีความสามารถที่จะกระจายรายไดจากการพัฒนาการทองเที่ยวสู
ประชาชนทุกภาคสวนอยางแทจริง ดังนั้นเพื่อใหการพัฒนารวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของเปนไปอยางสอดคลอง
และมีทิศทางเดียวกัน แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
จำเปนตองบูรณาการกับแผนพัฒนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อใหการพัฒนามีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 2
5. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนนการมี
สวนรวม โดยมีการรับฟงความคิดเห็นจากผูที่มีสวนไดสวนเสีย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน การ
สำรวจพื้นที่ทองเที่ยวสำคัญ การจัดประชุมกลุมยอย การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การประชาพิจารณแผนปฏิบัติ
การ เพื่อรวบรวมขอมูลความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูที่เกี่ยวของดานการทองเที่ยวจากทุกภาคสวนใน
เวทีใหญ จำนวน 2 ครั้ง โดยมีผูเขารวมรวมทั้งสิ้นมากกวา 200 คน พรอมการบูรณาการกับกระบวนการจัดทำ
แผนพัฒนาจังหวัดในทุกจังหวัดในรอบการทบทวนแผนงบประมาณประจำป พ.ศ. 2563
6. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนนการนำ
จุดเดนของพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาการทองเที่ยวที่เชื่อมโยงการพัฒนาทั้งเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดลอม มากำหนดมาตรการ แนวทางการพัฒนา แผนงาน โครงการ ที่เปลี่ยนแปลงสูเปาหมายในอนาคต
โดยใชหลัก Blueprint for change บันได 6 ขั้น คือ
- Mission Based เปนการพัฒนาที่คำนึงถึงการดำเนินการที่เปนไปตามหลักวิชาการ
กฎหมาย
- Problem Based เปนการพัฒนาที่มุงเนนการแกปญหาวิกฤติสำคัญในปจจุบันและอนาคต
มาดำเนินการแกไขปรับปรุงและปองกัน
- Development Based เปนการพัฒนาที่มุงเนนการตอยอดการพัฒนาที่ผานมาอยาง
ตอเนื่อง
- Creative Based เปนการพัฒนาที่มุงสรางสรรคสิ่งใหม
- Benchmarking Based เปนการพัฒนาที่มุงแสวงหาความเปนเลิศจากทั้งในและ
ตางประเทศมาประยุกตใชในพื้นที่
- Innovative Based เปนการพัฒนาที่มุงเสริมสรางนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงแบบกาว
กระโดด
กระบวนการจัดทำแผน
กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น
อีสาน มีขั้นตอนที่สำคัญ ดังนี้
1. การศึกษาขั้นปฐมภูมิ
ในขั้นนี้แผนปฏิบัติการไดศึกษาสภาพแวดลอมของพื้นที่ที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ศึกษาแผนการ
พัฒนาการทองเที่ยวที่ผานมา และศึกษารายละเอียดจากยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบทการพัฒนาประเทศ
วาระการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 แผนพัฒนาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี
หนองบัวลำภู รวมทั้งแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ เพื่อเชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาเชิงนโยบายกับ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน และนอกจากนั้นยังได
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 3
ศึกษาความสำเร็จของพื้นที่ตาง ๆ ในประเทศและความสำเร็จจากตางประเทศ เพื่อนำมาปรับใชในการพัฒนา
พื้นที่ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
2. การศึกษาขั้นทุติยภูมิ
ในขั้นนี้แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ไดจัด
ประชุมกลุมยอยกับจังหวัดขอนแกน โดยสำนักงานทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดขอนแกน และจัดใหมีการ
ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการจำนวน 2 วัน โดยมีผูแทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน และทองถิ่นที่เกี่ยวของ เชน
กรมอุทยาน สัตวปา และพันธุพืช กรมทรัพยากรธรณี กรมศิลปากร กรมการทองเที่ยว กรมทางหลวง กรมทาง
หลวงชนบท กองบัญชาการตำรวจทองเที่ยว กองบังคับการตำรวจทางหลวง สำนักงานการทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัด สำนักงานจังหวัด สำนักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น การ
ทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนตน และมีผูแทนจากผูประกอบการโรงแรมที่พัก หอการคาจังหวัด พรอม
องคกรทองเที่ยวทั้งสภาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวจังหวัด สมาคมมัคคุเทศกอาชีพแหงประเทศไทย สมาคม
โรงแรมไทย สมาคมธุรกิจทองเที่ยวภายในประเทศ สมาคมไทยทองเที่ยวเชิงอนุรักษและผจญภัย สมาคม
สื่อมวลชนเพื่อการทองเที่ยว เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการรวมกัน เพื่อรวมศึกษาและวิเคราะหความจำเปน
ทางการพัฒนาการทองเที่ยวของ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน พรอมบูรณาการกับกระบวนการจัดทำ
แผนพัฒนาจังหวัดในทุกจังหวัดในรอบการทบทวนแผนงบประมาณประจำป พ.ศ. 2563 และจัดประชุมเพื่อ
การวิพากษ (ราง) แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อ
กลั่นกรองความสมบูรณของแผนปฏิบัติการอีกครั้ง
3. การนำเสนอเพื่อพิจารณาใหขอเสนอแนะและเห็นชอบ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เมื่อดำเนินการ
รางฉบับสมบูรณเสร็จ ไดนำเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาเพื่อใหขอเสนอแนะ หลังจากนั้นไดนำมาปรับปรุง
ใหมีความสมบูรณและนำเสนอคณะกรรมการใหความเห็นชอบอีกครั้ง
นอกจากนี้การศึกษาในครั้งนี้ยังไดใหความสำคัญกับการดำเนินงานตามหลักวิชาการ และการระดม
ความคิดเห็น การศึกษาความตองการของผูที่มีสวนไดสวนเสีย การสำรวจพื้นที่สำคัญทางการทองเที่ยว เพื่อให
ไดขอมูลเชิงลึกที่ครบทุกมิติ ทั้งบริบทในพื้นที่และภาพรวมของจังหวัด อีกทั้งไดขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ
สภาวการณของอุตสาหกรรมทองเที่ยวของไทยและทิศทางการพัฒนาในมุมมองของหลายหนวยงาน เพื่อนำมา
สังเคราะหเปนแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวของพื้นที่ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ที่เหมาะสมสอดคลอง
กับสถานการณและกาวทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อใหการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำ
เขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ไดกำหนดไว ดัง
รายละเอียดในแผนภาพกระบวนการจัดทำแผนฯ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 4
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 5
บทที่ 1
ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
ขอมูลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1. ขอมูลทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู ระหวางละติจูด 14◦7' ถึง 18◦27' เหนือ และลองติจูด
100◦54' ถึง 105◦37' ตะวันออก ตั้งอยูในตําแหนงศูนยกลางของอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง โดยมีอาณาเขต
ติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวดานตะวันออก และดานเหนือ มีแมนํ้าโขงเปนเสนกั้น
พรมแดน และดานใตติดตอราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีเทือกเขาพนมดงรักกั้นพรมแดน
1.2 พื้นที่และลักษณะภูมิประเทศ มีพื้นที่รวม 105.53 ลานไร ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบสูง มี
ความลาดเอียงไปทางตะวันออก มีลักษณะคลายกระทะ แบงเปน 2 เขตใหญ ไดแก บริเวณแองที่ราบโคราช
อยูบริเวณที่ราบลุมแมนํ้ามูลและชี ลักษณะเปนที่ราบสูงสลับกับเนินเขา และบริเวณแองสกลนครอยูทางตอน
เหนือของภาค ตั้งแตแนวเขาภูพานไปจนถึงแมนํ้าโขง เทือกเขาที่แบงระหวางแองโคราชและแองสกลนคร
ไดแก เทือกเขาภูพาน
1.3 ภูมิอากาศ มีอากาศรอนชื้นสลับกับแลง แบงเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ชวงเดือนกุมภาพันธ -
พฤษภาคม อากาศจะรอนและแหงแลงมาก จังหวัดที่มีอุณหภูมิสูงสุด คือ อุดรธานี ฤดูฝน ชวงเดือน
พฤษภาคม - ตุลาคม ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหมีฝนตกเปนบริเวณกวาง แตมีแนว
เทือกเขาดงพญาเย็นและสันกําแพงกั้นลมฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต สงผลใหพื้นที่แองโคราช ซึ่งเปนเขตเงา
ฝนจึงมีสภาพแหงแลงกวาแองสกลนคร จังหวัดที่มีฝนตกมากที่สุด คือ นครพนม ฝนตกนอยที่สุด คือ
นครราชสีมา ฤดูหนาว ชวงเดือน พฤศจิกายน - กุมภาพันธ อากาศหนาวเย็น ไดรับอิทธิพลของลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีน จังหวัดที่มีอุณหภูมิตํ่าสุด คือ จังหวัดเลย
1.4 การใชประโยชนที่ดิน ในป 2560 มีพื้นที่ รวม 105.53 ลานไร จําแนกเปนพื้นที่ปาไม 15.75
ลาน ไร หรือรอยละ 14.9 พื้นที่ทําการเกษตร 63.87 ลานไร หรือรอยละ 60.5 และพื้นที่ใชประโยชนอื่น ๆ
26.02 ลานไร หรือรอยละ 24.7 ของพื้นที่ภาค
1.5 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.5.1 ดิน สภาพดินเปนดินทรายไมอุมนํ้า ทําใหขาดแคลนนํ้าและขาดธาตุอาหารใตดิน มีเกลือ
หิน ทําใหดินเค็ม จึงมีขอจํากัดตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตร
1.5.2 แหลงนํ้า มีลุมนํ้าขนาดใหญ 3 ลุมนํ้า ไดแก ลุมนํ้าโขง ลุมนํ้าชีและลุมนํ้ามูล ลํานํ้าหลัก
ของภาค ไดแก แมนํ้าชี มีความยาวประมาณ 765 กิโลเมตร ยาวที่สุดในประเทศไทย มีตนนํ้าที่ทิวเขา
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 6
เพชรบูรณ และไหลไปรวมกับแมนํ้ามูลที่จังหวัดอุบลราชธานี แมนํ้ามูล มีความยาวประมาณ 641 กิโลเมตร ตน
นํ้าอยูที่เทือกเขาสันกําแพงแลวไหลลงสูแมนํ้าโขงที่จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ยังมีลํานํ้าสาขายอย ไดแก
ลําปาว ลํานํ้าอูน ลํานํ้าสงคราม ลําเสียว ลํานํ้าเลย ลํานํ้าพอง และลําตะคอง รวมทั้งแหลงนํ้าธรรมชาติ ขนาด
ใหญ ที่กระจายอยูในพื้นที่ เชน หนองหาร (สกลนคร) และ บึงละหาน (ชัยภูมิ) นอกจากนี้ยังมีแหลงนํ้าบาดาล
มีปริมาณนํ้าในเกณฑเฉลี่ย 5-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง ที่ความลึกของบอประมาณ 30 เมตร คุณภาพของนํ้า
บาดาลมีตั้งแตเค็มจัด กรอย และจืด เนื่องจากพื้นที่ในแองโคราชและแองสกลนครจะรองรับดวยหินเกลือ หาก
เจาะนํ้าบาดาลลึกเกินไปอาจจะพบนํ้าเค็ม
1.5.3 ปาไม ในป 2561 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ปาไม จํานวน 15.75 ลานไร คิดเปน
รอยละ 15.03 ของพื้นที่ภาค หรือรอยละ 18.16 ของพื้นที่ปาไมทั้งประเทศ ซึ่งยังตํ่ากวาคาเปาหมาย ในการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศที่จะตองมีพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพื้นที่ สวนใหญมีลักษณะเปน ปาเบญจพรรณ
2. โครงสรางพื้นฐานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.1 โครงขายถนน เชื่อมโยงกับโครงขายหลักของประเทศและเชื่อมโยงสูประเทศเพื่อนบาน สปป.
