SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Download to read offline
1

ส่วนที่ ๑
บทนํา
๑. แนวความคิด
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ กําหนดให้การจัดทําแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้อ ง
สอดคล้องกับระเบียบว่าด้วยการประสานแผนพัฒนาจังหวัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒. ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี
แผนพัฒนาสามปี เป็นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ โดย
มี หลั กคิ ด ที่ ว่ า ภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒนาหนึ่ ง ๆ จะมี แ นวทางการพั ฒนาได้ ม ากกว่ า หนึ่ ง
แนวทางและภายใต้การพัฒนาหนึ่งจะมีโครงการ/กิจกรรม ได้มากกว่าหนึ่งโครงการ/กิจกรรมที่
จะต้องมาดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการในแต่ละยุทธศาสตร์การ
พั ฒ นา ซึ่ ง จะมี ผ ลต่ อ วั ตถุ ป ระสงค์ เป้ า หมายจุ ด มุ่ ง หมายการพั ฒ นาและวิ สั ย ทั ศ น์ ต่ อ ไปใน
อนาคต นอกจากนี้ แผนพั ฒนาสามปี ยั งเป็ นแผนที่ มี ค วามสั ม พั นธ์ กับ การจั ดทํ า งบประมาณ
ประจําปี โดยที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทํางบประมาณ โดยนํา
โครงการ/กิ จ กรรมจากแผนพั ฒ นาสามปี ไปจั ด ทํ า งบประมาณ เพื่ อ ให้ ก ระบวนการจั ด ทํ า
งบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบและเกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน
แผนพัฒนาสามปีมีลักษณะกว้างๆดังต่อไปนี้
เป็นเอกสารที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
เป็นเอกสารที่มีแนวทางการพัฒนาและวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน
และมีลักษณะเฉพาะเจาะจงที่จะดําเนินการ
เป็นเอกสารที่แสดงโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่จะดําเนินการในห้วงระยะเวลา
สามปี
เป็นเอกสารที่แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับ
งบประมาณรายจ่ายประจําปี
๓. วัตถุประสงค์ของการจัดทําแผนพัฒนาสามปี
การจัดทําแผนพัฒนาสามปีของเทศบาลตําบลท่าวังตาล มีวัตถุประสงค์ดังนี้
๓.๑ เพื่อแสดงความสัมพันธ์และสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและ
การจัดทํางบประมาณรายจ่ายของเทศบาลตําบลท่าวังตาล
๓.๒ เพื่อเป็นการจัดเตรียมโครงการพัฒนาต่างๆ ให้พร้อมนําไปปฏิบัติได้ทันทีที่ได้รับ
งบประมาณ
2

๔. ขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล
หลังจากที่ได้มีการกําหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในแผน
ยุทธศาสตร์แล้ว จะต้องมีการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติโดยการจัดทํา
แผนพัฒนาสามปี ต้องมีการกําหนดขั้นตอนการจัดทําแนวทางดังนี้
๑. การเตรียมการจัดทําแผน
๑.๑ หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปีเข้าพบผู้บริหารท้องถิ่น
เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสําคัญและความจําเป็นในการจัดทําแผนพัฒนาสามปี เพื่อให้
ผู้บริหารได้ทราบถึงภารกิจที่จะต้องดําเนินการ
๑.๒ หน่วยงานที่รับผิดชอบประชาสัมพันธ์ให้คณะกรรมพัฒนาเทศบาลท่าวัง
ตาล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาลทราบและร่วมกัน
กําหนดการออกประชาคมหมู่บ้าน
๒. การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา
๒.๑ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนา จะสรุปยุทธศาสตร์การ
พัฒนาและแนวทางการพัฒนาจากยุทธศาสตร์การพัฒนา พร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปัญหา
ความต้องการของท้องถิ่นรวมทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น และ
ประชาคม
๒.๒ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น จัดการประชุมระหว่างคณะกรรมพัฒนา
ท้องถิ่นประชาคมท้องถิ่น และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันพิจารณา คัดเลือก
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สมควรนํามาใช้เป็นแนวทางในการจัดทําแผนพัฒนาสามปี เพื่อเป็น
กรอบในการพิจารณาจัดทําโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาสามปี
สําหรับการจัดทําแผนสามปีครั้งต่อไป (เมื่อครบกําหนดเวลาหนึ่งปี) ให้เวทีการ
ประชุมร่วมพิจารณาทบทวนดูว่า จากยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาที่ได้คัดเลือกและ
โครงการ/กิจกรรมที่กําหนดไว้ยังมีความเหมาะสมหรือไม่ซึ่งในขั้นตอนนี้การจัดทําแผนพัฒนาใน
ปีต่อไปจะสามารถคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาสามปีก็ได้ รวมทั้งกําหนดโครงการ/กิจกรรมที่
จะเพิ่มเติมหรือตัดทอนลงได้
๒.๓ เมื่อได้แนวทางการพัฒนาแล้ว เวทีประชาคมร่วมพิจารณาว่ามีโครงการ/
กิจกรรมอะไรบ้างที่ต้องดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายแนวทางการพัฒนาที่
คัดเลือกมาใช้เป็นกรอบในการพัฒนา
๒.๔ โครงการ/กิจกรรมที่พิจารณากําหนดอาจมีเป็นจํานวนมากดังนั้นในขั้นตอน
นี้จะต้องมีการดําเนินการดังนี้
3

(๑) พิ จารณาความเกี่ ย วเนื่ อ งระหว่ า งยุ ท ธศาสตร์ หรื อ ระหว่ า งแนวทางการ
พัฒนา เช่นใน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนาการสร้างและ
พัฒนาการรวมกลุ่ม เพื่อยกระดับสินค้าและบริการในชุมชน และยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน
โครงสร้ า งพื้ น ฐาน แนวทางการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นการคมนาคมขนส่ ง ด้ า น
สาธารณูปโภคและด้านสาธารณูปการจะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์ทั้งสองมีความเชื่อมโยงกันในเชิง
ส่ ง เสริ ม รายได้ ใ ห้ กั บ ประชาชนโดยการเพิ่ ม ผลผลิ ต ทางการเกษตร ซึ่ ง จะต้ อ งกํ า หนดเวลา
ดําเนินงานที่สอดคล้องกัน
(๒) ให้พิจารณาโครงการ/กิจกรรม จากแผนชุมชนที่เกินขีดความสามารถในการ
ดําเนินการของชุมชนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามา
ประกอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปี
(๓) มีการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ/กิจกรรม เพื่อที่จะบรรจุลงใน
แผนพั ฒนาสามปี ได้อ ย่ า งเหมาะสมและนอกจากนั้ นยั งเป็ นการจั ดลํ า ดั บ โครงการไว้ เพื่ อ ทํ า
แผนพัฒนาสามปี ในช่วงถัดไปด้วย เนื่องจากในการดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา อาจต้องใช้เวลาต่อเนื่องนานกว่าสามปี ดังนั้นเทศบาลตําบลท่าวังตาลจึง
จําเป็นต้องพิจารณาแนวทางการจัดทําโครงการ/กิจกรรมที่ต่อเนื่องไประยะยาวด้วย ซึ่งอาจยัง
ไม่สามารถระบุไว้ในช่วงสามปีของแผนพัฒนาสามปีได้
(๔) เนื่องจากกิจกรรมที่ต้องดําเนินการมีความหลากหลาย ดังนั้นในขั้นตอนการ
พิจารณากําหนดกิจกรรม เทศบาลตําบลท่าวังตาลต้องคํานึงถึงสิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้
๔. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
๔.๑ เก็บรวบรวมข้อมูล
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น ดําเนินการสํารวจและ
เก็บรวบรวมข้อมูลที่จําเป็นต่อการจัดทําแผนพัฒนาสามปี ซึ่งนอกจากเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
ทั่วไปแล้วยังต้อง วิเคราะห์ว่ายุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนาที่เลือก ต้องการข้อมูล
ประเภทใดเป็นพิเศษ ต้องการข้อมูลของห้ วงเวลาใด และจะเก็บข้อมูลจากแหล่งใด เพื่อเป็ น
ข้อมูลที่จะนํามาวิเคราะห์ แนวทางการพัฒนาโครงการ/กิจกรรม ได้อย่างถูกต้อง โดยในการเก็บ
รวบรวมข้ อ มู ล จะต้ อ งเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง ข้ อ มู ล ภายในองค์ ก รและข้ อ มู ล ภายนอก เพื่ อ
สามารถนํามาวิเคราะห์ SWOT (การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์) ได้
4

๔.๒ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประกอบด้วย ๕ กิจกรรมหลักคือ
๑.การประเมินผลแผนพัฒนาที่ผ่านมา
๒.การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา
๓.การจัดลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา
๔.การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงสามปี
โดยมีรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมดังนี้
๑.การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล สรุปการ
พัฒนาที่ผ่านมาและนําเสนอที่ประชุมซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น ประชาคม
ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมินผลการพัฒนาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมาโดยประเมิน
ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ประเมินใน ๒ ลักษณะดังนี้
- การประเมินเชิงปริมาณ เป็นการเปรียบเทียบจํานวนผลงาน/โครงการและงบประมาณ
ที่มีอยู่ในแผนพัฒนาประจําปี กับแผนงาน/โครงการและงบประมาณที่ดําเนินการจริงในปีนั้น
- การประเมินเชิงคุณภาพ เป็นการอธิบายถึงผลสําเร็จของแต่ละแผนงาน/โครงการที่
ท้องถิ่นดําเนินการไปแล้วว่าตอบสนองต่อปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างไรบ้าง บรรลุ
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตามที่กําหนดไว้หรือไม่ เป็นต้น
๒. การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา
หลั งจากการประเมิ นผลการพั ฒ นาในรอบปี ที่ ผ่ า นมาแล้ ว ให้ ที่ ป ระชุ ม คณะ
กรรมสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาลร่วมกันคัดเลือกยุทธศาสตร์ในการ
พัฒนา รวมทั้งสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาคม/ชุมชนในห้วงระยะเวลาสามปี
กรณีที่เห็นว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาใดที่ยังไม่ได้กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์การ
พัฒนาแต่ มี ความจํ า เป็นต้ อ งกํ า หนดขึ้ นใหม่ ก็ อ าจกํ า หนดขึ้ นได้ แต่ ทั้ งนี้ ต้อ งแสดงให้ เห็ นถึ ง
เหตุ ผ ลและวั ตถุ ป ระสงค์ ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ จุ ดมุ่ งหมายของการพั ฒนาอย่ า งยั้ งยื น และ
วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล
๓. จัดลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา
ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนา จะมีแนวทางการพัฒนาที่หลากหลาย ซึ่งล้วนแต่
มีความจําเป็นในการดําเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้งสิ้นมาก
น้อยต่างกันที่ประชุมคณะกรรมสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล ต้อง
5