ลาว กัมพูชา และสามารถเชื่อมโยงไปยังเวียดนามและจีนตอนใต
2.1.1 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) เชื่อมโยงทางหลวงแผนดินหมายเลข 1
(ถนนพหลโยธิน) และทางหลวงแผนดินหมายเลข 22 (อุดรธานี สกลนคร นครพนม) เชื่อมสู สปป.ลาว ผาน
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 3 (นครพนม-แขวงคํามวน) และมีถนนที่เชื่อมโยงอุดรธานี-หนองคาย เชื่อมสู
สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 1 (หนองคาย-เวียงจันทน)
2.1.2 เสนทางแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor:
EWEC) เชื่อมโยงจากชายแดนไทย-เมียนมา จากจังหวัดตาก-พิษณุโลก-เพชรบูรณ เขาสูภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 12 (ชัยภูมิ ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ มุกดาหาร)
และเชื่อมสู สปป.ลาว ผานสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) เปนเสนทาง
เชื่อมโยงการคา การลงทุนภายใตกรอบความรวมมือกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS)
2.1.3 เสนทางใหมเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก 2 (East-West Economic Corridor : EWEC
2) เชื่อมโยงจาก ภาคกลางของเวียดนามในจังหวัดกวางนาม เขาสูสปป.ลาว ทางดาน ดากตะออก ผานแขวงเซ
กอง แขวงจําปาศักดิ์ สปป.ลาว และเขาสูไทย ที่ดานวังเตา-ชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี
2.2 รถไฟ มีเสนทางเชื่อมโยงกับพื้นที่เศรษฐกิจหลักของ ประเทศบริเวณภาคกลางและพื้นที่
โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EEC) 3 เสนทาง ไดแก
1) กรุงเทพฯ-หนองคาย เชื่อมสู สปป.ลาว
2) กรุงเทพฯ-อุบลราชธานี
3) สายใหม เชื่อมโยงบานไผ มหาสารคาม รอยเอ็ด มุกดาหาร นครพนม
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 7
2.3 สนามบิน มี 9 แหง เปนสนามบินนานาชาติ 2 แหง คือ อุดรธานี และอุบลราชธานี และ
สนามบินภายในประเทศ 7 แหง ไดแก ขอนแกน นครพนม นครราชสีมา สกลนคร บุรีรัมย รอยเอ็ด และเลย
2.4 ดานชายแดน มี 15 ดานถาวร 23 จุดผอนปรน ที่เปนจุดเชื่อมโยงการคาชายแดนกับประเทศ
เพื่อนบาน
2.5 แผนงานพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ ที่อยูระหวางดําเนินการในภาค ไดแก รถไฟ
ความเร็วสูง (ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ชวงนครราชสีมา-หนองคาย) รถไฟทางคู (ชวงชุมทางถนนจิระ-
ขอนแกน ชวงขอนแกน-หนองคาย ชวงจิระ-อุบลราชธานี) ทางหลวงพิเศษระหวางเมืองและทางพิเศษ (ชวง
บางปะอิน-นครราชสีมา ชวงระเบียงเศรษฐกิจ EWEC ดานตะวันออก)
2.6 บริการสาธารณูปโภค
2.6.1 ไฟฟา มีระบบสายสงเชื่อมโยงกับระบบสายสงของประเทศและมีเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา
ที่สําคัญ ไดแก เขื่อนอุบลรัตน ( ขอนแกน ) เขื่อนจุฬาภรณ ( ชัยภูมิ ) เขื่อนลําตะคอง ( นครราชสีมา ) และ
เขื่อนสิรินธร ( อุบลราชธานี )
2.6.2 ประปา มีระบบบริการประปาครอบคลุมพื้นที่เขตเมือง ประกอบดวยการประปาสวน
ภูมิภาค มีหนวยงานระดับเขต 3 แหง คือ สํานักงานเขตประปาเขต 6 (ขอนแกน) สํานักงานประปาเขต 7
(อุดรธานี) และสํานักงานประปาเขต 8 (อุบลราชธานี)
3. ดานเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3.1 ภาพรวมเศรษฐกิจ
3.1.1 เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีขนาดเล็ก มูลคาผลิตภัณฑภาค ณ ราคาประจําป
2560 เทากับ 1,496,072 ลานบาท คิดเปนรอยละ 9.7 ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมประเทศ ซึ่งลดลงเมื่อ
เทียบกับป 2556 ที่มีสัดสวนรอยละ 10.6 ของประเทศ
3.1.2 โครงสรางการผลิตยังคงพึ่งพิงภาคเกษตร และอุตสาหกรรมเปนหลัก ในป 2560 ภาค
เกษตรและภาคอุตสาหกรรมมีสัดสวนเทากันรอยละ 19.6 สําหรับภาคบริการ มีสัดสวน รอยละ 60.8 ซึ่ง
ประกอบดวย สาขาขายสง ขายปลีกฯ สาขาขนสงฯ และบริการอื่น ๆ รอยละ 13.4 2.4 และ 45.0 ตามลําดับ
ซึ่งรายไดหลักของภาคมาจากภาคบริการและภาคเกษตร ในขณะที่ ภาคอุตสาหกรรม จะมีแนวโนมจะเปนฐาน
รายไดใหมของภาคจากนโยบายการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ป 2559
3.1.3 เศรษฐกิจขยายตัวตํ่ากวาระดับประเทศ เกิดความเหลื่อมลํ้าระหวางภาคมากขึ้น โดย ป
2560 มีการขยายตัวรอยละ 2.5 ซึ่งตํ่ากวาการขยายตัวของประเทศ ที่มีการขยายตัวรอยละ 4.0 เปนผลมาจาก
การชะลอตัวของภาคเกษตร ไดรับผลกระทบจากฝนทิ้งชวงและภัยแลง รวมทั้งราคาพืชผลเกษตรตกตํ่า
ตอเนื่อง ทําใหรายไดลดลง สงผลกระทบตออํานาจซื้อของครัวเรือน
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 8
3.1.4 รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้น แตยังตํ่ากวาคาเฉลี่ยของประเทศ ในป 2560 ผลิตภัณฑ
ภาคตอหัวประชากร (GRP Per capita) เฉลี่ย 80,352 บาทตอคนตอป ซึ่งตํ่ากวาคาเฉลี่ยของประเทศ 2.8 เทา
และตํ่ากวา กทม.และปริมณฑลถึง 5.6 เทา จังหวัดที่มีรายไดเฉลี่ยตอหัวสูงที่สุด 3 อันดับ แรกของภาค ไดแก
จังหวัดขอนแกน (117,560 บาท) นครราชสีมา (100,301 บาท) และเลย (97,903 บาท) สวน 3 อันดับสุดทาย
ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ (61,084 บาท) ยโสธร (54,183 บาท) และ หนองบัวลําภู (53,416 บาท)
ตารางผลิตภัณฑมวลรวมและโครงสรางเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รายการ 2556 2557 2558 2559 2560
มูลคาผลิตภัณฑภาค
 มูลคา (ลานบาท) 1,373,003 1,319,175 1,363,568 1,438,846 1,496,072
 สัดสวนตอประเทศ (รอยละ) 10.6 10.0 9.9 9.9 9.7
 อัตราขยายตัวที่แทจริง (รอยละ) 0.9 -0.4 3.1 3.0 2.5
มูลคาผลิตภัณฑภาคตอหัว
 มูลคา (บาท/คน/ป) 72,925 70,247 72,810 77,049 80,352
 อัตราการขยายตัว (รอยละ) 7.9 -3.7 3.6 5.8 4.3
โครงสรางการผลิต (รอยละ)
 ภาคเกษตร 26.2 23.1 21.8 20.7 19.6
- เกษตรกรรม 25.7 22.6 21.4 20.3 19.2
- ประมง 0.5 0.5 0.4 0.4 0.4
 ภาคอุตสาหกรรม 18.1 19.4 19.0 19.3 19.6
- เหมืองแรฯ 0.9 1.0 1.1 1.1 0.9
- อุตสาหกรรม 17.2 18.4 17.9 18.2 18.7
 ภาคบริการ 55.7 57.5 59.2 60.0 60.8
- การคา 10.4 11.3 12.0 12.8 13.4
- การขนสง 2.0 2.2 2.3 2.3 2.4
- อื่น ๆ 43.3 44.0 44.9 44.9 45.0
3.1.5 เศรษฐกิจยังคงกระจุกตัวอยูในบางจังหวัดที่เปนแหลงการผลิตที่สําคัญของภาค ในป
2560 จังหวัดนครราชสีมา มีสัดสวนการผลิตรอยละ 18.4 ของภาค และจังหวัดขอนแกน มีสัดสวนการผลิต
รอยละ 13.6 ของภาค ในขณะที่จังหวัดอํานาจเจริญ หนองบัวลําภู มุกดาหาร ยโสธร และบึงกาฬ มีขนาด
เศรษฐกิจเล็กที่สุดของภาค แตละจังหวัดมีสัดสวนไมถึงรอยละ 2.0 ของภาค
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 9
3.2 เศรษฐกิจรายสาขา
3.2.1 ภาคเกษตร
1) เปนแหลงผลิตพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ แตรูปแบบการผลิตยังอาศัยนํ้าฝนเปน
หลัก จึงมีผลิตภาพตํ่า โดยในป 2560 ผลิตภัณฑภาคเกษตรมีมูลคา 292,688 ลานบาท พืชหลักของภาค ไดแก
ขาว ออยโรงงาน และ มันสําปะหลังโดยมีพื้นที่ปลูกขาวมากที่สุดของประเทศ สวนใหญปลูกขาวหอมมะลิ 105
ในพื้นที่ตอนกลางและตอนลางของภาค โดยเฉพาะพื้นที่ทุงกุลารองไห ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดยโสธร ศรีสะเกษ
สุรินทร มหาสารคาม รอยเอ็ด และทุงสัมฤทธิ์ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย โดยผลผลิต
เฉลี่ยตอไรในภาพรวมตํ่ากวาระดับประเทศ เนื่องจากทําการเกษตรแบบดั้งเดิม ใชสารเคมีสูง ซึ่งในแตละปมี
การนําเขาวัตถุอันตรายทางเกษตร เฉลี่ยไมตํ่ากวา 3 พันลานบาทตอป เปนภาคที่มีพื้นที่ปลูกออยและมัน
สําปะหลังมากที่สุดของประเทศ โดยออยสวนใหญปลูกในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแกน กาฬสินธุ
และอุดรธานี และมันสําปะหลังในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี สําหรับพื้นที่ปลูกขาวอินทรีย
มีแนวโนมขยายพื้นที่มากขึ้น ปจจุบันแหลงปลูกขาวอินทรียในประเทศไทยรอยละ 80 อยูในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่ทุงกุลารองไห (จังหวัดยโสธร สุรินทร มหาสารคาม ศรีสะเกษ
รอยเอ็ด) และจังหวัดอุบลราชธานี สวนอีกรอยละ 20 อยูในภาคเหนือตอนบน ตลาดขาวอินทรีย สวนใหญ
สงออกตางประเทศ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป
2) มีพื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตรมากที่สุด แตขนาดฟารมที่ถือครองตอครัวเรือน
เกือบตํ่าสุดของประเทศ ในป 2560 มีพื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตร 63.85 ลานไร คิดเปน รอยละ 42.8
ของประเทศ โดยพบวาพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินสูงสุด คือ จังหวัดในบริเวณตอนลางของภาค มีการพื้นที่
ใชประโยชนทางการเกษตรมากที่สุด 32.92 ลานไร คิดเปนรอยละ 51.5 ของภาค สําหรับขนาดฟารมที่ถือ
ครองตอครัวเรือน มีเพียง 23.4 ไรตอครัวเรือน ตํ่ากวาระดับประเทศที่มีขนาดฟารมถือครองตอครัวเรือน 25.2
ไรตอครัวเรือน จังหวัดที่มีเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรตอครัวเรือนมากที่สุด ไดแก จังหวัด นครราชสีมา บึง
กาฬ หนองบัวลําภู และเลย มีเนื้อที่ถือครอง 32.14 31.12 30.19 และ 28.83 ไรตอครัวเรือน ตามลําดับ
จังหวัดที่มีเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรตํ่าสุดของภาค ไดแก จังหวัดสกลนคร นครพนม และ รอยเอ็ด โดยมีเนื้อ
ที่ถือครอง 17.79 18.29 และ 20.10 ไรตอครัวเรือน ตามลําดับ
3) พื้นที่ชลประทานนอยกวาทุกภาค โดยมีเพียง 7.12 ลานไร คิดเปนรอยละ 11.2 ของ
พื้นที่เกษตร ซึ่งตํ่ากวาระดับประเทศที่มีพื้นที่ชลประทานตอพื้นที่เกษตรรอยละ 22 ผลผลิตการเกษตรของภาค
ขึ้นอยูกับสภาพดินฟาอากาศเปนหลัก ประกอบกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ทวีความ
รุนแรงมากขึ้น สงผลกระทบตอความมั่งคงดานอาหาร ในพื้นที่ตอนกลางของภาคมีสัดสวนพื้นที่ ชลประทาน
ตอพื้นที่เกษตรมากที่สุด รอยละ 16.7 ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ มีสัดสวนรอยละ 21.9 ของพื้นที่ เกษตรของ