ร่วมกันจัดเรียงลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา เพื่อให้มีการเน้นการปฏิบัติในห้วง
เวลาสามปี
วิธีการจัดลําดับความสําคัญ มีหลายวิธี ตั้งแต่วิธีง่ายๆ คือประชุมตกลงกัน หรือ
อาจใช้ วิ ธี ก ารลงคะแนนคั ดเลื อ กโดยใช้ บั ต รลงคะแนน เพื่ อ นํ า มารวมคะแนนและจั ด ลํ า ดั บ
วิธีการจัดลําดับความสําคัญที่เป็นวิทยาศาสตร์อาจใช้วิธี Ratting Scale หรือ Strategic Issue
Graph หรือวิธีอื่นๆตามความเหมาะสม
๔. การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงเวลาสามปี
หลั ง จากจั ด ลํ า ดั บ แนวทางการพั ฒ นาแล้ ว ที่ ป ระชุ ม ตั ด สิ น ใจว่ า จะนํ า แนว
ทางการพัฒนาเหล่านั้นมาดําเนินการ แต่ในการตัดสินในเลือกนั้นควรจะได้วิเคราะห์ถึงความ
เป็นไปได้ในทางปฏิบัติเพราะในการจัดลําดับความสําคัญอาจใช้ในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล
เป็นหลัก ดังนั้นเพื่อทบทวนและยืนยัน จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์ (SWOT Analysis) อีกครั้ง
๔. การกําหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา
๑. หลังจากได้แนวทางการพัฒนาในช่วงสามปีแล้ว ให้ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา
คัดเลือกวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนา มาจัดทําเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการ
พั ฒนาโดยพิ จารณาคั ดเลื อ กวั ตถุ ป ระสงค์ ข องยุ ท ธศาสตร์ การพั ฒนา จากยุ ท ธศาสตร์ การ
พัฒนา
ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาช่วงสามปี โดยนําวัตถุประสงค์ดังกล่าวมาจัดทํา
เป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจกําหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา
ตั้งแต่ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นแล้ว แต่อาจนํามาปรับให้ชัดเจนและ
สอดคล้องกับสถานการณ์ในช่วงสามปี
๒. ในขั้ น ตอนนี้ ที่ ป ระชุ ม จะร่ ว มกั นพิ จารณากํ า หนดโครงการ/กิ จกรรมการ
พัฒนาที่จะต้ องดํา เนิ นการตามแนวทางที่ คัดเลือ ก และโดยที่กิจกรรมที่ จะดํา เนิ นการย่อ มมี
ความหลากหลาย ซึ่งที่ประชุมจะต้องพิจารณาในประเด็นดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณากิจกรรมที่ต้องดํา เนินการเพื่อ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ข องแนว
ทางการพัฒนาดําเนินการตามแนวทางที่คัดเลือก และโดยที่กิจกรรมที่จะดําเนินการย่อมมีความ
หลากหลาย ซึ่งที่ประชุมจะต้องพิจารณาในประเด็นดังต่อไปนี้
(๒) พิจารณาจั ดลํ าดั บความสํา คัญของโครงการ/กิ จกรรม ควรพิจารณาทั้ ง
ภายใต้แนวทางเดียวกันและระหว่างแนวทางการพัฒนา
6

(๓) พิจารณาถึงความเชื่อมโยงของกิจกรรมทั้งในด้านกระบวนการดําเนินงาน
และในด้านของผลการดําเนินการ เพื่อบรรลุกิจกรรมลงในปีต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(๔) พิจารณาคัดเลือกโครงการ/กิจกรรม
- จากความจําเป็นเร่งด่วน
- ขีดความสามารถทางทรัพยากรของการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ความเชื่อมโยงของกิจกรรม และระยะเวลาดําเนินการ
๕. การจัดทํารายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา
คณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก
โครงการที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี มาจัดทํารายละเอียดโครงการ ในด้าน
เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบและตัวชี้วัดความสําเร็จโดยเน้น
การศึ ก ษารายละเอี ย ดของกิ จ กรรมที่ จ ะดํ า เนิ น การในปี แ รกของแผนพั ฒ นาสามปี เพื่ อ ให้
สามารถนําไปจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี ได้ต่อไป
๖. การจัดทําร่างแผนพัฒนาสามปี
๑. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น จัดร่างแผนพัฒนา
สามปีโดยมีเค้าโครงประกอบด้วย ๗ ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ ๑
บทนํา
ส่วนที่ ๒
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ ๓
ผลการพัฒนาในปีที่ผ่านมา
ส่วนที่ ๔
สรุปยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
ส่วนที่ ๕
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี
ส่วนที่ ๖
บัญชีโครงการ/กิจกรรม
ส่วนที่ ๗
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาประจําปีไปปฏิบัติ
๒. คณะกรรมการสนั บ สนุ นการจั ดทํ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น จั ด เวที ป ระชาคม
ซึ่ งประกอบด้ ว ยคณะกรรมการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ประชาคมท้ อ งถิ่ นและหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง
เพื่ อ นํ า เสนอร่ า งแผนพั ฒนาสามปี แ ละรั บ ฟั งความคิ ดเห็ น ข้ อ เสนอแนะ แล้ ว นํ า ไปปรั บ ปรุ ง
แผนพัฒนาสามปีให้สมบูรณ์ต่อไป
๓. คณะกรรมการสนั บ สนุ นการจั ดทํ า แผนพัฒนาท้ อ งถิ่ นนํ าร่ า งแผนพั ฒนา
สามปีที่ปรับปรุงแล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา
7

๗. ประโยชน์ของการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล
การวางแผนพัฒนาสามปีของเทศบาลตําบลท่าวังตาล เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้
เทศบาลตําบลท่าวังตาลได้พิจารณาอย่างรอบคอบให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการ
ดําเนินงานต่างๆ ที่อาจมีความเชื่ อมโยงและส่งผลทั้งในเชิงสนับสนุ นและเป็นอุ ปสรรค์ต่อกั น
เพื่อให้เทศบาลท่าวังตาล นํามาตัดสินใจกําหนดแนวทางการดําเนินงาน และใช้ทรัพยากรการ
บริหารเทศบาลตําบลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังต่อไปนี้
๑. บรรลุจุดหมาย (Attention of Objectives) การวางแผนทุกครั้งจะมีจุดหมาย
ปลายทางเพื่อให้องค์การบรรลุจุดหมายที่กําหนดให้การกําหนดจุดมุ่งหมาย จึงเป็นงานขั้นแรก
ของการวางแผน ถ้าจุดมุ่งหมายมีความชัดเจนก็ช่วยให้การบริหารแผนมีทิศทางมุ่งตรงไปยัง
จุดมุ่งหมายที่กําหนดได้ได้อย่างสะดวกและเกิดผลดี
๒. ประหยั ด (Economical
Operation) การวางแผนเกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้
สติปัญญาเพื่อคิดวิธีการให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิภาพ เป็นการให้งานในฝ่ายต่างๆ มีการ
ประสานงานกันดีกิจกรรมที่ดําเนินมีความต่อเนื่องกัน ก่อให้เกิดความเป็นระเบียบในงานต่างๆ ที่
ทําซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่านับว่าเป็นการลดต้นทุนที่ดี
ก่อให้เกิดการประหยัดแก่องค์กร
๓. ลดความไม่แน่นอน (Reduction of Uncertainty) การวางแผนช่วยลดความ
ไม่แน่นอนในอนาคตลงเพราะการวางแผน เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์เหตุการณ์ใน
อนาคตการวางแผนที่มีประสิทธิภาพเป็นผลมาจากการวิเคราะห์พื้นฐานของข้อเท็จจริงที่ปรากฏ
ขึ้นแล้ว ทําการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตและได้หาแนวทางพิจารณาป้องกันเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไว้แล้ว
๔. เป็นเกณฑ์ในการควบคุม (Basic of Control) การวางแผนช่วยให้ผู้บริหารได้
กําหนดหน้าที่ควบคุมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการวางแผนและการควบคุมเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออกเป็น
กิจกรรมที่ดําเนินการคู่กันอาศัยซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ถ้าไม่มีการวางแผนก็ไม่สามารถมีการ
ควบคุมกล่าวได้ว่าแผนกําหนดจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการปฏิบัติงานในหน้าที่ควบคุม
๕. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม และการสร้างสรรค์ (Encourages innovation and
Creativity) การวางแผนเป็นพื้นฐานด้านการตัดสินใจ และเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ
(นวัตกรรม) และความคิดสร้างสรรค์ ทั้งนี้เนื่องจากขณะที่ฝ่ายจัดการมีการวางแผนกันนั้นจะ
เป็นการระดมปัญญาของคณะผู้ทํางานด้านการวางแผนทําให้เกิดความคิดใหม่ๆ และความคิด
สร้างสรรค์นํามาใช้ประโยชน์แก่องค์การ และยังเป็นการสร้างทัศนคติการมองอนาคตระหว่าง
คณะผู้บริหาร
8

๖. พัฒนาแรงจูงใจ (Improve Motivation) ระบบการวางแผนที่ดีจะเป็นการ
วางแผนที่ดี จะเป็นการบ่งชี้ให้เห็นถึงความร่วมแรงร่วมใจในการทํางานของผู้บริหาร และยังเป็น
การสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นในกลุ่มคนงานด้วย เพราะเขารู้อย่างชัดเจนว่าองค์กรคาดหวังอะไร
จากเขาบ้ า ง นอกจากนั้ น การวางแผนยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ฝึ ก และพั ฒ นาแรงจู ง ใจที่ ดี สํ า หรั บ
ผู้บริหารในอนาคต
๗. พัฒนาการแข่งขัน (Improve Competitive Strength) การวางแผนที่มี
ประสิทธิภาพ ทําให้องค์กรมีการแข่งขันกันมากกว่า องค์กรที่ไม่มีการวางแผนหรือมีการวางแผน
ที่ ข าดประสิ ท ธิ ภ าพ ทั้ ง นี้ เ พราะการวางแผนจะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การขยายขอบข่ า ยการทํ า งาน
เปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน ปรับปรุงสิ่งต่างๆ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
๘. ทําให้เกิดการประสานงานที่ดี (Better Coordination) การวางแผนได้สร้าง
ความมั่นใจในเรื่องเอกภาพที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ทําให้กิจกรรมต่างๆ ที่จัดวางไว้มุ่ง
ไปที่จุดมุ่งหมายเดียวกัน มีการจัดประสานงานในฝ่ายต่างๆ ขององค์การเพื่อหลีกเลี่ยงความ
ซ้ําซ้อนในงานแต่ละฝ่ายขององค์กร
9