จังหวัด รองลงมาพื้นที่ตอนลางของภาคมีสัดสวนพื้นที่ชลประทานตอพื้นที่เกษตร รอยละ 11.4 ไดแก ยโสธร
และจังหวัดนครราชสีมา มีสัดสวนรอยละ 17.6 และ 12.7 ของพื้นที่เกษตรของจังหวัด ตามลําดับ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 10
3.2.2 ภาคอุตสาหกรรม
1) อุตสาหกรรมขยายตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้น แตมีบทบาทนอยเมื่อเทียบกับประเทศ
การผลิตสวนใหญเปนอุตสาหกรรมแปรรูปขั้นตน สรางมูลคาเพิ่มตํ่าโดยมีสัดสวนเพียงรอยละ 6.7 ของ
ประเทศ ในป 2560 มีมูลคา ณ ราคาประจําป 280,337 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 236,562 ลานบาท ในป 2556
และมีอัตราการขยายตัวในป 2560 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 ซึ่งสูงกวาอัตราการขยายตัวระดับประเทศ ที่มีการ
ขยายตัวรอยละ 3 โดยอุตสาหกรรมของภาคสวนใหญกระจุกตัวอยูตามเมืองหลัก อาทิ จังหวัดขอนแกน และ
นครราชสีมา สําหรับโครงสรางการผลิตอุตสาหกรรมยังอยูในกลุมอาหารและเครื่องดื่ม สวนอุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิกส ผลิตภัณฑยางและพลาสติก และสิ่งทอ เริ่มมีบทบาทมากขึ้น และเปนฐานสรางรายไดใหมใหกับ
ภาค ซึ่งอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส กระจุกตัวในจังหวัดนครราชสีมา รอยละ 96.2 ของภาค สวนอุตสาหกรรม
สิ่งทอสวนใหญกระจายอยูทุกจังหวัด โดยจังหวัดที่มีสัดสวนมากที่สุด 5 อันดับแรกของภาค ไดแก จังหวัด
ขอนแกน มหาสารคาม นครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี สําหรับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางและพลาสติก
สวนใหญกระจุกตัวอยูที่จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานี บึงกาฬ และบุรีรัมย สําหรับอุตสาหกรรมที่เคยเปนฐาน
รายเดิมของภาค เริ่มมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อาทิ อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย จากรอยละ 3.1 เพิ่มขึ้น รอยละ 3.4
ของสาขาอุตสาหกรรมโดยจังหวัดที่มีสัดสวนมากที่สุด 5 อันดับแรกของภาค ไดแก ขอนแกน สุรินทร
นครราชสีมา อุบลราชธานี รอยเอ็ด สวนอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (เอทานอล) ปจจุบันมี ผูประกอบการ
เปดดําเนินการแลว 8 ราย ปริมาณการผลิตเฉลี่ย 2.3 ลานลิตรตอวัน หรือรอยละ 38.5 ของการผลิตรวมทั้ง
ประเทศ
2) การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ที่อยูภายใตการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
(กนอ.) ปจจุบันมี 2 แหง ไดแก นิคมอุตสาหกรรมอุดรธานี โดย กนอ. ไดอนุมัติใหบริษัทเมืองอุตสาหกรรม
อุดรธานี จํากัด ดําเนินการ ซึ่งเปนโครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสีเขียว ปจจุบันอยูระหวางการดําเนินการ มี
พื้นที่ประมาณ 2,219 ไร ในทองที่ตําบลโนนสูง และตําบลหนองไผ อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โดย
อุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต อิเล็กทรอนิกส ยางพาราขั้นปลาย และศูนยโลจิ
สติกส และนิคมอุตสาหกรรมหนองคาย ดําเนินการโดย บริษัทนาคา คลีนเพาเวอร จํากัด ปจจุบันอยูระหวาง
การศึกษา วิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) มีเนื้อที่ประมาณ 2,960 ไร ในพื้นที่ตําบลโพนสวาง อําเภอ
เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย รองรับอุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทาง
การเกษตร อาหารและเครื่องดื่ม ชิ้นสวนยานยนต และโลจิสติกส
3.2.3 การคาชายแดน
1) การคาชายแดนและผานแดน มีการขยายตัวอยางกาวกระโดด และมีบทบาทสําคัญ
ตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคมากขึ้น โดยในป 2561 มีมูลคาการคาชายแดน 333,960.30 ลานบาท คิด
เปนรอยละ 24 ของการคาชายแดนทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นจากรอยละ 15.4 ในป 2556 โดยการสงออกมีมูลคา
187,323.79 ลานบาท และการนําเขามีมูลคา 146,636.51 ลานบาท เกินดุลการคา 40,687.28 ลานบาท จาก
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 11
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบาน และประเทศจีน สินคาสงออกที่ สําคัญ ไดแก นํ้ามันดีเซล
และเบนซิน รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ผลไมสดแชเย็น แชแข็งและแหง และเครื่องดื่มที่ไมมี
แอลกอฮอล ซึ่งเปนสินคาสงออกที่ผลิตจากนอกภาคสินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก ทองแดงและผลิตภัณฑ
เครื่องรับ-สงสัญญาณ และอุปกรณติดตั้ง (โทรศัพท วิทยุ โทรทัศน อุปกรณ) ผักและของปรุงแตงจากผัก เปน
ตน
2) โครงสรางของมูลคาการคาชายแดน จําแนกตามประเทศคูคาของภาค พบวา ในป
2561 การคากับ สปป.ลาว มีมูลคาการคา เทากับ 167,194.41 ลานบาท คิดเปนรอยละ 50.1 ของมูลคา
การคาชายแดนทั้งภาค โดยผานดานศุลกากรมุกดาหาร หนองคาย และดานชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี คิด
เปนรอยละ 37.3 37.1 และ 10.6 ของมูลคาการคากับ สปป.ลาว ตามลําดับการคากับจีนตอนใตมีมูลคาการคา
83,467.65 ลานบาท และเวียดนามมีมูลคาการคา 77,142.90 ลานบาท คิดเปนรอยละ 25 และ 23.1
ตามลําดับ แนวโนมการคาชายแดนมีความสําคัญมากขึ้น สวนใหญผานดานศุลกากรมุกดาหาร สําหรับมูลคา
การคากับกัมพูชามีเพียงรอยละ 1.8 ของมูลคาชายแดนทั้งภาค
3.2.4 การทองเที่ยว
1) ทรัพยากรการทองเที่ยว มีความหลากหลายทั้งการทองเที่ยวยุคกอน ประวัติศาสตร
และอารยธรรมขอม การทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา
ภูหลวง ภูเรือ และภูกระดึง จังหวัดเลย รวมทั้งการทองเที่ยวประเพณีวัฒนธรรม และ การทองเที่ยวบริเวณ
เมืองชายแดนริมแมนํ้าโขงเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน
2) รายไดจากการทองเที่ยวของภาคตํ่ากวารอยละ 5 ของรายไดการทองเที่ยวทั้ง
ประเทศ ในป 2560 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนนักทองเที่ยว 40.59 ลานคน คิดเปนรอยละ 14 ของ
จํานวนนักทองเที่ยวทั้งประเทศ และมีรายไดจากการทองเที่ยว 86,721.62 ลานบาท คิดเปนรอยละ 3.5 ของ
รายไดทองเที่ยวทั้งประเทศ และรายไดจากการทองเที่ยวของภาคสวนใหญเปนรายไดจากนักทองเที่ยวชาวไทย
รอยละ 95.6 ชาวตางชาติรอยละ 4.4 สําหรับระยะเวลาพํานักเฉลี่ย ลดลงจาก 2.44 วัน ในป 2556 เหลือ
เพียง 2.33 วัน และคาใชจายตอหัวเพิ่มขึ้นจาก 1,015.30 บาทตอวัน ในป 2556 เปน 1,213.63 บาทตอวัน
ในป 2560
3) การกระจายตัวของนักทองเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีจํานวน
นักทองเที่ยวสูงสุด ประมาณ 19.53 ลานคนตอป สรางรายไดประมาณ 39,749.60 ลานบาทตอป ในป 2560
รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีนักทองเที่ยวประมาณ 13.66 ลานคนตอป สรางรายได
27,788.09 ลานบาทตอป และในพื้นที่ตอนกลางของภาค มีนักทองเที่ยวประมาณ 7.39 ลานคนตอป สราง
รายได 19,183.93 ลานบาทตอป จังหวัดนครราชสีมา มีจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดมากที่สุด สวนจังหวัด
อํานาจเจริญและหนองบัวลําภูมีจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดตํ่าที่สุด ทั้งนี้การทองเที่ยวของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังมีปญหาในหลายดาน อาทิ ความเสื่อมโทรมของแหลงทองเที่ยว แหลงทองเที่ยวอยู
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 12
หางไกลกัน การทองเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมมีปฏิทินการทองเที่ยวในชวง ระยะเวลาสั้น ๆ สิ่งอํานวยความ
สะดวกและบุคลากรดานการทองเที่ยวขาดมาตรฐาน รวมถึงขาดการเชื่อมโยงเสนทางทองเที่ยว และปฏิทิน
การทองเที่ยว
3.3 เศรษฐกิจระดับครัวเรือน
3.3.1 รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตํ่าเปนอันดับสองของประเทศ โดยในป
2560 มีรายไดเฉลี่ย 20,750 บาทตอเดือน ตํ่ากวารายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนทั้งประเทศที่ 26,973 บาทตอเดือน
3.3.2 หนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือสูงกวาระดับประเทศ โดยในป 2560 มี
จํานวนครัวเรือนที่เปนหนี้ 3.61 ลานครัวเรือน มากกวาทุกภาค หรือมีสัดสวนรอยละ 33.3 ของครัวเรือนที่เปน
หนี้ทั้งประเทศ และหนี้สินครัวเรือนของภาคเฉลี่ย 179,923 บาท เพิ่มขึ้นจาก 149,307 บาท ในป 2556 และ
สูงกวาหนี้สินตอครัวเรือนเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 178,994 บาท โดยหนี้สินสูงขึ้นจากราคาสินคาเกษตรตกตํ่า และ
ตนทุนการผลิตสูงขึ้น ทําใหรายไดไมพอรายจาย เมื่อพิจารณาวัตถุประสงคของการกูยืม พบวา ครัวเรือนสวน
ใหญกูยืมใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภค เพื่อทําการเกษตรและนําไปใชลงทุนในสินทรัพย เชน บาน รถยนต
มากกวาการกูยืมเพื่อการศึกษา
4. ดานสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4.1 ประชากร
4.1.1 จํานวนประชากรของภาคมากที่สุดของประเทศ ป 2560 มีจํานวนประชากร 21.99 ลาน
คน หรือรอยละ 33.2 ของประเทศ เพิ่มขึ้นจาก 21.70 ลานคน ในป 2555 และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของ
ประชากรในชวงป 2555-2560 โดยเฉลี่ยรอยละ 0.22 ตํ่ากวาประเทศที่มีอัตราการเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 0.54 โดย
จังหวัดนครราชสีมา มีประชากรมากที่สุด 2.64 ลานคน รองลงมา คือ จังหวัดอุบลราชธานี มีประชากร 1.87
ลานคน และจังหวัดขอนแกน มีประชากร 1.81 ลานคน คิดเปนรอยละ 12.0 8.5 และ 8.2 ของประชากรภาค
ตามลําดับ
4.1.2 สัดสวนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น โครงสรางประชากรมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลง ไปสู
สังคมสูงวัยมากขึ้น โดยในป 2555 มีสัดสวนประชากรสูงอายุรอยละ 15.8 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 19.4 ในป 2560
ซึ่งสูงกวารอยละ 17.1 ของสัดสวนผูสูงอายุระดับประเทศ จึงทําใหประชากรวัยแรงงาน ตองรับภาระในการ