ส่วนที่ ๒
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตําบลท่าวังตาล
๒.๑ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่น
ที่ตั้งและอาณาเขต
ที่ตั้ง
ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอําเภอสารภี ระยะห่างจากที่ตั้งของที่ว่าการอําเภอสารภี ประมาณ ๗
กิโลเมตร มีสภาพการคมนาคมโดยทั่วไป ระหว่างที่ว่าการอําเภอสารภีและตัวจังหวัดเชียงใหม่อยู่ในระดับดี
อาณาเขต
ตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตติดต่อโดยรอบดังนี้
ทิศเหนือ
ติดต่อกับ
ตําบลหนองหอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ทิศใต้
ติดต่อกับ
ตําบลดอนแก้ว อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ
ตําบลหนองผึ้ง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ
ตําบลป่าแดด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะพื้นที่ โดยทั่วไปเป็นที่ราบริมฝั่งแม่น้ําปิงต่อเนื่องกับตําบลป่าแดดมีพื้นที่ทั้งหมด
ประมาณ ๑๓.๖๓ ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของราษฎร และพื้นที่ทางการเกษตร มี
ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล ประมาณ ๓๕๐ เมตร
แหล่งน้ํา
๑. แหล่งน้ําธรรมชาติที่สําคัญที่ใช้ทางการเกษตรและบริโภค
- ลําน้ําปิง สภาพน้ําดีใช้เพื่อการเกษตร
๒. แหล่งน้ําที่สร้างขึ้น ได้แก่
- ฝาย
จํานวน ๑ แห่ง
- บ่อบาดาล
จํานวน ๓๘๑ แห่ง
- บ่อน้ําตื้น
จํานวน ๒๓๐ บ่อ
- ประปาภูมิภาค จํานวน ๕ แห่ง(หมู่ที่ ๑,หมู่ที่ ๒,หมู่ที่ ๓,หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๑๑)
- ประปาหมู่บ้าน จํานวน ๑๐ แห่ง(หมู่ที่ ๒ , หมู่ที่ ๓ ,หมู่ที่ ๕, หมู่ที่ ๖, หมู่ที่
๗, หมู่ที่ ๘ ,หมู่ที่ ๙ ,หมู่ที่ ๑๐,หมู่ที่ ๑๒ และหมู่ที่ ๑๓)
ตําบลท่าวังตาล ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ําปิง มีถนนวงแหวนเส้นกลางและเส้นนอก
ผ่านมีสภาพการคมนาคมโดยทั่วไปอยู่ในสภาพดีสภาพการคมนาคมระหว่างหมู่บ้านต่างๆ ของ
ตําบลส่วนใหญ่เป็นถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีตและถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
10

ภัยธรรมชาติ
ตําบลท่าวังตาล มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติที่สําคัญและเกิดขึ้นอยู่เสมอ ดังนี้คือ
ภัยแล้ง ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนเมษายน – มิถุนายน
วาตภัย ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนมีนาคม – เมษายน
อุทกภัย ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนมิถุนายน – กันยายน
๒.๒ ข้อมูลด้านสังคม
จํานวนประชากรและครัวเรือน
ประชากรของตําบลท่าวังตาล เป็นคนไทยพื้นเมือง และคนไทยย้ายถิ่นฐานมาอาศัยอยู่
เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่เป็นประกอบอาชีพรับจ้างทํางานในตัวเมืองเชียงใหม่
ประชากรและครัวเรือน
ตําบลท่าวังตาล มีประชากรทั้งหมด จํานวน ๑๐,๐๓๕ คน แยกเป็น ชาย ๔,๗๐๑
คน หญิง ๕,๓๓๔ คน ครัวเรือนจํานวน ๔,๔๑๘ ครัวเรือน
จํานวนประชากร เขต ๑ จํานวน ๕,๒๑๔ คน เขต ๒ จํานวน ๔,๘๒๑ คน
หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
จํานวน
ประชากร ประชากรหญิง
รวม
ครัวเรือน(หลัง) ชาย (คน)
(คน)
๑
บ้านเจดีย์เหลี่ยม
๒๒๘
๒๖๕
๓๐๔
๕๖๙
๒
บ้านป่าเปอะ
๔๓๗
๓๙๑
๔๕๘
๘๔๙
๓
บ้านกลาง
๖๐๙
๖๔๓
๗๓๔
๑,๓๗๗
๔
บ้านโป่ง
๔๕๘
๔๙๒
๕๙๕
๑,๐๘๗
๕
บ้านป่างิ้ว
๓๘๔
๓๗๗
๓๘๒
๗๕๙
๖
บ้านป่าเส้า
๒๔๔
๒๗๓
๓๒๓
๕๙๖
๗
บ้านบวกหัวช้าง
๓๒๒
๓๗๘
๓๙๐
๗๖๘
๘
บ้านบวกครกเหนือ
๓๖๖
๓๔๑
๓๗๐
๗๑๑
๙
บ้านบวกครกใต้
๓๑๐
๓๓๑
๓๖๙
๗๐๐
๑๐
บ้านสันป่ากว๋าว
๑๓๒
๑๖๗
๒๑๑
๓๗๘
๑๑
บ้านช้างค้ํา
๕๒๑
๕๐๔
๕๕๑
๑,๐๕๕
๑๒
บ้านหางแคว
๒๐๐
๒๑๙
๒๘๕
๕๐๔
๑๓
บ้านป่ากล้วย
๒๓๗
๓๒๐
๓๖๒
๖๘๒
รวม
๔,๔๑๘
๔,๗๐๑
๕,๓๓๔
๑๐,๐๓๕
ที่มา งานทะเบียนราษฎร อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ณ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖
11

ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
การตั้งบ้านเรือนเป็นชุมชนใหญ่แบบถาวรไม่เคลื่อนย้ายถิ่นฐาน มีประชาชนที่อยู่เดิมและ
มาตั้งถิ่นฐานใหม่ เพื่อมาทํางานในเมืองเชียงใหม่
ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม อิทธิพลทางความคิด (ค่านิยม)
ตํ า บลท่ า วั ง ตาล มี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ สํ า คั ญ เหมื อ นกั บ สั ง คมไทยพื้ น เมื อ ง
โดยทั่วไป เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง และวันสําคัญทางศาสนาต่างๆเป็นต้น
สถานที่ทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยว
มี ๑ วัด จํานวน ๘ แห่ง ได้แก่
๑. วัดเจดีย์เหลี่ยม
หมู่ที่ ๑
๒. วัดป่าเปอะ
หมู่ที่ ๒
๓. วัดบ้านกลาง
หมู่ที่ ๓
๔. วัดป่างิ้ว
หมู่ที่ ๕
๕. วัดบวกครกเหนือ
หมู่ที่ ๘
๖. วัดบวกครกใต้
หมู่ที่ ๙
๗. วัดช้างค้ํา
หมู่ที่ ๑๑
๘. วัดป่ากล้วย
หมู่ที่ ๑๓
มีโบสถ์คริสต์ จํานวน ๒ แห่ง
๑. โบสถ์คริสจักรสืบนทีธรรม หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย
๒. โบสถ์คริสจักรพระสิริล้านนา หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย
12

การศึกษา
การศึกษาในตําบลท่าวังตาล จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับ ก่อนประถมศึกษาถึง
มัธยมศึกษา โดยมีสถานศึกษาจําแนกตามสังกัด ดังนี้
ที่
ชื่อสถานศึกษา
ที่ตั้ง
๑ โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔
- โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ
หมู่ ๘
๒ กรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
- ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
หมู่ ๘
๓ เทศบาลตําบลท่าวังตาล
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตําบลท่าวังตาล
หมู่ ๕
๔ เอกชน - โรงเรียนสืบนทีธรรม
หมู่ ๑๓
- โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน
หมู่ ๑๐
ที่มาจาก โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน ข้อมูล ณ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕๖
ข้อมูลการศึกษา
ข้อมูลจํานวนนักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตําบลท่าวังตาล
ชั้น
จํานวนนักเรียน
ชาย (คน)
หญิง (คน)
รวม
ระดับอายุ ๒ ขวบ
๑๑
๑๐
๒๑
ระดับอายุ ๓ ขวบ ห้อง
๘
๙
๑๗
๑
ระดับอายุ ๓ ขวบ ห้อง
๒

๙

๘

๑๗

รวม

๒๘

๒๗

๕๕

ที่มา กองการศึกษาฯ เทศบาลตําบลท่าวังตาลข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖
13

ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ
ชั้น
จํานวนนักเรียน
ชาย (คน)
หญิง (คน)
อนุบาล ๑
๘
๗
อนุบาล ๒
๑๔
๕
รวมอนุบาล
๒๒
๑๒
ประถมศึกษาปีที่ ๑
๑๓
๙
ประถมศึกษาปีที่ ๒
๑๐
๑๑
ประถมศึกษาปีที่ ๓
๗
๑๑
ประถมศึกษาปีที่ ๔
๙
๑๓
ประถมศึกษาปีที่ ๕
๑๐
๑๒
ประถมศึกษาปีที่ ๖
๙
๑๕
รวมประถมศึกษา
๕๘
๗๑
มัธยมศึกษาปีที่ ๑
๖
๑๑
มัธยมศึกษาปีที่ ๒
๘
๑๑
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
๙
๘
รวมมัธยม
๒๓
๓๕
รวมนักเรียนทั้งหมด
๑๐๓
๑๑๘
ที่มา โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖

รวม
๑๕
๑๙
๓๔
๒๒
๒๑
๑๘
๒๒
๒๒
๒๔
๑๒๙
๒๒
๑๙
๑๗
๕๘
๒๒๑
14

ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนสืบนทีธรรม
ชั้น
อนุบาล ๑
อนุบาล ๒
รวมอนุบาล
ประถมศึกษาปีที่ ๑
ประถมศึกษาปีที่ ๒
ประถมศึกษาปีที่ ๓
ประถมศึกษาปีที่ ๔
ประถมศึกษาปีที่ ๕
ประถมศึกษาปีที่ ๖
รวมประถมศึกษา
มัธยมศึกษาปีที่ ๑
มัธยมศึกษาปีที่ ๒
มัธยมศึกษาปีที่ ๓
รวมมัธยม
รวมนักเรียนทั้งหมด

ชาย (คน)
๒๑
๔๘
๖๙
๒๙
๒๓
`๓๙
๑๗
๒๐
๒๗
๑๕๕
๒๓
๒๘
๒๓
๗๔
๒๙๘

จํานวนนักเรียน
หญิง (คน)
๒๓
๖๘
๙๑
๒๔
๒๐
๒๓
`๓๒
๓๔
๒๗
๑๖๐
๒๓
๒๐
๑๔
๕๗
๓๐๘

ที่มา โรงเรียนบวกครกเหนือข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖

รวม
๔๔
๑๑๖
๑๖๐
๕๓
๔๓
๖๒
๔๙
๕๔
๕๔
๓๑๕
๔๖
๔๘
๓๗
๑๓๑
๖๐๖
15

ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน
ชั้น
อนุบาล ๑
อนุบาล ๒
รวมอนุบาล
เกรด ๑
เกรด ๒
เกรด ๓
เกรด ๔
เกรด ๕
เกรด ๖
รวมระดับเทียบเท่า
ประถมศึกษา
เกรด ๗
เกรด ๘
เกรด ๙
เกรด ๑๐
เกรด ๑๑
รวมระดับเทียบเท่า
มัธยม
รวมนักเรียนทั้งหมด

ชาย (คน)
๓
๑๔
๑๗
๓
๘
๘
๕
๒
๕
๓๑

จํานวนนักเรียน
หญิง (คน)
๒
๑๑
๑๓
๕
๓
๙
๕
๔
๒
๒๘

รวม
๕
๒๕
๓๐
๘
๑๑
๑๗
๑๐
๖
๗
๕๙

๗
๖
๒
๓
๑๘

๕
๓
๘
๗
๒
๒๕

๑๒
๙
๑๐
๑๐
๒
๔๑

๖๖

๖๖

๑๓๒

ที่มา โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมันข้อมูล ณ วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๖
16

ผู้นําชุมชน
ผู้นําชุมชนที่ประชาชนให้ความนับถือ มีลักษณะเช่นเดียวกับหมู่บ้าน ตําบลโดยทั่วไป
เช่น กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาเทศบาล ซึ่งเป็นผู้นําที่มาจากการเลือกตั้ง ประธานกลุ่ม
สตรีแม่บ้าน ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน ประธานผู้สูงอายุ ประธานประชาคม
ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจ
รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี ๗๓,๐๑๕.๐๐บาท
รายได้ต่อคนต่อปี เรียงลําดับจากน้อยไปมาก ดังนี้
ลําดับที่
หมู่บ้าน
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี
๑
หมู่ที่ ๑๑ บ้านช้างค้ํา
๖๑,๖๐๓ บาท
๒
หมู่ที่ ๓ บ้านกลาง
๖๖,๓๔๖ บาท
๓
หมู่ที่ ๑๐ บ้านสันป่ากว๋าว
๖๘,๑๘๑ บาท
๔
หมู่ที่ ๖ บ้านป่าเส้า
๖๙,๑๑๗ บาท
๕
หมู่ที่ ๘ บ้านบวกครกเหนือ
๖๙,๘๑๔ บาท
๖
หมู่ที่ ๙ บ้านบวกครกใต้
๗๐,๖๑๐ บาท
๗
หมู่ที่ ๕ บ้านป่างิ้ว
๗๓,๐๑๕ บาท
๘
หมู่ที่ ๑๒ บ้านหางแคว
๗๔,๓๐๗ บาท
๙
หมู่ที่ ๗ บ้านบวกหัวช้าง
๗๔,๔๘๕ บาท
๑๐
หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย
๗๔,๘๒๕ บาท
๑๑
หมู่ที่ ๑ บ้านโป่ง
๘๐,๖๗๙ บาท
๑๒
หมู่ที่ ๑ บ้านเจดีย์เหลี่ยม
๘๓,๗๐๖ บาท
๑๓
หมู่ที่ ๒ บ้านป่าเปอะ
๑๐๐,๖๗๑ บาท
ข้อมูลจาก จปฐ. ปี พ.ศ.๒๕๕๖
ประกอบอาชีพ
ประชากรของตําบลท่าวังตาล จําแนกตามอาชีพได้ดังนี้
ไม่มีอาชีพ
จํานวน
๖๒๒
คน
กําลังศึกษา
จํานวน
๑,๓๖๘
คน
ทํานา
จํานวน
๗
คน
ทําไร่
จํานวน
๓
คน
ทําสวน
จํานวน
๑๔๕
คน
17

ประมง
จํานวน
๑
คน
รับราชการ
จํานวน
๔๐๒
คน
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
จํานวน
๕๘
คน
พนักงานบริษัท
จํานวน
๒๐๒
คน
รับจ้างทั่วไป
จํานวน
๓,๑๖๗
คน
ค้าขาย
จํานวน
๘๐๓
คน
ธุรกิจส่วนตัว
จํานวน
๒๓๘
คน
อื่น ๆ
จํานวน
๒๙๖
คน
(ข้อมูล จปฐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖)
แหล่งดูงาน
เทศบาลตําบลท่าวังตาล ๓๐ คณะต่อปี
สถานีอนามัย ประมาณ ๔-๕ คณะต่อปี
นวดแผนไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนสวัสดิการชุมชน
ฝายท่าวังตาล
สถานีวิทยุชุมชน FM ๑๐๔ MHz.
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การท่องเที่ยว
ในตําบลท่าวังตาล มีแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานและศาสนสถานดังนี้
แหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานได้แก่
๑. เวียงกุมกาม นครโบราณใต้พิภพ สถานที่ท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหม่ได้มี
การซึ่งขุดค้นพบโดยสํานักงานโบราณคดี ภาค ที่ ๘ กรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗
ได้แก่
๑. วัดกานโถม (ช้างค้ํา)
๒. วัดปู่เปี้ย
๓. วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คํา)
๔. วัดอีก้าง (วัดอีค่าง)
๕. วัดธาตุขาว
๖. วัดกู่ป้าด้อม
๗. วัดพญามังราย
๘. วัดหนานช้าง
๙. วัดพระเจ้าองค์ดํา
๑๐. วัดหัวหนอง
๑๑. วัดน้อย
๑๒. วัดไม้ซ้ง
๑๓. วัดกู่ขาว
๑๔. วัดโบสถ์
๑๕. วัดกู่อ้ายหลาน
๑๖. วัดกู่อ้ายสี
18

๑๗. วัดกู่มะเกลือ
๑.๘ วัดกู่จ๊อกป็อก
๑๙. วัดกู่ทีปาราม
๒๐. วัดกุมกาม หมายเลข ๑
๒๑. วัดกุมกาม หมายเลข ๒
๒๒. วัดพันเลา
๒๓. วัดกู่อ้ายจันทร์
๒๔. วัดกู่ริดไม้
๒๕. วัดบ่อน้ําทิพย์
๒๖. วัดศรีบุญเรือง
๒๗. วัดเสาหิน
ฯลฯ
แหล่งที่ท่องเที่ยวศาสนสถาน
๑. วัดป่าเปอะ หมู่ที่ ๒ มีพระสังฆะจาย
๒. วัดบ้านกลาง หมู่ที่ ๓ มีพระบรมสารีริกธาตุ
๓. วัดบวกครกเหนือ หมู่ที่ ๘ มีพระเจ้าทันใจ
๔. วัดบวกครกใต้ หมู่ที่ ๙ มีพระสีวลี
๕. วัดป่างิ้ว หมู่ที่ ๕ มีพระนอนจีจรล้านเหรียญ พระเจ้าทันใจ
๖. วัดป่ากล้วย หมู่ที่ ๑๓ มี พระพุทธบาทจําลอง น้ําบ่อทิพย์
ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต
ด้านสาธารณสุข
ในตําบลท่าวังตาล มีสถานบริการด้านสาธารณสุขหลายหน่วยงาน มีโรงพยาบาล
เอกชน ๑ แห่ง มีสถานบริการด้านการส่งเสริมพัฒนา และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายของ
ประชาชน มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตําบล บ้านบวกครกเหนือ ๑ แห่ง ศูนย์แพทย์
ชุมชน ๑ แห่ง ให้การดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างครอบคลุม รวมทั้งมีคลินิกเอกชน
จํานวน ๓ แห่ง และสถานบริการแพทย์แผนไทย ทําให้ประชาชนตําบลท่าวังตาล มีโอกาส
เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ส่งผลถึงสภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงของประชาชน
ตารางแสดงการบริหารการแพทย์และอนามัยแก่ประชาชนตําบลท่าวังตาล
ที่
๑
๒
๓
๔
๕

สถานบริการด้านการแพทย์และอนามัย
โรงพยาบาลเอกชน
- โรงพยาบาลแมคเคน (บางส่วนอยู่ในตําบลป่าแดด)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตําบล บ้านบวกครกเหนือ
คลินิกหมอชายชาญ
คลินิกหมอพิพิธ
คลินิกหมอสุทธิพงษ์

ที่ตั้ง
หมู่ ๑๓
หมู่ ๘
หมู่ ๒
หมู่ ๔
หมู่ ๑๓
19

ในตําบลท่าวังตาลมีสถานบริการ ๑ แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน มี
แพทย์ที่ให้บริการประชาชน จํานวน ๑ คน มีแพทย์ออกมาปฏิบัติงานตรวจรักษา สัปดาห์ละ
๑ วัน (ทุกวันพุธช่วงเช้า) มีพยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการประชาชนทุกวัน
ทําให้ประชาชนตําบลท่าวังตาลได้รับความสะดวกรวดเร็วในการรับบริการด้านสาธารณสุข
ผู้สูงอายุ
ในปี ๒๕๕๖ ตํ า บลท่ า วั ง ตาลมี ผู้ สู ง อายุ ที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่
๑,๔๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓๐ ของประชากรในตําบลท่าวังตาล
ผู้สูงอายุที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเบี้ยยังชีพจํานวน ๑,๒๐๐ คน
กลุ่มมวลชน
ตําบลท่าวังตาลมีการรวมกลุ่มของมวลชน ที่สําคัญดังนี้
๑. เครือข่ายเยาวชนตําบล
จํานวน
๒. กลุ่มผู้ติดเชื้อ
จํานวน
๓. ผู้สูงอายุ
จํานวน
๔. ผู้พิการ
จํานวน
๕. ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จํานวน
๖. ตํารวจชุมชน
จํานวน
๗. ประชาคม
จํานวน
๘. กลุ่มแม่บ้าน
จํานวน
๙. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จํานวน
๑๐. อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จํานวน
๑๑. หมออาสาสารภี
จํานวน
๑๒. อาสาพัฒนาชุมชน (อช.)
จํานวน

๖๐ ปี ขึ้ น ไป จํ า นวน
ทั้งนี้ตําบลท่าวังตาลมี

๕๐
๓๐
๑,๔๓๕
๒๑๐
๑๔๒
๒๕
๕๒
๒๖๐

คน
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คน

๑๓
๑๑๗
๓๓
๕๒

คน
คน
คน
คน

กีฬา และนันทนาการ
จากข้อมูลพื้นฐานด้านกีฬาของตําบลท่าวังตาล พบว่าตําบลท่าววังตาลยังไม่มีศูนย์
กีฬาประจําตําบล
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เส้นทางคมนาคม
ตําบลท่าวังตาลมีถนนวงแหวนเส้นกลางและเส้นนอกตัดผ่านอยู่ห่างจากที่ว่าการ
อําเภอสารภีประมาณ ๗ กิโลเมตร อยู่ห่างจากเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ประมาณ ๓ กิโลเมตร
20