ดูแลผูสูงอายุมากขึ้น จากประชากรวัยแรงงาน 3.91 คน ดูแลผูสูงอายุ 1 คน ในป 2555 เปนประชากรวัย
แรงงาน 3.13 คน ดูแลผูสูงอายุ 1 คน ในป 2560
4.1.3 ประชากรเมืองโดยรวมเพิ่มขึ้น ป 2555 มีประชากรเมืองจํานวน 4.36 ลานคน หรือรอย
ละ 20.1 ของประชากรทั้งภาค เพิ่มขึ้นเปน 4.45 ลานคน หรือรอยละ 20.2 ของประชากรทั้งภาค ในป 2560
โดยจังหวัดมหาสารคามมีอัตราการเพิ่มของประชากรเมืองมากที่สุด รอยละ 18 รองลงมา ไดแก จังหวัด
ขอนแกน รอยเอ็ด และอุบลราชธานี มีอัตราการเพิ่มของประชากรเมืองรอยละ 14.9 8.2 และ 6.6 ตามลําดับ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 13
ซึ่งสวนใหญเปนเมืองศูนยกลางความเจริญของภาคทั้งดานเศรษฐกิจ และการศึกษา จึงทําใหประชากรอพยพ
เขาไปทํางานและอาศัยจํานวนมาก
ตารางประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รายการ
ป
2555 2556 2557 2558 2559 2560
จํานวนประชากร (ลานคน) 21.70 21.78 21.85 21.92 21.95 21.99
โครงสรางประชากร (รอยละ)
กลุม ๐-๑๔ ป
กลุม ๑๕-๕๙ ป
กลุม ๖๐ +
22.4
61.8
15.8
21.9
61.6
16.5
21.3
61.5
17.2
20.8
61.3
17.9
20.3
61.0
18.7
19.9
60.7
19.4
จํานวนประชากรเมือง (ลานคน) 4.36 4.40 4.43 4.43 4.45 4.45
4.2 แรงงาน
แรงงานสวนใหญมีความรูระดับประถมศึกษา แรงงานระดับอาชีวะมีสัดสวนนอยมาก ในป 2560 มี
กําลังแรงงาน 9.63 ลานคน สวนใหญอยูในภาคเกษตร รอยละ 50.77 ของกําลังแรงงาน ของภาค จํานวน
แรงงานที่มีความรูระดับประถมลดลง จากรอยละ 56.8 ในป 2556 เปนรอยละ 56.48 ในป 2560 มีความรู
ระดับมัธยมตนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 16.02 ในป 2555 เปนรอยละ 17.9 ในป 2560 ระดับมัธยมปลายเพิ่มขึ้น
จากรอยละ 11.87 ในป 2555 เปนรอยละ 11.96 ในป 2560 แรงงานระดับ อาชีวะเพิ่มขึ้นจากรอยละ 2.07
ในป 2555 เปนรอยละ 2.09 ในป 2560 ระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 7.05 ในป 2555 เปนรอยละ
9.56 ในป 2560
4.3 การศึกษา
4.3.1 สถาบันการศึกษามีทุกระดับ โดยระดับอุดมศึกษามี 53 แหง ครอบคลุมเกือบทุกจังหวัด
แยกเปนมหาวิทยาลัยของรัฐ 36 แหง เอกชน 10 แหง และสถาบันวิทยาลัยชุมชน 7 แหง ในจํานวนนี้เปน
สถาบันวิจัย 12 แหง ซึ่งมากที่สุดในประเทศ
4.3.2 จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของประชากรตํ่ากวาคาเฉลี่ยประเทศ ในป 2560 ประชากร มี
จํานวนปการศึกษาเฉลี่ย 8.6 ป ซึ่งตํ่ากวาระดับประเทศที่มีปการศึกษาเฉลี่ย 9.5 ป โดยจังหวัดขอนแกนมี
จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยสูงสุด 9.3 ป รองลงมา ไดแก จังหวัดมหาสารคาม นครราชสีมา และหนองคาย 9.1
9.0 และ 8.8 ป ตามลําดับ ขณะที่จังหวัดบึงกาฬ และสกลนคร มีจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยตํ่าสุด 8.1 ป
4.3.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาอยูในเกณฑตํ่า โดยผลการสอบ O-NET ชั้น ม.3 (4 วิชาหลัก) ใน
ปการศึกษา 2555 มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 34.9 ลดลงเปนรอยละ 32.5 ในป 2560 ซึ่งตํ่ากวาเกณฑ คาเฉลี่ย
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน

More Related Content

What's hot

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPanuchanat
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56surdi_su
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนManoonpong Srivirat
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015Thana Chirapiwat
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015Thana Chirapiwat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015Thana Chirapiwat
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยpentanino
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 

What's hot (20)

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
Public administration information system
Public administration information systemPublic administration information system
Public administration information system
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
Summary dhurain
Summary dhurainSummary dhurain
Summary dhurain
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลย
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 

15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน

  • 1.
  • 2.
  • 3. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน บทสรุปผูบริหาร แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน จัดทำขึ้นเพื่อ กำหนดทิศทางการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน (ขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี และหนองบัวลำภู) ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน และหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดใชเปนแนวทางในการบูรณาการในการทำงานรวมกันอยางมีเอกภาพ และมีพลังจนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ขึ้น เพิ่มมูลคารวมตลาดของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น อีสานใหเติบโตอยางตอเนื่อง เพิ่มการสรางงาน อาชีพใหกับประชาชน และรายไดกับชุมชนจากการพัฒนาการ ทองเที่ยวของชุมชน พรอมทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมทองเที่ยวใหเปนกลไกสงเสริมเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม ความมั่นคง และการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และอนุรักษพัฒนาสืบสานตอยอดการ ทองเที่ยวทางธรณีวิทยาและการดำรงรักษาไวซึ่งเอกลักษณธรณีวิทยาถิ่นอีสาน สรางความรัก ความภาคภูมิใจ ความหวงแหนตอวิถีชีวิตที่ดีงาม และหนุนเสริมการเสริมสรางการทองเที่ยวทางธรณีวิทยาของพื้นที่ ให เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป แผนแมบทการพัฒนาประเทศ วาระปฎิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา และ สอดคลองกับแผนการพัฒนากลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน แผนพัฒนา จังหวัดชัยภูมิ แผนพัฒนาจังหวัดกาฬสินธุ แผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานี แผนพัฒนาจังหวัดหนองบัวลำภู โดยได จัดทำแผนปฏิบัติการฯ ใหมีความสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาประเทศที่สำคัญในปจจุบัน รวมทั้งความ เหมาะสมกับสภาพแวดลอมและสถานการณของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อใหตอบสนองความตองการ นอกจากนี้ยังไดจัดใหมีการประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นผูเกี่ยวของ และผู มีสวนไดสวนเสีย เพื่อเพิ่มเติมแกไขใหแผนปฏิบัติการฯ มีความสมบูรณที่สุด โดยสาระสำคัญของแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น อีสาน ประกอบไปดวย วิสัยทัศน เปาหมายการพัฒนา ประเด็นการพัฒนา อันเปนเครื่องมือที่สำคัญที่ใชเปน แนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ใหบรรลุ วัตถุประสงค ซึ่งประกอบดวย วิสัยทัศน (Vision) : “บูรณาการจัดการทองเที่ยวธรณีวิทยาและภูมิปญญาพื้นถิ่นอีสาน เชื่อมโยง การทองเที่ยวอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง” และใหคำนิยามของวิสัยทัศนไวดังนี้ การจัดการทองเที่ยวในเขต ธรณีวิทยารวมกับการใชภูมิปญญาทองถิ่นของชุมชนอีสานที่อาศัยอยูในพื้นที่ทองเที่ยว รวมกับหนวยงาน ภาครัฐและเอกชน บริหารจัดการทองเที่ยวอยางยั่งยืน เชื่อมโยงการทองเที่ยวระหวางไทย ลาว พมา และจีน เพื่อเสริมสรางเศรษฐกิจในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน วิสัยทัศนแผนปฏิบัติการพัฒนาการ ทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน มีแนวคิดหลักในใหประชาชนมีสวนรวมและการ
  • 4. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน พัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยจัดรูปแบบการทองเที่ยวใหสอดคลองกับกลุมวัย ภายใตทรัพยากรการ ทองเที่ยวที่โดดเดน โดยมุงเนนการทองเที่ยวทางประวัติศาสตร วัฒนธรรมและธรรมชาติ เชน พิพิธภัณฑ ไดโนเสาร และพิพิธภัณฑบานเชียง ซึ่งเปนอารยธรรมสมัยกอนประวัติศาสตรที่มีคุณคายิ่ง ตลอดจนบูรณาการ การจัดการทองเที่ยวโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาจัดการดานระบบฐานขอมูลดานการทองเที่ยว การสื่อสาร การตลาดการประชาสัมพันธ และการอำนวยความสะดวกแกนักทองเที่ยว เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวให ครอบคลุมอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง เปาหมายการพัฒนา : 1. มูลคารวมของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เติบโตอยาง ตอเนื่อง มีมูลคารวมไมนอยกวา ........ ลานบาท 2. จำนวนบุคลากร/ชุมชนที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพทางดานการทองเที่ยวไมนอยกวา 200 คน 3. อัตราการขยายตัวของรายไดจากการทองเที่ยวทางธรณีวิทยาของ 5 จังหวัดในเขตพัฒนาการ ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เติบโตไมนอยกวารอยละ 10 4. ดัชนีความสุขของประชาชนในชุมชนทองเที่ยวหลักของพื้นที่ (ความพึงพอใจตอการทองเที่ยวที่สราง รายได สรางโอกาสทางเศรษฐกิจแกชุมชน) เติบโตไมนอยกวารอยละ 75 5. สรางและพัฒนาพื้นที่ทองเที่ยวทางธรณีวิทยาที่เติบโตอยางตอเนื่องบนฐานเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จำนวนไมนอยกวา 20 แหง ประเด็นการพัฒนา : 1. พัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาและภูมิปญญาพื้นถิ่นอีสาน เพื่อรองรับการเปนอุทยานธรณีวิทยา มุงเนนการสงเสริมและพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่โดดเดนของพื้นที่ธรณีวิทยา เมืองยุคกอน ประวัติศาสตร ดินแดนไดโนเสาร และวัฒนธรรมประเพณีพื้นถิ่นอีสาน 2. พัฒนาการทองเที่ยวเพื่อรองรับขีดความสามารถการเปนเมืองไมซ (MICE City) และเชื่อมโยงสูจังหวัด ใกลเคียง มุงเนนการพัฒนาขีดความสามารถทางการทองเที่ยวรองรับการเปนเมืองไมซ (MICE City) และเชื่อมโยงการทองเที่ยวกระจายไปยังจังหวัดที่มีพื้นที่ติดตอ 3. พัฒนาเสนทางคมนาคมในแนวระเบียงเศรษฐกิจ EWEC (East-West Economic Corridor) เพื่อ เชื่อมโยงการทองเที่ยวกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง มุงเนนการพัฒนาเสนทางคมนาคมในแนว ระเบียงเศรษฐกิจใหสามารถเชื่อมโยงเสนทางหลักในแนวระเบียงเศรษฐกิจกับแหลงทองเที่ยวเสนทาง รอง และพัฒนาระบบสาธารณูปโภคใหพรอมและเพียงพอตอการรองรับการทองเที่ยวในเขต พัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อเพิ่มโอกาสทางดานธุรกิจและการเดินทางทองเที่ยว 4. พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อยกระดับการทองเที่ยวและเพิ่มมูลคาสินคา มุงเนนการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสงเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ เพื่อยกระดับการทองเที่ยว