สภาพการคมนาคมโดยทั่วไปอยู่ในสภาพดี สภาพการคมนาคม ระหว่างหมู่บ้านต่าง ๆ ของ
ตําบลส่วนใหญ่เป็นถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีต และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
ประปา
การประปาของตําบลท่าวังตาล
- การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค จํ า นวน ๕ แห่ ง ในเขต หมู่ ที่ ๑ , หมู่ ที่ ๒ , หมู่ ที่ ๓
หมู่ที่ ๔ , หมู่ที่ ๑๑ , หมู่ ๖ , หมู่ ๗ และหมู่ ๘
- ประปาหมู่บ้านจํานวน ๑๐ แห่ง หมู่ที่ ๒ , หมู่ที่ ๓ , หมู่ที่ ๕ , หมู่ที่ ๖
หมู่ที่ ๗ , หมู่ที่ ๘ , หมู่ที่ ๙ , หมู่ที่ ๑๐ , หมู่ที่ ๑๒ และหมู่ที่ ๑๓
ไฟฟ้า
มีไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้าน มีไฟฟ้าใช้ ๑๐๐ % จํานวน ๔,๔๑๘ ครัวเรือน
ทรัพยากรน้ํา
แหล่งน้ํา
แหล่งน้ําธรรมชาติที่สําคัญที่ใช้ทางการเกษตร และบริโภค
- แม่น้ําปิง สภาพน้ําดี ใช้เพื่อการเกษตร
ด้านการเมืองและการบริหาร
ผลเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๗
มีนาคม ๒๕๕๓ มีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาลจํานวน ๕,๗๘๘
คน คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๗๘ ของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด ซึ่งถือได้ว่ามีสัดส่วนปานกลาง
ในการเลื อกตั้ งครั้ งนี้มีบั ตรเสียจํ านวน ๓๐๑ ใบ คิดเป็นร้อ ยละ ๕.๒๐ และบั ตรไม่ประสงค์
ลงคะแนนจํานวน ๒๒๑ ใบ คิดเป็นร้อยละ ๓.๘๒
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓ มีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง
เขต ๑ มีผู้มาใช้สิทธิ์ จํานวน ๒,๘๙๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๙๔ บัตรเสีย ๑๒๓ คิดเป็นร้อยละ
๔.๒๕ ไม่ลงคะแนน ๑๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๕๐
เขต ๒ มีผู้มาใช้สิทธิ จํานวน ๒,๘๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๗๐ คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๗๐
บัตรเสีย ๑๑๕ คิดเป็นร้อยละ ๓.๙๗ ไม่ลงคะแนน ๙๖ คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๑
21

แบบสรุปผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกเทศบาลตําบลท่าวังตาล
วันเลือกตั้ง วัน ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓
เขต จํานวนผู้
การใช้สิทธิเลือกตั้ง
เลือกตั้ง มีสิทธิ
ผู้มาใช้สิทธิ
บัตรเสีย
บัตรไม่ประสงค์
ที่
เลือกตั้ง
ลงคะแนน
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
๑
๓,๘๕๘ ๒,๘๘๑ ๗๔.๙๔ ๑๒๓
๔.๒๕
๑๓๐
๔.๕๐
๒
๓,๖๘๐ ๒,๘๙๖ ๗๘.๗๐ ๑๑๕
๓.๙๗
๙๖
๓.๓๑
รวม
๗,๕๓๘ ๕,๗๗๗
๒๓๘
๒๒๖
แบบสรุปผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล
วันเลือกตั้ง วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓
เขต จํานวนผู้
การใช้สิทธิเลือกตั้ง
เลือกตั้ง มีสิทธิ
ผู้มาใช้สิทธิ
บัตรเสีย
บัตรไม่ประสงค์
เลือกตั้ง
ลงคะแนน
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
๑,๒
๕.๒๐
๒๒๑
๓๘๒
๗,๕๓๘ ๕,๗๘๘ ๗๖.๗๘ ๓๐๑
๕.๒๐
๒๒๑
๓๘๒
รวม
๗,๕๓๘ ๕,๗๘๘ ๗๖.๗๘ ๓๐๑
ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตําบลท่าวังตาล แบ่งออกเป็น
๑. ฝ่ายการเมือง มีจํานวนบุคลากรทั้งสิ้น ๑๗ คน ประกอบด้วย
- นายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล
จํานวน
- รองนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล
จํานวน
- เลขานุการนายกเทศมนตรี
จํานวน
- ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
จํานวน
- สมาชิกสภาเทศบาลตําบลท่าวังตาล
จํานวน
๒. ฝ่ า ยข้ า ราชการประจํ า แบ่ ง การบริ ห ารออกเป็ น ๑ สํ า นั ก ๔
บุคลากรทั้งหมด จํานวน ๕๕ คน ดังต่อไปนี้
ปลัดเทศบาล
จํานวน
๑
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน
จํานวน
๑

๑
คน
๒
คน
๑
คน
๑
คน
๑๒ คน
กอง มี จํ า นวน
คน
คน
22

๒.๑ สํานักงานปลัดฯ มีบุคคลทั้งสิ้น
จํานวน
๒๕
๒.๑.๑ พนักงานเทศบาล
จํานวน
๑๐
๒.๑.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ
จํานวน
๕
๒.๑.๓ พนักงานจ้างทั่วไป
จํานวน
๑๐
๒.๒ กองคลัง มีบุคลากรทั้งสิ้น
จํานวน
๗
๒.๒.๑ พนักงานเทศบาล
จํานวน
๔
๒.๒.๒ ลูกจ้างประจํา
จํานวน
๑
๒.๒.๓ พนักงานจ้างตามภารกิจ
จํานวน
๑
๒.๒.๔ พนักงานจ้างทั่วไป
จํานวน
๑
๒.๓ กองช่าง มีบุคลากรทั้งสิ้น
จํานวน
๘
๒.๓.๑ พนักงานเทศบาล
จํานวน
๔
๒.๓.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ
จํานวน
๒
๒.๓.๓ พนักงานจ้างทั่วไป
จํานวน
๒
๒.๔ กองการศึกษา มีบุคลากรทั้งสิ้นจํานวน ๘ คนแยกเป็น
๒.๔.๑ พนักงานเทศบาล
จํานวน
๓
๒.๔.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ
จํานวน
๔
๒.๔.๓ พนักงานจ้างทั่วไป
จํานวน
๑
๒.๕ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีบุคลากรทั้งสิ้น จํานวน ๕
๒.๕.๑ พนักงานเทศบาล
จํานวน
๓
๒.๕.๒ พนักงานจ้างทั่วไป
จํานวน
๒
ข้อมูล ณ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๖

คน แยกเป็น
คน
คน
คน
คน แยกเป็น
คน
คน
คน
คน
คน แยกเป็น
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คน แยกเป็น
คน
คน
23

ส่วนที่ ๓
สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในระยะที่ผ่านมา
ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนา ๓ ปี
๑. จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนา ๓ ปี (๒๕๕๓ – ๒๕๕๕)
ยุทธศาสตร์

ปีที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓
จํานวน
โครงการ

๑. ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน
๒. ด้านเศรษฐกิจ
ตามแนวทาง
เศรษฐกิจ
พอเพียง
๓. ด้านการ
บริหาร
ทรัพยากรธรรม
ชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ด้านการ
อนุรักษ์ ฟื้นฟู
ศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณี
และภูมิปญญา
ั
ท้องถิ่น
๕. ด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
๖. ด้านการจัด
ระเบียบชุมชน
สังคมและการ
รักษาความสงบ
เรียบร้อย
๗. ด้านการ
พัฒนาการ
บริหารจัดการ
บ้านเมืองทีดี
่
รวม

๗

งบประมาณ

๑,๑๒๓,๒๗๖

ปีที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔
จํานวน
โครงการ

๑๖

งบประมาณ

๓,๒๐๒,๕๐๐

ปีที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๕
จํานวน
โครงการ

๑๑

งบประมาณ

๒,๙๕๗,๒๐๐

รวม
จํานวน
โครงการ

งบประมาณ

๓๔

๑

๑๔๐,๗๒๘

๓

๑๖๑,๕๐๐๐

๔

๑๓๐,๐๐๐

๑๑

๗,๒๘๒,๙๗๖
๔๓๒,๒๒๘

๔

๙๔๒,๘๖๒

๒

๒,๔๙๓,๖๕๕

๓

๒,๖๐๐,๐๐๐

๙

๖,๘๐๖,๐๒๖

๑๐

๙๔๒,๘๖๒

๑๓

๘๗๖,๗๖๐

๗

๑,๒๒๐,๐๐๐

๓๐

๓,๐๔๑,๖๒๒

๑๙

๑,๕๔๒,๑๒๗

๑๙

๑,๗๖๐,๖๗๗

๒๖

๒,๐๗๒,๐๐๐

๖๔

๕,๔๐๔,๙๖๔

๒

๑๒๙,๑๗๘

๔

๒๑๔,๑๑๘

๙

๕๕๐,๐๐๐

๑๕

๕,๔๐๔,๙๖๔

๗

๑,๕๙๗,๓๓๐

๘

๖๐๘,๒๒๕

๕

๑๒๔,๙๑๔

๒๐

๒,๓๓๐,๔๖๙

๕๐

๗,๑๘๗,๘๗๒

๖๕

๙,๓๕๐,๓๙๕

๖๕

๙,๗๔๙,๒๐๐ ๑๘๐

๓,๒๒๔,๗๖๕
24

๒. ผลการดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานปี ๒๕๕๕
ยุทธศาสตร์

จํานวนโครงการที่
เสร็จ

จํานวนโครงการที่อยู่
ในระหว่างดําเนินการ

จํานวนโครงการที่
ยังไม่ได้ดําเนินการ

จํานวนโครงการที่
มีการยกเลิก

จํานวนโครงการที่
มีการเพิ่มเติม

จํานวนโครงการทั้งหมด

จํานวน

๑. ด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน
๒. ด้านเศรษฐกิจ
ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง
๓. ด้านการบริหาร
ทรัพายากร
ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ด้านการอนุรักษ์
ฟื้นฟู
ศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณีและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕. ด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิต
๖. ด้านการจัด
ระเบียบชุมชน
สังคมและการ
รักษาความสงบ
เรียบร้อย
๗. ด้านการ
พัฒนาการบริหาร
จัดการบ้านเมืองที่
ดี
รวม

ร้อยละ

จํานวน

ร้อยละ

จํานวน

ร้อยละ

จํานวน

ร้อยละ

จํานวน

ร้อยละ

จํานวน

ร้อยละ

๘

๑๒.๑๒

๓

๔.๕๕

-

-

-

-

-

-

๑๑

๑๖.๖๗

๑

๑.๕๒

๓

๔.๕๕

-

-

-

-

-

๔

๖.๐๖

๑

๑.๕๒

๕

๗.๕๘

-

-

-

-

-

-

๖

๙.๐๙

๗

๑๐.๖๑

--

-

-

-

-

-

-

-

๗

๑๐.๖๑

๒๔

๓๖.๓๖

๓

๔.๕๕

-

-

-

-

-

-

๒๗

๔๐.๙๑

๓

๔.๕๕

๓

๔.๕๕

-

-

-

-

-

-

๖

๙.๐๙

๔

๖.๐๖

๑

๑.๕๒

-

-

-

-

-

-

๕

๗.๕๘

๔๘

๗๒.๗๓

๑๘

๒๗.๒๗

-

-

-

-

-

-

๖๖

๑๐๐
25
๓. ยุทธศาสตร์และจํานวนโครงการทีปรากฏอยูในแผนการดําเนินงาน และจํานวนโครงการทีได้
่
่
่
ปฏิบัติ