  • 5. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน และเพิ่มมูลคา รวมถึงการเพิ่มชองทางการจำหนายสินคาทองเที่ยว ผลิตภัณฑชุมชน และสินคา OTOP 5. การบูรณาการเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานอยางยั่งยืน มุงเนนการพัฒนาการทองเที่ยว แบบบูรณาการ โดยหนวยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนเปนหุนสวนในการจัดการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยแสดงภาพรวมของแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยา ถิ่นอีสาน ดังผังโครงสรางตอไปนี้
  • 7. สารบัญ หนา บทนํา 1 • แนวคิดการจัดทําแผน 1 • กระบวนการจัดทําแผน 2 บทที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 5 • ขอมูลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 • ขอมูลจังหวัดขอนแกน 18 • ขอมูลจังหวัดชัยภูมิ 31 • ขอมูลจังหวัดกาฬสินธุ 54 • ขอมูลจังหวัดอุดรธานี 67 • ขอมูลจังหวัดหนองบัวลําภู 89 • สถานการณและแนวโนมการทองเที่ยว 104 • แนวทางและขอเสนอแนะในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน บทที่ 2 จุดยืน ตําแหนง และศักยภาพการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการ 112 ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน • จุดยืนและตําแหนงการพัฒนา 112 • การประเมินศักยภาพและสภาพแวดลอมภายนอก (SWOT Analysis) 113 บทที่ 3 แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยว 118 ธรณีวิทยาถิ่นอีสาน • วิสัยทัศน (Vision) 118 • วัตถุประสงค 119 • เปาหมายการพัฒนา 119 • ประเด็นการพัฒนา/ยุทธศาสตร 119
  • 8. หนา • แผนงาน/โครงการ ภายใตแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว 125 ประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน บทที่ 4 ผลประโยชน รูปแบบการลงทุน และกลไกการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ 154 พัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน • ผลประโยชนดานเศรษฐกิจ ความมั่นคง สังคม และสิ่งแวดลอม 154 • รูปแบบการลงทุนการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 156 • กลไกการขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยว 156 ธรณีวิทยาถิ่นอีสาน บรรณานุกรม
  • 9. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 1 บทนำ แนวคิดการจัดทำแผน แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน มีแนวคิด หลักการสำคัญ ดังนี้ 1. แผนปฏิบัติการยึดมั่นในแนวคิดในการมุงเนนการเชื่อมโยงยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบทการ พัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนากลุมจังหวัด และ แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู ที่เกี่ยวของ กับประเด็นการสงเสริมการทองเที่ยว รวมทั้งการเชื่อมโยงการทองเที่ยวของพื้นที่กับแผนพัฒนาการทองเที่ยว แหงชาติ อีกทั้งใหความสำคัญกับการเชื่อมโยงความตองการของผูที่มีสวนไดสวนเสียในบริบทของพื้นที่ โดย เนนการบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยยึด หลักการใชพื้นที่ทองเที่ยวสำคัญเปนฐานในการพัฒนา ยึดประชาชนและนักทองเที่ยวเปนศูนยกลางของการ จัดทำแผนปฏิบัติการ 2. การศึกษาสภาพแวดลอมและบริบทการทองเที่ยวของจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู ประเทศไทย อาเซียนใต และของโลกที่เชื่อมโยงและเกี่ยวของ เพื่อศึกษาสถานการณความ เคลื่อนไหวของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การเปลี่ยนแปลงและแนวโนมที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการ กำหนดทิศทางการพัฒนาในชวงเวลาของแผนพัฒนาแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการ ทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อนำมาเปนปจจัยเขาในการกำหนดทิศทางการพัฒนา โดยยึดการตั้งอยูบน พื้นฐานของศักยภาพที่แทจริง และมีความเปนไปไดของพื้นที่เปนสำคัญ 3. การทบทวนการพัฒนาการทองเที่ยวของประเทศคูแขง ประเทศตนแบบ พื้นที่สำคัญในประเทศ ไทย และนานาชาติ ที่ประสบความสำเร็จจากการทองเที่ยวในบริบทของพื้นที่การทองเที่ยวที่มีความคลายคลึง กันกับ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนื่องจากการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่สำคัญของหลายประเทศทั่วโลก ที่มีการแขงขันสูง ดังนั้นเพื่อศึกษาบริบทการทองเที่ยวและทิศทางการพัฒนาของหลายพื้นที่หลายประเทศทั่ว โลก เพื่อใหไดมาซึ่งขอเรียนรูสำหรับการพัฒนา 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสานตอไป 4. การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวของสวนราชการในพื้นที่ จังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู เนื่องจากการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง และบูรณาการการพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรในการพัฒนาการทองเที่ยวรวมกัน และรวมหนุนเสริมการสราง รายได และการระดมพลังการพัฒนาใหมีความสามารถที่จะกระจายรายไดจากการพัฒนาการทองเที่ยวสู ประชาชนทุกภาคสวนอยางแทจริง ดังนั้นเพื่อใหการพัฒนารวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของเปนไปอยางสอดคลอง และมีทิศทางเดียวกัน แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน จำเปนตองบูรณาการกับแผนพัฒนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อใหการพัฒนามีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม
  • 10. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 2 5. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนนการมี สวนรวม โดยมีการรับฟงความคิดเห็นจากผูที่มีสวนไดสวนเสีย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน การ สำรวจพื้นที่ทองเที่ยวสำคัญ การจัดประชุมกลุมยอย การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การประชาพิจารณแผนปฏิบัติ การ เพื่อรวบรวมขอมูลความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูที่เกี่ยวของดานการทองเที่ยวจากทุกภาคสวนใน เวทีใหญ จำนวน 2 ครั้ง โดยมีผูเขารวมรวมทั้งสิ้นมากกวา 200 คน พรอมการบูรณาการกับกระบวนการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดในทุกจังหวัดในรอบการทบทวนแผนงบประมาณประจำป พ.ศ. 2563 6. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เนนการนำ จุดเดนของพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาการทองเที่ยวที่เชื่อมโยงการพัฒนาทั้งเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดลอม มากำหนดมาตรการ แนวทางการพัฒนา แผนงาน โครงการ ที่เปลี่ยนแปลงสูเปาหมายในอนาคต โดยใชหลัก Blueprint for change บันได 6 ขั้น คือ - Mission Based เปนการพัฒนาที่คำนึงถึงการดำเนินการที่เปนไปตามหลักวิชาการ กฎหมาย - Problem Based เปนการพัฒนาที่มุงเนนการแกปญหาวิกฤติสำคัญในปจจุบันและอนาคต มาดำเนินการแกไขปรับปรุงและปองกัน - Development Based เปนการพัฒนาที่มุงเนนการตอยอดการพัฒนาที่ผานมาอยาง ตอเนื่อง - Creative Based เปนการพัฒนาที่มุงสรางสรรคสิ่งใหม - Benchmarking Based เปนการพัฒนาที่มุงแสวงหาความเปนเลิศจากทั้งในและ ตางประเทศมาประยุกตใชในพื้นที่ - Innovative Based เปนการพัฒนาที่มุงเสริมสรางนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงแบบกาว กระโดด กระบวนการจัดทำแผน กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่น อีสาน มีขั้นตอนที่สำคัญ ดังนี้ 1. การศึกษาขั้นปฐมภูมิ ในขั้นนี้แผนปฏิบัติการไดศึกษาสภาพแวดลอมของพื้นที่ที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยว ศึกษาแผนการ พัฒนาการทองเที่ยวที่ผานมา และศึกษารายละเอียดจากยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบทการพัฒนาประเทศ วาระการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 แผนพัฒนาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนากลุมจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ อุดรธานี หนองบัวลำภู รวมทั้งแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ เพื่อเชื่อมโยงประเด็นการพัฒนาเชิงนโยบายกับ แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน และนอกจากนั้นยังได