ยุทธศาสตร์

๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
๒. ด้านเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง
๓. ด้านการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
๔. ด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕. ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต
๖. ด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและ
การรักษาความสงบเรียบร้อย
๗. ด้านการพัฒนาการบริหารจัดการ
บ้านเมืองที่ดี
รวม

จํานวนโครงการ
จํานวนโครงการที่
จํานวนโครงการที่
ปรากฏอยู่ในแผน
ได้ปฏิบัติ
๓๐
๘
๒๓
๑
๒๕

๑

๑๗

๗

๓๓
๑๗

๒๔
๓

๑๔

๔

๑๕๙

๔๘
26

ส่วนที่ ๔
๓.๑ หลักและแนวคิดในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น
ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับ
จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ การอบรมยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดเชียงใหม่ และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น คือ
ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
“เศรษฐกิจ พอเพียง” เป็นปรั ชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมี
พระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ตั้งแต่ก่อน
เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจเมื่อปี ๒๕๔๐ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ําแนวทางการ
แก้ไขเพื่อให้รอดพ้น สามารถ ดํารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
และความเปลี่ยนแปลงของโลก
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน
ทุ กระดั บ ตั้ งแต่ ระดั บ ครอบครั ว ระดั บ ชุ ม ชน จนถึ งระดั บ รั ฐ ทั้ งในการพั ฒนา และบริ หาร
ประเทศ ให้ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค
โลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ
จําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการ
เปลี่ ยนแปลงทั้ งภายนอก และภายใน ทั้ งนี้จะต้ องอาศั ยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ
ความระมั ดระวั งอย่ า งยิ่ งในการนํ า วิ ช าการต่ า ง ๆมาใช้ ใ นการวางแผน และการดํ า เนิ นการ
ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่
ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสํา นึกด้านคุ ณธรรม ความซื่อ สัตย์สุจริ ต
และให้ความรอบรู้ที่เหมาะสม ในการดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา
และความรอบคอบ เพื่ อให้สมดุล และพร้ อ มต่ อการรองรับ การเปลี่ ยนแปลงอย่า งรวดเร็ ว
และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
นิยามของความพอเพียง
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่ น้อยเกิ นไป และไม่มากเกิ นไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
จากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
27

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในครอบครัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ
และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไขเพื่อให้เกิดความพอเพียง
การตัดสินใจ และการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้พอเพียงต้องอาศัยทั้งความรู้
และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้
ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกี่ ย วกับ วิ ช าการต่า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งอย่า งรอบด้ า น
ความรอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
เงื่อนไขคุณธรรม
ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม เช่น มีความ
ซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน และเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า
เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน คือ การพึ่งตนเองให้ได้โดยยึดหลักของความ
พอเพี ย งทั้ งทางความคิ ด และการกระทํ า ในการดํ า เนิ นชี วิ ต ประกอบสั ม มาอาชี พหาเลี้ ย ง
ตนเองอย่างสุจริต ไม่โลภหรือไม่ตักตวงในระดับที่เกินความต้องการ จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น
หากแต่เป็นการยึดมั่นในหลักการดําเนินชีวิตที่อยู่บนพื้นฐานของการรู้จักตนเอง และการพัฒนา
ตนเองก่อนเป็นพื้นฐาน
เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า คือ การแลกเปลี่ยน ร่วมมือ ช่วยเหลือกัน
เพื่อทําให้ส่วนรวมได้รับประโยชน์ และนําไปสู่การพัฒนาชุมชน และสังคมให้เจริญอย่างยั่งยืน
สามารถดําเนินควบคู่ไปกับหลักการทางเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ในลักษณะที่เกื้อกูลกัน
อย่างสมดุล กล่าวคือ การดํารงชีวิตในความเป็นจริงนั้น สมาชิกในแต่ละสังคมไม่สามารถ
ดําเนินชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐานที่เน้นหลักการพึ่งตนเองอย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ได้แต่
เพี ย งอย่า งเดี ยวจึ งต้ องนํ า เอาหลั กการดํ า เนินชี วิ ตตามหลั กเศรษฐกิจพอเพีย งแบบก้ า วหน้ า
ที่มุ่งส่งเสริมหลักแห่งการแบ่งปันกัน และร่วมมือกันกับสมาชิกคนอื่น ๆ ในสังคมซึ่งเป็นการอยู่
ร่วมกันในชุมชนอย่างสันติสุข และมีไมตรีต่อกัน
28

แผนเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)
การพัฒนาประเทศในระยะ ๕ ปีของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑
(พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว จําเป็นต้องมีการกําหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อให้การ
พัฒนาประเทศดําเนินไปในทิศทางที่ต้องการ ดังนี้
วิสัยทัศน์
“สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรมและมีภูมคุ้มกันต่อการ
ิ

เปลี่ยนแปลง”
พันธกิจ
๑. สร้างความเป็นธรรม ในการกระจายรายได้ ควบคู่กับการสร้างสังคมที่มุ่งให้คนอยู่ดีกินดี
มีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดภัยจากอาชญากรรม อุบัติเหตุ ยาเสพติดและอบายมุข คนในสังคมอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยและการบริหารจัดการที่ดี
๒. พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพ โดยใช้ความรู้และ
ความคิดริเริ่มของคนไทย ขยายหลักประกันทางสังคมให้ครอบคลุมประชาชนทุกคน สร้างความมันคง
่
ด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งยารักษาโรคที่ใช้สมุนไพรจากทรัพยากรและความหลากหลายทาง
ชีวภาพ พร้อมทังปรับโครงสร้างสาขาการผลิตและการบริโภคของประเทศให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
้
๓. สร้างภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็ง สามารถป้องกันและรองรับผลกระทบและความเสี่ยงจาก
วิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเหตุผล
วัตถุประสงค์
๑. พั ฒนาให้ คนในสัง คมอยู่ร่ ว มกั นอย่ า งสั น ติ ดํา รงชีวิ ต ได้ อย่ า งปกติ สุ ข และสั ง คมมี ก าร
บริหารจัดการที่ดี
๒. พัฒนาคน ชุมชน และสังคมให้มีความพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง
๓. ปรั บ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ให้ เ ติ บ โตอย่ า งมี คุ ณ ภาพ สั ง คมและการเมื อ งมี ค วามมั่ น คง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์ ประเทศมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

เป้าหมายหลัก
๑. สังคมไทยมีความสงบสุข
๒. คนไทยทุกคนมีหลักประกันทางสังคมที่มีคุณภาพที่ทั่วถึง
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี

More Related Content

What's hot

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีKlangpanya
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่jab bph
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (18)

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปีอนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
01 1
01 101 1
01 1
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Viewers also liked

กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...
กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...
กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใสประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใสเทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาลเทศบาลตำบลท่าวังตาล
 

Viewers also liked (17)

แผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปีแผนพัฒนา 3 ปี
แผนพัฒนา 3 ปี
 
แบบ ผ.01 (1)
แบบ ผ.01 (1)แบบ ผ.01 (1)
แบบ ผ.01 (1)
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
สารบัญ แผนยุทธศาสตร์
สารบัญ แผนยุทธศาสตร์สารบัญ แผนยุทธศาสตร์
สารบัญ แผนยุทธศาสตร์
 
แบบ ยท ๐๓
แบบ ยท ๐๓แบบ ยท ๐๓
แบบ ยท ๐๓
 
แบบ ยท 01
แบบ ยท 01แบบ ยท 01
แบบ ยท 01
 
แบบ ยท 02
แบบ ยท 02แบบ ยท 02
แบบ ยท 02
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...
กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...
กำหนดสมัยประชุมสภาเทศบาล สมัยสามัญ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐ และสมัยประชุมสภาเทศบาล สม...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใสประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลเรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
 
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ท่าวังตาล(2558 2560)
 
แบบ ยท.๐๔
แบบ ยท.๐๔แบบ ยท.๐๔
แบบ ยท.๐๔
 
แผนพัฒนาบุคคลากร 3 ปี
แผนพัฒนาบุคคลากร 3 ปีแผนพัฒนาบุคคลากร 3 ปี
แผนพัฒนาบุคคลากร 3 ปี
 
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...
ปก-สารบัญ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต...
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓ ของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลท่าวังตาล
 

Similar to บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี

แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553pentanino
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนประพันธ์ เวารัมย์
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566plan8
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gapi_cavalry
 

Similar to บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี (20)

แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 

More from เทศบาลตำบลท่าวังตาล

ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐
ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐
ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการ
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการการขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการ
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการเทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙เทศบาลตำบลท่าวังตาล
 

More from เทศบาลตำบลท่าวังตาล (20)

ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐
ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐
ให้ใช้เทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๖๐
 
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างจัดจ้างซ่อมแซมรถยนต์
 
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...
สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประกอบการร่างเทศบัญญัติเทศบาลตำบลท่า...
 
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...
ผลการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล ประ...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่องรายชื่อผู้ผ่านการสอบภาคความรู้ความสามาถทั่วไป...
 
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการ
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการการขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการ
การขายทอดตลาดพัสดุ ครุภัณฑ์ชำรุด จำนวน 49 รายการ
 
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้างข...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป...
 
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...
(ร่าง) อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพลักษณะเป็น...
 
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560
เทศบัญญัติฯ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 2560
 
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการพิจารณาออกเทศบัญญัติตำบลท่าวังตาล เรื่อง ก...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาลประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ประมูลจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์(e-Auction) ...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ข้อมูลข่าวสารของเท...
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
 
จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
 
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...
ประกาศเทศบาลตำบลท่าวังตาล เรื่อง ขอรับบริจาควัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง "บ้านท้...
 
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็น พนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตา...
 
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...
รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ แต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานจ้าง เทศบาลตำบลท่าวังตาล...
 