  • 11. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 3 ศึกษาความสำเร็จของพื้นที่ตาง ๆ ในประเทศและความสำเร็จจากตางประเทศ เพื่อนำมาปรับใชในการพัฒนา พื้นที่ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 2. การศึกษาขั้นทุติยภูมิ ในขั้นนี้แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ไดจัด ประชุมกลุมยอยกับจังหวัดขอนแกน โดยสำนักงานทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดขอนแกน และจัดใหมีการ ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการจำนวน 2 วัน โดยมีผูแทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน และทองถิ่นที่เกี่ยวของ เชน กรมอุทยาน สัตวปา และพันธุพืช กรมทรัพยากรธรณี กรมศิลปากร กรมการทองเที่ยว กรมทางหลวง กรมทาง หลวงชนบท กองบัญชาการตำรวจทองเที่ยว กองบังคับการตำรวจทางหลวง สำนักงานการทองเที่ยวและกีฬา จังหวัด สำนักงานจังหวัด สำนักงานสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่นจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น การ ทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนตน และมีผูแทนจากผูประกอบการโรงแรมที่พัก หอการคาจังหวัด พรอม องคกรทองเที่ยวทั้งสภาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวจังหวัด สมาคมมัคคุเทศกอาชีพแหงประเทศไทย สมาคม โรงแรมไทย สมาคมธุรกิจทองเที่ยวภายในประเทศ สมาคมไทยทองเที่ยวเชิงอนุรักษและผจญภัย สมาคม สื่อมวลชนเพื่อการทองเที่ยว เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการรวมกัน เพื่อรวมศึกษาและวิเคราะหความจำเปน ทางการพัฒนาการทองเที่ยวของ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน พรอมบูรณาการกับกระบวนการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดในทุกจังหวัดในรอบการทบทวนแผนงบประมาณประจำป พ.ศ. 2563 และจัดประชุมเพื่อ การวิพากษ (ราง) แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เพื่อ กลั่นกรองความสมบูรณของแผนปฏิบัติการอีกครั้ง 3. การนำเสนอเพื่อพิจารณาใหขอเสนอแนะและเห็นชอบ แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน เมื่อดำเนินการ รางฉบับสมบูรณเสร็จ ไดนำเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาเพื่อใหขอเสนอแนะ หลังจากนั้นไดนำมาปรับปรุง ใหมีความสมบูรณและนำเสนอคณะกรรมการใหความเห็นชอบอีกครั้ง นอกจากนี้การศึกษาในครั้งนี้ยังไดใหความสำคัญกับการดำเนินงานตามหลักวิชาการ และการระดม ความคิดเห็น การศึกษาความตองการของผูที่มีสวนไดสวนเสีย การสำรวจพื้นที่สำคัญทางการทองเที่ยว เพื่อให ไดขอมูลเชิงลึกที่ครบทุกมิติ ทั้งบริบทในพื้นที่และภาพรวมของจังหวัด อีกทั้งไดขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สภาวการณของอุตสาหกรรมทองเที่ยวของไทยและทิศทางการพัฒนาในมุมมองของหลายหนวยงาน เพื่อนำมา สังเคราะหเปนแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวของพื้นที่ 5 จังหวัดธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ที่เหมาะสมสอดคลอง กับสถานการณและกาวทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อใหการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจำ เขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ไดกำหนดไว ดัง รายละเอียดในแผนภาพกระบวนการจัดทำแผนฯ
  • 13. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 5 บทที่ 1 ขอมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน ขอมูลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ที่ตั้ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู ระหวางละติจูด 14◦7' ถึง 18◦27' เหนือ และลองติจูด 100◦54' ถึง 105◦37' ตะวันออก ตั้งอยูในตําแหนงศูนยกลางของอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง โดยมีอาณาเขต ติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวดานตะวันออก และดานเหนือ มีแมนํ้าโขงเปนเสนกั้น พรมแดน และดานใตติดตอราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีเทือกเขาพนมดงรักกั้นพรมแดน 1.2 พื้นที่และลักษณะภูมิประเทศ มีพื้นที่รวม 105.53 ลานไร ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบสูง มี ความลาดเอียงไปทางตะวันออก มีลักษณะคลายกระทะ แบงเปน 2 เขตใหญ ไดแก บริเวณแองที่ราบโคราช อยูบริเวณที่ราบลุมแมนํ้ามูลและชี ลักษณะเปนที่ราบสูงสลับกับเนินเขา และบริเวณแองสกลนครอยูทางตอน เหนือของภาค ตั้งแตแนวเขาภูพานไปจนถึงแมนํ้าโขง เทือกเขาที่แบงระหวางแองโคราชและแองสกลนคร ไดแก เทือกเขาภูพาน 1.3 ภูมิอากาศ มีอากาศรอนชื้นสลับกับแลง แบงเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ชวงเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม อากาศจะรอนและแหงแลงมาก จังหวัดที่มีอุณหภูมิสูงสุด คือ อุดรธานี ฤดูฝน ชวงเดือน พฤษภาคม - ตุลาคม ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหมีฝนตกเปนบริเวณกวาง แตมีแนว เทือกเขาดงพญาเย็นและสันกําแพงกั้นลมฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต สงผลใหพื้นที่แองโคราช ซึ่งเปนเขตเงา ฝนจึงมีสภาพแหงแลงกวาแองสกลนคร จังหวัดที่มีฝนตกมากที่สุด คือ นครพนม ฝนตกนอยที่สุด คือ นครราชสีมา ฤดูหนาว ชวงเดือน พฤศจิกายน - กุมภาพันธ อากาศหนาวเย็น ไดรับอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีน จังหวัดที่มีอุณหภูมิตํ่าสุด คือ จังหวัดเลย 1.4 การใชประโยชนที่ดิน ในป 2560 มีพื้นที่ รวม 105.53 ลานไร จําแนกเปนพื้นที่ปาไม 15.75 ลาน ไร หรือรอยละ 14.9 พื้นที่ทําการเกษตร 63.87 ลานไร หรือรอยละ 60.5 และพื้นที่ใชประโยชนอื่น ๆ 26.02 ลานไร หรือรอยละ 24.7 ของพื้นที่ภาค 1.5 ทรัพยากรธรรมชาติ 1.5.1 ดิน สภาพดินเปนดินทรายไมอุมนํ้า ทําใหขาดแคลนนํ้าและขาดธาตุอาหารใตดิน มีเกลือ หิน ทําใหดินเค็ม จึงมีขอจํากัดตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตร 1.5.2 แหลงนํ้า มีลุมนํ้าขนาดใหญ 3 ลุมนํ้า ไดแก ลุมนํ้าโขง ลุมนํ้าชีและลุมนํ้ามูล ลํานํ้าหลัก ของภาค ไดแก แมนํ้าชี มีความยาวประมาณ 765 กิโลเมตร ยาวที่สุดในประเทศไทย มีตนนํ้าที่ทิวเขา
  • 14. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 6 เพชรบูรณ และไหลไปรวมกับแมนํ้ามูลที่จังหวัดอุบลราชธานี แมนํ้ามูล มีความยาวประมาณ 641 กิโลเมตร ตน นํ้าอยูที่เทือกเขาสันกําแพงแลวไหลลงสูแมนํ้าโขงที่จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ยังมีลํานํ้าสาขายอย ไดแก ลําปาว ลํานํ้าอูน ลํานํ้าสงคราม ลําเสียว ลํานํ้าเลย ลํานํ้าพอง และลําตะคอง รวมทั้งแหลงนํ้าธรรมชาติ ขนาด ใหญ ที่กระจายอยูในพื้นที่ เชน หนองหาร (สกลนคร) และ บึงละหาน (ชัยภูมิ) นอกจากนี้ยังมีแหลงนํ้าบาดาล มีปริมาณนํ้าในเกณฑเฉลี่ย 5-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง ที่ความลึกของบอประมาณ 30 เมตร คุณภาพของนํ้า บาดาลมีตั้งแตเค็มจัด กรอย และจืด เนื่องจากพื้นที่ในแองโคราชและแองสกลนครจะรองรับดวยหินเกลือ หาก เจาะนํ้าบาดาลลึกเกินไปอาจจะพบนํ้าเค็ม 1.5.3 ปาไม ในป 2561 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ปาไม จํานวน 15.75 ลานไร คิดเปน รอยละ 15.03 ของพื้นที่ภาค หรือรอยละ 18.16 ของพื้นที่ปาไมทั้งประเทศ ซึ่งยังตํ่ากวาคาเปาหมาย ในการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศที่จะตองมีพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพื้นที่ สวนใหญมีลักษณะเปน ปาเบญจพรรณ 2. โครงสรางพื้นฐานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2.1 โครงขายถนน เชื่อมโยงกับโครงขายหลักของประเทศและเชื่อมโยงสูประเทศเพื่อนบาน สปป. ลาว กัมพูชา และสามารถเชื่อมโยงไปยังเวียดนามและจีนตอนใต 2.1.1 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) เชื่อมโยงทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) และทางหลวงแผนดินหมายเลข 22 (อุดรธานี สกลนคร นครพนม) เชื่อมสู สปป.ลาว ผาน สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 3 (นครพนม-แขวงคํามวน) และมีถนนที่เชื่อมโยงอุดรธานี-หนองคาย เชื่อมสู สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงที่ 1 (หนองคาย-เวียงจันทน) 2.1.2 เสนทางแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) เชื่อมโยงจากชายแดนไทย-เมียนมา จากจังหวัดตาก-พิษณุโลก-เพชรบูรณ เขาสูภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 12 (ชัยภูมิ ขอนแกน มหาสารคาม กาฬสินธุ มุกดาหาร) และเชื่อมสู สปป.ลาว ผานสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) เปนเสนทาง เชื่อมโยงการคา การลงทุนภายใตกรอบความรวมมือกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS) 2.1.3 เสนทางใหมเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก 2 (East-West Economic Corridor : EWEC 2) เชื่อมโยงจาก ภาคกลางของเวียดนามในจังหวัดกวางนาม เขาสูสปป.ลาว ทางดาน ดากตะออก ผานแขวงเซ กอง แขวงจําปาศักดิ์ สปป.ลาว และเขาสูไทย ที่ดานวังเตา-ชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี 2.2 รถไฟ มีเสนทางเชื่อมโยงกับพื้นที่เศรษฐกิจหลักของ ประเทศบริเวณภาคกลางและพื้นที่ โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก (EEC) 3 เสนทาง ไดแก 1) กรุงเทพฯ-หนองคาย เชื่อมสู สปป.ลาว 2) กรุงเทพฯ-อุบลราชธานี 3) สายใหม เชื่อมโยงบานไผ มหาสารคาม รอยเอ็ด มุกดาหาร นครพนม