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
การจัดทำรายงานทางการเงินประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙
 

บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี

  • 1. 1 ส่วนที่ ๑ บทนํา ๑. แนวความคิด ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ กําหนดให้การจัดทําแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้อ ง สอดคล้องกับระเบียบว่าด้วยการประสานแผนพัฒนาจังหวัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒. ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี แผนพัฒนาสามปี เป็นการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ โดย มี หลั กคิ ด ที่ ว่ า ภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒนาหนึ่ ง ๆ จะมี แ นวทางการพั ฒนาได้ ม ากกว่ า หนึ่ ง แนวทางและภายใต้การพัฒนาหนึ่งจะมีโครงการ/กิจกรรม ได้มากกว่าหนึ่งโครงการ/กิจกรรมที่ จะต้องมาดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการในแต่ละยุทธศาสตร์การ พั ฒ นา ซึ่ ง จะมี ผ ลต่ อ วั ตถุ ป ระสงค์ เป้ า หมายจุ ด มุ่ ง หมายการพั ฒ นาและวิ สั ย ทั ศ น์ ต่ อ ไปใน อนาคต นอกจากนี้ แผนพั ฒนาสามปี ยั งเป็ นแผนที่ มี ค วามสั ม พั นธ์ กับ การจั ดทํ า งบประมาณ ประจําปี โดยที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นเครื่องมือในการจัดทํางบประมาณ โดยนํา โครงการ/กิ จ กรรมจากแผนพั ฒ นาสามปี ไปจั ด ทํ า งบประมาณ เพื่ อ ให้ ก ระบวนการจั ด ทํ า งบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบและเกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน แผนพัฒนาสามปีมีลักษณะกว้างๆดังต่อไปนี้ เป็นเอกสารที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นเอกสารที่มีแนวทางการพัฒนาและวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน และมีลักษณะเฉพาะเจาะจงที่จะดําเนินการ เป็นเอกสารที่แสดงโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาที่จะดําเนินการในห้วงระยะเวลา สามปี เป็นเอกสารที่แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากับ งบประมาณรายจ่ายประจําปี ๓. วัตถุประสงค์ของการจัดทําแผนพัฒนาสามปี การจัดทําแผนพัฒนาสามปีของเทศบาลตําบลท่าวังตาล มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๓.๑ เพื่อแสดงความสัมพันธ์และสอดคล้องกันระหว่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและ การจัดทํางบประมาณรายจ่ายของเทศบาลตําบลท่าวังตาล ๓.๒ เพื่อเป็นการจัดเตรียมโครงการพัฒนาต่างๆ ให้พร้อมนําไปปฏิบัติได้ทันทีที่ได้รับ งบประมาณ
  • 2. 2 ๔. ขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล หลังจากที่ได้มีการกําหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในแผน ยุทธศาสตร์แล้ว จะต้องมีการแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติโดยการจัดทํา แผนพัฒนาสามปี ต้องมีการกําหนดขั้นตอนการจัดทําแนวทางดังนี้ ๑. การเตรียมการจัดทําแผน ๑.๑ หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปีเข้าพบผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสําคัญและความจําเป็นในการจัดทําแผนพัฒนาสามปี เพื่อให้ ผู้บริหารได้ทราบถึงภารกิจที่จะต้องดําเนินการ ๑.๒ หน่วยงานที่รับผิดชอบประชาสัมพันธ์ให้คณะกรรมพัฒนาเทศบาลท่าวัง ตาล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาลทราบและร่วมกัน กําหนดการออกประชาคมหมู่บ้าน ๒. การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา ๒.๑ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนา จะสรุปยุทธศาสตร์การ พัฒนาและแนวทางการพัฒนาจากยุทธศาสตร์การพัฒนา พร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปัญหา ความต้องการของท้องถิ่นรวมทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น และ ประชาคม ๒.๒ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น จัดการประชุมระหว่างคณะกรรมพัฒนา ท้องถิ่นประชาคมท้องถิ่น และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันพิจารณา คัดเลือก ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สมควรนํามาใช้เป็นแนวทางในการจัดทําแผนพัฒนาสามปี เพื่อเป็น กรอบในการพิจารณาจัดทําโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาสามปี สําหรับการจัดทําแผนสามปีครั้งต่อไป (เมื่อครบกําหนดเวลาหนึ่งปี) ให้เวทีการ ประชุมร่วมพิจารณาทบทวนดูว่า จากยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาที่ได้คัดเลือกและ โครงการ/กิจกรรมที่กําหนดไว้ยังมีความเหมาะสมหรือไม่ซึ่งในขั้นตอนนี้การจัดทําแผนพัฒนาใน ปีต่อไปจะสามารถคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาสามปีก็ได้ รวมทั้งกําหนดโครงการ/กิจกรรมที่ จะเพิ่มเติมหรือตัดทอนลงได้ ๒.๓ เมื่อได้แนวทางการพัฒนาแล้ว เวทีประชาคมร่วมพิจารณาว่ามีโครงการ/ กิจกรรมอะไรบ้างที่ต้องดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายแนวทางการพัฒนาที่ คัดเลือกมาใช้เป็นกรอบในการพัฒนา ๒.๔ โครงการ/กิจกรรมที่พิจารณากําหนดอาจมีเป็นจํานวนมากดังนั้นในขั้นตอน นี้จะต้องมีการดําเนินการดังนี้
  • 3. 3 (๑) พิ จารณาความเกี่ ย วเนื่ อ งระหว่ า งยุ ท ธศาสตร์ หรื อ ระหว่ า งแนวทางการ พัฒนา เช่นใน ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนาการสร้างและ พัฒนาการรวมกลุ่ม เพื่อยกระดับสินค้าและบริการในชุมชน และยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน โครงสร้ า งพื้ น ฐาน แนวทางการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นการคมนาคมขนส่ ง ด้ า น สาธารณูปโภคและด้านสาธารณูปการจะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์ทั้งสองมีความเชื่อมโยงกันในเชิง ส่ ง เสริ ม รายได้ ใ ห้ กั บ ประชาชนโดยการเพิ่ ม ผลผลิ ต ทางการเกษตร ซึ่ ง จะต้ อ งกํ า หนดเวลา ดําเนินงานที่สอดคล้องกัน (๒) ให้พิจารณาโครงการ/กิจกรรม จากแผนชุมชนที่เกินขีดความสามารถในการ ดําเนินการของชุมชนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามา ประกอบการจัดทําแผนพัฒนาสามปี (๓) มีการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ/กิจกรรม เพื่อที่จะบรรจุลงใน แผนพั ฒนาสามปี ได้อ ย่ า งเหมาะสมและนอกจากนั้ นยั งเป็ นการจั ดลํ า ดั บ โครงการไว้ เพื่ อ ทํ า แผนพัฒนาสามปี ในช่วงถัดไปด้วย เนื่องจากในการดําเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ ยุทธศาสตร์การพัฒนา อาจต้องใช้เวลาต่อเนื่องนานกว่าสามปี ดังนั้นเทศบาลตําบลท่าวังตาลจึง จําเป็นต้องพิจารณาแนวทางการจัดทําโครงการ/กิจกรรมที่ต่อเนื่องไประยะยาวด้วย ซึ่งอาจยัง ไม่สามารถระบุไว้ในช่วงสามปีของแผนพัฒนาสามปีได้ (๔) เนื่องจากกิจกรรมที่ต้องดําเนินการมีความหลากหลาย ดังนั้นในขั้นตอนการ พิจารณากําหนดกิจกรรม เทศบาลตําบลท่าวังตาลต้องคํานึงถึงสิ่งที่จะกล่าวต่อไปนี้ ๔. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ๔.๑ เก็บรวบรวมข้อมูล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น ดําเนินการสํารวจและ เก็บรวบรวมข้อมูลที่จําเป็นต่อการจัดทําแผนพัฒนาสามปี ซึ่งนอกจากเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน ทั่วไปแล้วยังต้อง วิเคราะห์ว่ายุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนาที่เลือก ต้องการข้อมูล ประเภทใดเป็นพิเศษ ต้องการข้อมูลของห้ วงเวลาใด และจะเก็บข้อมูลจากแหล่งใด เพื่อเป็ น ข้อมูลที่จะนํามาวิเคราะห์ แนวทางการพัฒนาโครงการ/กิจกรรม ได้อย่างถูกต้อง โดยในการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล จะต้ อ งเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง ข้ อ มู ล ภายในองค์ ก รและข้ อ มู ล ภายนอก เพื่ อ สามารถนํามาวิเคราะห์ SWOT (การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์) ได้
  • 4. 4 ๔.๒ การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ๕ กิจกรรมหลักคือ ๑.การประเมินผลแผนพัฒนาที่ผ่านมา ๒.การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา ๓.การจัดลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา ๔.การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงสามปี โดยมีรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมดังนี้ ๑.การประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล สรุปการ พัฒนาที่ผ่านมาและนําเสนอที่ประชุมซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น ประชาคม ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมินผลการพัฒนาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมาโดยประเมิน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประเมินใน ๒ ลักษณะดังนี้ - การประเมินเชิงปริมาณ เป็นการเปรียบเทียบจํานวนผลงาน/โครงการและงบประมาณ ที่มีอยู่ในแผนพัฒนาประจําปี กับแผนงาน/โครงการและงบประมาณที่ดําเนินการจริงในปีนั้น - การประเมินเชิงคุณภาพ เป็นการอธิบายถึงผลสําเร็จของแต่ละแผนงาน/โครงการที่ ท้องถิ่นดําเนินการไปแล้วว่าตอบสนองต่อปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างไรบ้าง บรรลุ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาตามที่กําหนดไว้หรือไม่ เป็นต้น ๒. การคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา หลั งจากการประเมิ นผลการพั ฒ นาในรอบปี ที่ ผ่ า นมาแล้ ว ให้ ที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาลร่วมกันคัดเลือกยุทธศาสตร์ในการ พัฒนา รวมทั้งสอดคล้องกับปัญหาความต้องการของประชาคม/ชุมชนในห้วงระยะเวลาสามปี กรณีที่เห็นว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาใดที่ยังไม่ได้กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์การ พัฒนาแต่ มี ความจํ า เป็นต้ อ งกํ า หนดขึ้ นใหม่ ก็ อ าจกํ า หนดขึ้ นได้ แต่ ทั้ งนี้ ต้อ งแสดงให้ เห็ นถึ ง เหตุ ผ ลและวั ตถุ ป ระสงค์ ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ จุ ดมุ่ งหมายของการพั ฒนาอย่ า งยั้ งยื น และ วิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล ๓. จัดลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนา จะมีแนวทางการพัฒนาที่หลากหลาย ซึ่งล้วนแต่ มีความจําเป็นในการดําเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้งสิ้นมาก น้อยต่างกันที่ประชุมคณะกรรมสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล ต้อง