  • 15. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 7 2.3 สนามบิน มี 9 แหง เปนสนามบินนานาชาติ 2 แหง คือ อุดรธานี และอุบลราชธานี และ สนามบินภายในประเทศ 7 แหง ไดแก ขอนแกน นครพนม นครราชสีมา สกลนคร บุรีรัมย รอยเอ็ด และเลย 2.4 ดานชายแดน มี 15 ดานถาวร 23 จุดผอนปรน ที่เปนจุดเชื่อมโยงการคาชายแดนกับประเทศ เพื่อนบาน 2.5 แผนงานพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ ที่อยูระหวางดําเนินการในภาค ไดแก รถไฟ ความเร็วสูง (ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ชวงนครราชสีมา-หนองคาย) รถไฟทางคู (ชวงชุมทางถนนจิระ- ขอนแกน ชวงขอนแกน-หนองคาย ชวงจิระ-อุบลราชธานี) ทางหลวงพิเศษระหวางเมืองและทางพิเศษ (ชวง บางปะอิน-นครราชสีมา ชวงระเบียงเศรษฐกิจ EWEC ดานตะวันออก) 2.6 บริการสาธารณูปโภค 2.6.1 ไฟฟา มีระบบสายสงเชื่อมโยงกับระบบสายสงของประเทศและมีเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา ที่สําคัญ ไดแก เขื่อนอุบลรัตน ( ขอนแกน ) เขื่อนจุฬาภรณ ( ชัยภูมิ ) เขื่อนลําตะคอง ( นครราชสีมา ) และ เขื่อนสิรินธร ( อุบลราชธานี ) 2.6.2 ประปา มีระบบบริการประปาครอบคลุมพื้นที่เขตเมือง ประกอบดวยการประปาสวน ภูมิภาค มีหนวยงานระดับเขต 3 แหง คือ สํานักงานเขตประปาเขต 6 (ขอนแกน) สํานักงานประปาเขต 7 (อุดรธานี) และสํานักงานประปาเขต 8 (อุบลราชธานี) 3. ดานเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.1 ภาพรวมเศรษฐกิจ 3.1.1 เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีขนาดเล็ก มูลคาผลิตภัณฑภาค ณ ราคาประจําป 2560 เทากับ 1,496,072 ลานบาท คิดเปนรอยละ 9.7 ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมประเทศ ซึ่งลดลงเมื่อ เทียบกับป 2556 ที่มีสัดสวนรอยละ 10.6 ของประเทศ 3.1.2 โครงสรางการผลิตยังคงพึ่งพิงภาคเกษตร และอุตสาหกรรมเปนหลัก ในป 2560 ภาค เกษตรและภาคอุตสาหกรรมมีสัดสวนเทากันรอยละ 19.6 สําหรับภาคบริการ มีสัดสวน รอยละ 60.8 ซึ่ง ประกอบดวย สาขาขายสง ขายปลีกฯ สาขาขนสงฯ และบริการอื่น ๆ รอยละ 13.4 2.4 และ 45.0 ตามลําดับ ซึ่งรายไดหลักของภาคมาจากภาคบริการและภาคเกษตร ในขณะที่ ภาคอุตสาหกรรม จะมีแนวโนมจะเปนฐาน รายไดใหมของภาคจากนโยบายการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ป 2559 3.1.3 เศรษฐกิจขยายตัวตํ่ากวาระดับประเทศ เกิดความเหลื่อมลํ้าระหวางภาคมากขึ้น โดย ป 2560 มีการขยายตัวรอยละ 2.5 ซึ่งตํ่ากวาการขยายตัวของประเทศ ที่มีการขยายตัวรอยละ 4.0 เปนผลมาจาก การชะลอตัวของภาคเกษตร ไดรับผลกระทบจากฝนทิ้งชวงและภัยแลง รวมทั้งราคาพืชผลเกษตรตกตํ่า ตอเนื่อง ทําใหรายไดลดลง สงผลกระทบตออํานาจซื้อของครัวเรือน
  • 16. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 8 3.1.4 รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้น แตยังตํ่ากวาคาเฉลี่ยของประเทศ ในป 2560 ผลิตภัณฑ ภาคตอหัวประชากร (GRP Per capita) เฉลี่ย 80,352 บาทตอคนตอป ซึ่งตํ่ากวาคาเฉลี่ยของประเทศ 2.8 เทา และตํ่ากวา กทม.และปริมณฑลถึง 5.6 เทา จังหวัดที่มีรายไดเฉลี่ยตอหัวสูงที่สุด 3 อันดับ แรกของภาค ไดแก จังหวัดขอนแกน (117,560 บาท) นครราชสีมา (100,301 บาท) และเลย (97,903 บาท) สวน 3 อันดับสุดทาย ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ (61,084 บาท) ยโสธร (54,183 บาท) และ หนองบัวลําภู (53,416 บาท) ตารางผลิตภัณฑมวลรวมและโครงสรางเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รายการ 2556 2557 2558 2559 2560 มูลคาผลิตภัณฑภาค  มูลคา (ลานบาท) 1,373,003 1,319,175 1,363,568 1,438,846 1,496,072  สัดสวนตอประเทศ (รอยละ) 10.6 10.0 9.9 9.9 9.7  อัตราขยายตัวที่แทจริง (รอยละ) 0.9 -0.4 3.1 3.0 2.5 มูลคาผลิตภัณฑภาคตอหัว  มูลคา (บาท/คน/ป) 72,925 70,247 72,810 77,049 80,352  อัตราการขยายตัว (รอยละ) 7.9 -3.7 3.6 5.8 4.3 โครงสรางการผลิต (รอยละ)  ภาคเกษตร 26.2 23.1 21.8 20.7 19.6 - เกษตรกรรม 25.7 22.6 21.4 20.3 19.2 - ประมง 0.5 0.5 0.4 0.4 0.4  ภาคอุตสาหกรรม 18.1 19.4 19.0 19.3 19.6 - เหมืองแรฯ 0.9 1.0 1.1 1.1 0.9 - อุตสาหกรรม 17.2 18.4 17.9 18.2 18.7  ภาคบริการ 55.7 57.5 59.2 60.0 60.8 - การคา 10.4 11.3 12.0 12.8 13.4 - การขนสง 2.0 2.2 2.3 2.3 2.4 - อื่น ๆ 43.3 44.0 44.9 44.9 45.0 3.1.5 เศรษฐกิจยังคงกระจุกตัวอยูในบางจังหวัดที่เปนแหลงการผลิตที่สําคัญของภาค ในป 2560 จังหวัดนครราชสีมา มีสัดสวนการผลิตรอยละ 18.4 ของภาค และจังหวัดขอนแกน มีสัดสวนการผลิต รอยละ 13.6 ของภาค ในขณะที่จังหวัดอํานาจเจริญ หนองบัวลําภู มุกดาหาร ยโสธร และบึงกาฬ มีขนาด เศรษฐกิจเล็กที่สุดของภาค แตละจังหวัดมีสัดสวนไมถึงรอยละ 2.0 ของภาค
  • 17. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 9 3.2 เศรษฐกิจรายสาขา 3.2.1 ภาคเกษตร 1) เปนแหลงผลิตพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ แตรูปแบบการผลิตยังอาศัยนํ้าฝนเปน หลัก จึงมีผลิตภาพตํ่า โดยในป 2560 ผลิตภัณฑภาคเกษตรมีมูลคา 292,688 ลานบาท พืชหลักของภาค ไดแก ขาว ออยโรงงาน และ มันสําปะหลังโดยมีพื้นที่ปลูกขาวมากที่สุดของประเทศ สวนใหญปลูกขาวหอมมะลิ 105 ในพื้นที่ตอนกลางและตอนลางของภาค โดยเฉพาะพื้นที่ทุงกุลารองไห ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร มหาสารคาม รอยเอ็ด และทุงสัมฤทธิ์ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย โดยผลผลิต เฉลี่ยตอไรในภาพรวมตํ่ากวาระดับประเทศ เนื่องจากทําการเกษตรแบบดั้งเดิม ใชสารเคมีสูง ซึ่งในแตละปมี การนําเขาวัตถุอันตรายทางเกษตร เฉลี่ยไมตํ่ากวา 3 พันลานบาทตอป เปนภาคที่มีพื้นที่ปลูกออยและมัน สําปะหลังมากที่สุดของประเทศ โดยออยสวนใหญปลูกในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแกน กาฬสินธุ และอุดรธานี และมันสําปะหลังในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี สําหรับพื้นที่ปลูกขาวอินทรีย มีแนวโนมขยายพื้นที่มากขึ้น ปจจุบันแหลงปลูกขาวอินทรียในประเทศไทยรอยละ 80 อยูในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่ทุงกุลารองไห (จังหวัดยโสธร สุรินทร มหาสารคาม ศรีสะเกษ รอยเอ็ด) และจังหวัดอุบลราชธานี สวนอีกรอยละ 20 อยูในภาคเหนือตอนบน ตลาดขาวอินทรีย สวนใหญ สงออกตางประเทศ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป 2) มีพื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตรมากที่สุด แตขนาดฟารมที่ถือครองตอครัวเรือน เกือบตํ่าสุดของประเทศ ในป 2560 มีพื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตร 63.85 ลานไร คิดเปน รอยละ 42.8 ของประเทศ โดยพบวาพื้นที่ที่มีการใชประโยชนที่ดินสูงสุด คือ จังหวัดในบริเวณตอนลางของภาค มีการพื้นที่ ใชประโยชนทางการเกษตรมากที่สุด 32.92 ลานไร คิดเปนรอยละ 51.5 ของภาค สําหรับขนาดฟารมที่ถือ ครองตอครัวเรือน มีเพียง 23.4 ไรตอครัวเรือน ตํ่ากวาระดับประเทศที่มีขนาดฟารมถือครองตอครัวเรือน 25.2 ไรตอครัวเรือน จังหวัดที่มีเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรตอครัวเรือนมากที่สุด ไดแก จังหวัด นครราชสีมา บึง กาฬ หนองบัวลําภู และเลย มีเนื้อที่ถือครอง 32.14 31.12 30.19 และ 28.83 ไรตอครัวเรือน ตามลําดับ จังหวัดที่มีเนื้อที่ถือครองทําการเกษตรตํ่าสุดของภาค ไดแก จังหวัดสกลนคร นครพนม และ รอยเอ็ด โดยมีเนื้อ ที่ถือครอง 17.79 18.29 และ 20.10 ไรตอครัวเรือน ตามลําดับ 3) พื้นที่ชลประทานนอยกวาทุกภาค โดยมีเพียง 7.12 ลานไร คิดเปนรอยละ 11.2 ของ พื้นที่เกษตร ซึ่งตํ่ากวาระดับประเทศที่มีพื้นที่ชลประทานตอพื้นที่เกษตรรอยละ 22 ผลผลิตการเกษตรของภาค ขึ้นอยูกับสภาพดินฟาอากาศเปนหลัก ประกอบกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้น สงผลกระทบตอความมั่งคงดานอาหาร ในพื้นที่ตอนกลางของภาคมีสัดสวนพื้นที่ ชลประทาน ตอพื้นที่เกษตรมากที่สุด รอยละ 16.7 ไดแก จังหวัดกาฬสินธุ มีสัดสวนรอยละ 21.9 ของพื้นที่ เกษตรของ จังหวัด รองลงมาพื้นที่ตอนลางของภาคมีสัดสวนพื้นที่ชลประทานตอพื้นที่เกษตร รอยละ 11.4 ไดแก ยโสธร และจังหวัดนครราชสีมา มีสัดสวนรอยละ 17.6 และ 12.7 ของพื้นที่เกษตรของจังหวัด ตามลําดับ
  • 18. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 10 3.2.2 ภาคอุตสาหกรรม 1) อุตสาหกรรมขยายตัวในทิศทางที่เพิ่มขึ้น แตมีบทบาทนอยเมื่อเทียบกับประเทศ การผลิตสวนใหญเปนอุตสาหกรรมแปรรูปขั้นตน สรางมูลคาเพิ่มตํ่าโดยมีสัดสวนเพียงรอยละ 6.7 ของ ประเทศ ในป 2560 มีมูลคา ณ ราคาประจําป 280,337 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 236,562 ลานบาท ในป 2556 และมีอัตราการขยายตัวในป 2560 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 ซึ่งสูงกวาอัตราการขยายตัวระดับประเทศ ที่มีการ ขยายตัวรอยละ 3 โดยอุตสาหกรรมของภาคสวนใหญกระจุกตัวอยูตามเมืองหลัก อาทิ จังหวัดขอนแกน และ นครราชสีมา สําหรับโครงสรางการผลิตอุตสาหกรรมยังอยูในกลุมอาหารและเครื่องดื่ม สวนอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส ผลิตภัณฑยางและพลาสติก และสิ่งทอ เริ่มมีบทบาทมากขึ้น และเปนฐานสรางรายไดใหมใหกับ ภาค ซึ่งอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส กระจุกตัวในจังหวัดนครราชสีมา รอยละ 96.2 ของภาค สวนอุตสาหกรรม สิ่งทอสวนใหญกระจายอยูทุกจังหวัด โดยจังหวัดที่มีสัดสวนมากที่สุด 5 อันดับแรกของภาค ไดแก จังหวัด ขอนแกน มหาสารคาม นครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี สําหรับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางและพลาสติก สวนใหญกระจุกตัวอยูที่จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานี บึงกาฬ และบุรีรัมย สําหรับอุตสาหกรรมที่เคยเปนฐาน รายเดิมของภาค เริ่มมีแนวโนมเพิ่มขึ้น อาทิ อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย จากรอยละ 3.1 เพิ่มขึ้น รอยละ 3.4 ของสาขาอุตสาหกรรมโดยจังหวัดที่มีสัดสวนมากที่สุด 5 อันดับแรกของภาค ไดแก ขอนแกน สุรินทร นครราชสีมา อุบลราชธานี รอยเอ็ด สวนอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (เอทานอล) ปจจุบันมี ผูประกอบการ เปดดําเนินการแลว 8 ราย ปริมาณการผลิตเฉลี่ย 2.3 ลานลิตรตอวัน หรือรอยละ 38.5 ของการผลิตรวมทั้ง ประเทศ 2) การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ที่อยูภายใตการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ปจจุบันมี 2 แหง ไดแก นิคมอุตสาหกรรมอุดรธานี โดย กนอ. ไดอนุมัติใหบริษัทเมืองอุตสาหกรรม อุดรธานี จํากัด ดําเนินการ ซึ่งเปนโครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสีเขียว ปจจุบันอยูระหวางการดําเนินการ มี พื้นที่ประมาณ 2,219 ไร ในทองที่ตําบลโนนสูง และตําบลหนองไผ อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โดย อุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต อิเล็กทรอนิกส ยางพาราขั้นปลาย และศูนยโลจิ สติกส และนิคมอุตสาหกรรมหนองคาย ดําเนินการโดย บริษัทนาคา คลีนเพาเวอร จํากัด ปจจุบันอยูระหวาง การศึกษา วิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) มีเนื้อที่ประมาณ 2,960 ไร ในพื้นที่ตําบลโพนสวาง อําเภอ เมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย รองรับอุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลทาง การเกษตร อาหารและเครื่องดื่ม ชิ้นสวนยานยนต และโลจิสติกส 3.2.3 การคาชายแดน 1) การคาชายแดนและผานแดน มีการขยายตัวอยางกาวกระโดด และมีบทบาทสําคัญ ตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคมากขึ้น โดยในป 2561 มีมูลคาการคาชายแดน 333,960.30 ลานบาท คิด เปนรอยละ 24 ของการคาชายแดนทั้งประเทศ เพิ่มขึ้นจากรอยละ 15.4 ในป 2556 โดยการสงออกมีมูลคา 187,323.79 ลานบาท และการนําเขามีมูลคา 146,636.51 ลานบาท เกินดุลการคา 40,687.28 ลานบาท จาก
  • 19. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 11 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบาน และประเทศจีน สินคาสงออกที่ สําคัญ ไดแก นํ้ามันดีเซล และเบนซิน รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ผลไมสดแชเย็น แชแข็งและแหง และเครื่องดื่มที่ไมมี แอลกอฮอล ซึ่งเปนสินคาสงออกที่ผลิตจากนอกภาคสินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก ทองแดงและผลิตภัณฑ เครื่องรับ-สงสัญญาณ และอุปกรณติดตั้ง (โทรศัพท วิทยุ โทรทัศน อุปกรณ) ผักและของปรุงแตงจากผัก เปน ตน 2) โครงสรางของมูลคาการคาชายแดน จําแนกตามประเทศคูคาของภาค พบวา ในป 2561 การคากับ สปป.ลาว มีมูลคาการคา เทากับ 167,194.41 ลานบาท คิดเปนรอยละ 50.1 ของมูลคา การคาชายแดนทั้งภาค โดยผานดานศุลกากรมุกดาหาร หนองคาย และดานชองเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี คิด เปนรอยละ 37.3 37.1 และ 10.6 ของมูลคาการคากับ สปป.ลาว ตามลําดับการคากับจีนตอนใตมีมูลคาการคา 83,467.65 ลานบาท และเวียดนามมีมูลคาการคา 77,142.90 ลานบาท คิดเปนรอยละ 25 และ 23.1 ตามลําดับ แนวโนมการคาชายแดนมีความสําคัญมากขึ้น สวนใหญผานดานศุลกากรมุกดาหาร สําหรับมูลคา การคากับกัมพูชามีเพียงรอยละ 1.8 ของมูลคาชายแดนทั้งภาค 3.2.4 การทองเที่ยว 1) ทรัพยากรการทองเที่ยว มีความหลากหลายทั้งการทองเที่ยวยุคกอน ประวัติศาสตร และอารยธรรมขอม การทองเที่ยวทางธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา ภูหลวง ภูเรือ และภูกระดึง จังหวัดเลย รวมทั้งการทองเที่ยวประเพณีวัฒนธรรม และ การทองเที่ยวบริเวณ เมืองชายแดนริมแมนํ้าโขงเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน 2) รายไดจากการทองเที่ยวของภาคตํ่ากวารอยละ 5 ของรายไดการทองเที่ยวทั้ง ประเทศ ในป 2560 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนนักทองเที่ยว 40.59 ลานคน คิดเปนรอยละ 14 ของ จํานวนนักทองเที่ยวทั้งประเทศ และมีรายไดจากการทองเที่ยว 86,721.62 ลานบาท คิดเปนรอยละ 3.5 ของ รายไดทองเที่ยวทั้งประเทศ และรายไดจากการทองเที่ยวของภาคสวนใหญเปนรายไดจากนักทองเที่ยวชาวไทย รอยละ 95.6 ชาวตางชาติรอยละ 4.4 สําหรับระยะเวลาพํานักเฉลี่ย ลดลงจาก 2.44 วัน ในป 2556 เหลือ เพียง 2.33 วัน และคาใชจายตอหัวเพิ่มขึ้นจาก 1,015.30 บาทตอวัน ในป 2556 เปน 1,213.63 บาทตอวัน ในป 2560 3) การกระจายตัวของนักทองเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง มีจํานวน นักทองเที่ยวสูงสุด ประมาณ 19.53 ลานคนตอป สรางรายไดประมาณ 39,749.60 ลานบาทตอป ในป 2560 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีนักทองเที่ยวประมาณ 13.66 ลานคนตอป สรางรายได 27,788.09 ลานบาทตอป และในพื้นที่ตอนกลางของภาค มีนักทองเที่ยวประมาณ 7.39 ลานคนตอป สราง รายได 19,183.93 ลานบาทตอป จังหวัดนครราชสีมา มีจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดมากที่สุด สวนจังหวัด อํานาจเจริญและหนองบัวลําภูมีจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดตํ่าที่สุด ทั้งนี้การทองเที่ยวของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังมีปญหาในหลายดาน อาทิ ความเสื่อมโทรมของแหลงทองเที่ยว แหลงทองเที่ยวอยู
  • 20. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 12 หางไกลกัน การทองเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมมีปฏิทินการทองเที่ยวในชวง ระยะเวลาสั้น ๆ สิ่งอํานวยความ สะดวกและบุคลากรดานการทองเที่ยวขาดมาตรฐาน รวมถึงขาดการเชื่อมโยงเสนทางทองเที่ยว และปฏิทิน การทองเที่ยว 3.3 เศรษฐกิจระดับครัวเรือน 3.3.1 รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตํ่าเปนอันดับสองของประเทศ โดยในป 2560 มีรายไดเฉลี่ย 20,750 บาทตอเดือน ตํ่ากวารายไดเฉลี่ยตอครัวเรือนทั้งประเทศที่ 26,973 บาทตอเดือน 3.3.2 หนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือสูงกวาระดับประเทศ โดยในป 2560 มี จํานวนครัวเรือนที่เปนหนี้ 3.61 ลานครัวเรือน มากกวาทุกภาค หรือมีสัดสวนรอยละ 33.3 ของครัวเรือนที่เปน หนี้ทั้งประเทศ และหนี้สินครัวเรือนของภาคเฉลี่ย 179,923 บาท เพิ่มขึ้นจาก 149,307 บาท ในป 2556 และ สูงกวาหนี้สินตอครัวเรือนเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 178,994 บาท โดยหนี้สินสูงขึ้นจากราคาสินคาเกษตรตกตํ่า และ ตนทุนการผลิตสูงขึ้น ทําใหรายไดไมพอรายจาย เมื่อพิจารณาวัตถุประสงคของการกูยืม พบวา ครัวเรือนสวน ใหญกูยืมใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภค เพื่อทําการเกษตรและนําไปใชลงทุนในสินทรัพย เชน บาน รถยนต มากกวาการกูยืมเพื่อการศึกษา 4. ดานสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4.1 ประชากร 4.1.1 จํานวนประชากรของภาคมากที่สุดของประเทศ ป 2560 มีจํานวนประชากร 21.99 ลาน คน หรือรอยละ 33.2 ของประเทศ เพิ่มขึ้นจาก 21.70 ลานคน ในป 2555 และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของ ประชากรในชวงป 2555-2560 โดยเฉลี่ยรอยละ 0.22 ตํ่ากวาประเทศที่มีอัตราการเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 0.54 โดย จังหวัดนครราชสีมา มีประชากรมากที่สุด 2.64 ลานคน รองลงมา คือ จังหวัดอุบลราชธานี มีประชากร 1.87 ลานคน และจังหวัดขอนแกน มีประชากร 1.81 ลานคน คิดเปนรอยละ 12.0 8.5 และ 8.2 ของประชากรภาค ตามลําดับ 4.1.2 สัดสวนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น โครงสรางประชากรมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลง ไปสู สังคมสูงวัยมากขึ้น โดยในป 2555 มีสัดสวนประชากรสูงอายุรอยละ 15.8 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 19.4 ในป 2560 ซึ่งสูงกวารอยละ 17.1 ของสัดสวนผูสูงอายุระดับประเทศ จึงทําใหประชากรวัยแรงงาน ตองรับภาระในการ ดูแลผูสูงอายุมากขึ้น จากประชากรวัยแรงงาน 3.91 คน ดูแลผูสูงอายุ 1 คน ในป 2555 เปนประชากรวัย แรงงาน 3.13 คน ดูแลผูสูงอายุ 1 คน ในป 2560 4.1.3 ประชากรเมืองโดยรวมเพิ่มขึ้น ป 2555 มีประชากรเมืองจํานวน 4.36 ลานคน หรือรอย ละ 20.1 ของประชากรทั้งภาค เพิ่มขึ้นเปน 4.45 ลานคน หรือรอยละ 20.2 ของประชากรทั้งภาค ในป 2560 โดยจังหวัดมหาสารคามมีอัตราการเพิ่มของประชากรเมืองมากที่สุด รอยละ 18 รองลงมา ไดแก จังหวัด ขอนแกน รอยเอ็ด และอุบลราชธานี มีอัตราการเพิ่มของประชากรเมืองรอยละ 14.9 8.2 และ 6.6 ตามลําดับ
  • 21. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 13 ซึ่งสวนใหญเปนเมืองศูนยกลางความเจริญของภาคทั้งดานเศรษฐกิจ และการศึกษา จึงทําใหประชากรอพยพ เขาไปทํางานและอาศัยจํานวนมาก ตารางประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รายการ ป 2555 2556 2557 2558 2559 2560 จํานวนประชากร (ลานคน) 21.70 21.78 21.85 21.92 21.95 21.99 โครงสรางประชากร (รอยละ) กลุม ๐-๑๔ ป กลุม ๑๕-๕๙ ป กลุม ๖๐ + 22.4 61.8 15.8 21.9 61.6 16.5 21.3 61.5 17.2 20.8 61.3 17.9 20.3 61.0 18.7 19.9 60.7 19.4 จํานวนประชากรเมือง (ลานคน) 4.36 4.40 4.43 4.43 4.45 4.45 4.2 แรงงาน แรงงานสวนใหญมีความรูระดับประถมศึกษา แรงงานระดับอาชีวะมีสัดสวนนอยมาก ในป 2560 มี กําลังแรงงาน 9.63 ลานคน สวนใหญอยูในภาคเกษตร รอยละ 50.77 ของกําลังแรงงาน ของภาค จํานวน แรงงานที่มีความรูระดับประถมลดลง จากรอยละ 56.8 ในป 2556 เปนรอยละ 56.48 ในป 2560 มีความรู ระดับมัธยมตนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 16.02 ในป 2555 เปนรอยละ 17.9 ในป 2560 ระดับมัธยมปลายเพิ่มขึ้น จากรอยละ 11.87 ในป 2555 เปนรอยละ 11.96 ในป 2560 แรงงานระดับ อาชีวะเพิ่มขึ้นจากรอยละ 2.07 ในป 2555 เปนรอยละ 2.09 ในป 2560 ระดับอุดมศึกษาเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 7.05 ในป 2555 เปนรอยละ 9.56 ในป 2560 4.3 การศึกษา 4.3.1 สถาบันการศึกษามีทุกระดับ โดยระดับอุดมศึกษามี 53 แหง ครอบคลุมเกือบทุกจังหวัด แยกเปนมหาวิทยาลัยของรัฐ 36 แหง เอกชน 10 แหง และสถาบันวิทยาลัยชุมชน 7 แหง ในจํานวนนี้เปน สถาบันวิจัย 12 แหง ซึ่งมากที่สุดในประเทศ 4.3.2 จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของประชากรตํ่ากวาคาเฉลี่ยประเทศ ในป 2560 ประชากร มี จํานวนปการศึกษาเฉลี่ย 8.6 ป ซึ่งตํ่ากวาระดับประเทศที่มีปการศึกษาเฉลี่ย 9.5 ป โดยจังหวัดขอนแกนมี จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยสูงสุด 9.3 ป รองลงมา ไดแก จังหวัดมหาสารคาม นครราชสีมา และหนองคาย 9.1 9.0 และ 8.8 ป ตามลําดับ ขณะที่จังหวัดบึงกาฬ และสกลนคร มีจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยตํ่าสุด 8.1 ป 4.3.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาอยูในเกณฑตํ่า โดยผลการสอบ O-NET ชั้น ม.3 (4 วิชาหลัก) ใน ปการศึกษา 2555 มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 34.9 ลดลงเปนรอยละ 32.5 ในป 2560 ซึ่งตํ่ากวาเกณฑ คาเฉลี่ย