  • 5. 5 ร่วมกันจัดเรียงลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนา เพื่อให้มีการเน้นการปฏิบัติในห้วง เวลาสามปี วิธีการจัดลําดับความสําคัญ มีหลายวิธี ตั้งแต่วิธีง่ายๆ คือประชุมตกลงกัน หรือ อาจใช้ วิ ธี ก ารลงคะแนนคั ดเลื อ กโดยใช้ บั ต รลงคะแนน เพื่ อ นํ า มารวมคะแนนและจั ด ลํ า ดั บ วิธีการจัดลําดับความสําคัญที่เป็นวิทยาศาสตร์อาจใช้วิธี Ratting Scale หรือ Strategic Issue Graph หรือวิธีอื่นๆตามความเหมาะสม ๔. การตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนาในห้วงเวลาสามปี หลั ง จากจั ด ลํ า ดั บ แนวทางการพั ฒ นาแล้ ว ที่ ป ระชุ ม ตั ด สิ น ใจว่ า จะนํ า แนว ทางการพัฒนาเหล่านั้นมาดําเนินการ แต่ในการตัดสินในเลือกนั้นควรจะได้วิเคราะห์ถึงความ เป็นไปได้ในทางปฏิบัติเพราะในการจัดลําดับความสําคัญอาจใช้ในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล เป็นหลัก ดังนั้นเพื่อทบทวนและยืนยัน จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์ (SWOT Analysis) อีกครั้ง ๔. การกําหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา ๑. หลังจากได้แนวทางการพัฒนาในช่วงสามปีแล้ว ให้ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา คัดเลือกวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์การพัฒนา มาจัดทําเป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการ พั ฒนาโดยพิ จารณาคั ดเลื อ กวั ตถุ ป ระสงค์ ข องยุ ท ธศาสตร์ การพั ฒนา จากยุ ท ธศาสตร์ การ พัฒนา ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาช่วงสามปี โดยนําวัตถุประสงค์ดังกล่าวมาจัดทํา เป็นวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจกําหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา ตั้งแต่ขั้นตอนการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นแล้ว แต่อาจนํามาปรับให้ชัดเจนและ สอดคล้องกับสถานการณ์ในช่วงสามปี ๒. ในขั้ น ตอนนี้ ที่ ป ระชุ ม จะร่ ว มกั นพิ จารณากํ า หนดโครงการ/กิ จกรรมการ พัฒนาที่จะต้ องดํา เนิ นการตามแนวทางที่ คัดเลือ ก และโดยที่กิจกรรมที่ จะดํา เนิ นการย่อ มมี ความหลากหลาย ซึ่งที่ประชุมจะต้องพิจารณาในประเด็นดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณากิจกรรมที่ต้องดํา เนินการเพื่อ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ข องแนว ทางการพัฒนาดําเนินการตามแนวทางที่คัดเลือก และโดยที่กิจกรรมที่จะดําเนินการย่อมมีความ หลากหลาย ซึ่งที่ประชุมจะต้องพิจารณาในประเด็นดังต่อไปนี้ (๒) พิจารณาจั ดลํ าดั บความสํา คัญของโครงการ/กิ จกรรม ควรพิจารณาทั้ ง ภายใต้แนวทางเดียวกันและระหว่างแนวทางการพัฒนา
  • 6. 6 (๓) พิจารณาถึงความเชื่อมโยงของกิจกรรมทั้งในด้านกระบวนการดําเนินงาน และในด้านของผลการดําเนินการ เพื่อบรรลุกิจกรรมลงในปีต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (๔) พิจารณาคัดเลือกโครงการ/กิจกรรม - จากความจําเป็นเร่งด่วน - ขีดความสามารถทางทรัพยากรของการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ความเชื่อมโยงของกิจกรรม และระยะเวลาดําเนินการ ๕. การจัดทํารายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา คณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก โครงการที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี มาจัดทํารายละเอียดโครงการ ในด้าน เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบและตัวชี้วัดความสําเร็จโดยเน้น การศึ ก ษารายละเอี ย ดของกิ จ กรรมที่ จ ะดํ า เนิ น การในปี แ รกของแผนพั ฒ นาสามปี เพื่ อ ให้ สามารถนําไปจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี ได้ต่อไป ๖. การจัดทําร่างแผนพัฒนาสามปี ๑. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น จัดร่างแผนพัฒนา สามปีโดยมีเค้าโครงประกอบด้วย ๗ ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ ๑ บทนํา ส่วนที่ ๒ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนที่ ๓ ผลการพัฒนาในปีที่ผ่านมา ส่วนที่ ๔ สรุปยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ส่วนที่ ๕ ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ส่วนที่ ๖ บัญชีโครงการ/กิจกรรม ส่วนที่ ๗ การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาประจําปีไปปฏิบัติ ๒. คณะกรรมการสนั บ สนุ นการจั ดทํ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น จั ด เวที ป ระชาคม ซึ่ งประกอบด้ ว ยคณะกรรมการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ประชาคมท้ อ งถิ่ นและหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ นํ า เสนอร่ า งแผนพั ฒนาสามปี แ ละรั บ ฟั งความคิ ดเห็ น ข้ อ เสนอแนะ แล้ ว นํ า ไปปรั บ ปรุ ง แผนพัฒนาสามปีให้สมบูรณ์ต่อไป ๓. คณะกรรมการสนั บ สนุ นการจั ดทํ า แผนพัฒนาท้ อ งถิ่ นนํ าร่ า งแผนพั ฒนา สามปีที่ปรับปรุงแล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา
  • 7. 7 ๗. ประโยชน์ของการจัดทําแผนพัฒนาเทศบาลตําบลท่าวังตาล การวางแผนพัฒนาสามปีของเทศบาลตําบลท่าวังตาล เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ เทศบาลตําบลท่าวังตาลได้พิจารณาอย่างรอบคอบให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการ ดําเนินงานต่างๆ ที่อาจมีความเชื่ อมโยงและส่งผลทั้งในเชิงสนับสนุ นและเป็นอุ ปสรรค์ต่อกั น เพื่อให้เทศบาลท่าวังตาล นํามาตัดสินใจกําหนดแนวทางการดําเนินงาน และใช้ทรัพยากรการ บริหารเทศบาลตําบลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังต่อไปนี้ ๑. บรรลุจุดหมาย (Attention of Objectives) การวางแผนทุกครั้งจะมีจุดหมาย ปลายทางเพื่อให้องค์การบรรลุจุดหมายที่กําหนดให้การกําหนดจุดมุ่งหมาย จึงเป็นงานขั้นแรก ของการวางแผน ถ้าจุดมุ่งหมายมีความชัดเจนก็ช่วยให้การบริหารแผนมีทิศทางมุ่งตรงไปยัง จุดมุ่งหมายที่กําหนดได้ได้อย่างสะดวกและเกิดผลดี ๒. ประหยั ด (Economical Operation) การวางแผนเกี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ สติปัญญาเพื่อคิดวิธีการให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิภาพ เป็นการให้งานในฝ่ายต่างๆ มีการ ประสานงานกันดีกิจกรรมที่ดําเนินมีความต่อเนื่องกัน ก่อให้เกิดความเป็นระเบียบในงานต่างๆ ที่ ทําซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่านับว่าเป็นการลดต้นทุนที่ดี ก่อให้เกิดการประหยัดแก่องค์กร ๓. ลดความไม่แน่นอน (Reduction of Uncertainty) การวางแผนช่วยลดความ ไม่แน่นอนในอนาคตลงเพราะการวางแผน เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์เหตุการณ์ใน อนาคตการวางแผนที่มีประสิทธิภาพเป็นผลมาจากการวิเคราะห์พื้นฐานของข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ขึ้นแล้ว ทําการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตและได้หาแนวทางพิจารณาป้องกันเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไว้แล้ว ๔. เป็นเกณฑ์ในการควบคุม (Basic of Control) การวางแผนช่วยให้ผู้บริหารได้ กําหนดหน้าที่ควบคุมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการวางแผนและการควบคุมเป็นสิ่งที่แยกกันไม่ออกเป็น กิจกรรมที่ดําเนินการคู่กันอาศัยซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ถ้าไม่มีการวางแผนก็ไม่สามารถมีการ ควบคุมกล่าวได้ว่าแผนกําหนดจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการปฏิบัติงานในหน้าที่ควบคุม ๕. ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม และการสร้างสรรค์ (Encourages innovation and Creativity) การวางแผนเป็นพื้นฐานด้านการตัดสินใจ และเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ (นวัตกรรม) และความคิดสร้างสรรค์ ทั้งนี้เนื่องจากขณะที่ฝ่ายจัดการมีการวางแผนกันนั้นจะ เป็นการระดมปัญญาของคณะผู้ทํางานด้านการวางแผนทําให้เกิดความคิดใหม่ๆ และความคิด สร้างสรรค์นํามาใช้ประโยชน์แก่องค์การ และยังเป็นการสร้างทัศนคติการมองอนาคตระหว่าง คณะผู้บริหาร
  • 8. 8 ๖. พัฒนาแรงจูงใจ (Improve Motivation) ระบบการวางแผนที่ดีจะเป็นการ วางแผนที่ดี จะเป็นการบ่งชี้ให้เห็นถึงความร่วมแรงร่วมใจในการทํางานของผู้บริหาร และยังเป็น การสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นในกลุ่มคนงานด้วย เพราะเขารู้อย่างชัดเจนว่าองค์กรคาดหวังอะไร จากเขาบ้ า ง นอกจากนั้ น การวางแผนยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ฝึ ก และพั ฒ นาแรงจู ง ใจที่ ดี สํ า หรั บ ผู้บริหารในอนาคต ๗. พัฒนาการแข่งขัน (Improve Competitive Strength) การวางแผนที่มี ประสิทธิภาพ ทําให้องค์กรมีการแข่งขันกันมากกว่า องค์กรที่ไม่มีการวางแผนหรือมีการวางแผน ที่ ข าดประสิ ท ธิ ภ าพ ทั้ ง นี้ เ พราะการวางแผนจะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การขยายขอบข่ า ยการทํ า งาน เปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน ปรับปรุงสิ่งต่างๆ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ๘. ทําให้เกิดการประสานงานที่ดี (Better Coordination) การวางแผนได้สร้าง ความมั่นใจในเรื่องเอกภาพที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ทําให้กิจกรรมต่างๆ ที่จัดวางไว้มุ่ง ไปที่จุดมุ่งหมายเดียวกัน มีการจัดประสานงานในฝ่ายต่างๆ ขององค์การเพื่อหลีกเลี่ยงความ ซ้ําซ้อนในงานแต่ละฝ่ายขององค์กร
  • 9. 9 ส่วนที่ ๒ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตําบลท่าวังตาล ๒.๑ สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่น ที่ตั้งและอาณาเขต ที่ตั้ง ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอําเภอสารภี ระยะห่างจากที่ตั้งของที่ว่าการอําเภอสารภี ประมาณ ๗ กิโลเมตร มีสภาพการคมนาคมโดยทั่วไป ระหว่างที่ว่าการอําเภอสารภีและตัวจังหวัดเชียงใหม่อยู่ในระดับดี อาณาเขต ตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตติดต่อโดยรอบดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตําบลหนองหอย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลดอนแก้ว อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลหนองผึ้ง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลป่าแดด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะพื้นที่ โดยทั่วไปเป็นที่ราบริมฝั่งแม่น้ําปิงต่อเนื่องกับตําบลป่าแดดมีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ ๑๓.๖๓ ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของราษฎร และพื้นที่ทางการเกษตร มี ความสูงเหนือระดับน้ําทะเล ประมาณ ๓๕๐ เมตร แหล่งน้ํา ๑. แหล่งน้ําธรรมชาติที่สําคัญที่ใช้ทางการเกษตรและบริโภค - ลําน้ําปิง สภาพน้ําดีใช้เพื่อการเกษตร ๒. แหล่งน้ําที่สร้างขึ้น ได้แก่ - ฝาย จํานวน ๑ แห่ง - บ่อบาดาล จํานวน ๓๘๑ แห่ง - บ่อน้ําตื้น จํานวน ๒๓๐ บ่อ - ประปาภูมิภาค จํานวน ๕ แห่ง(หมู่ที่ ๑,หมู่ที่ ๒,หมู่ที่ ๓,หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๑๑) - ประปาหมู่บ้าน จํานวน ๑๐ แห่ง(หมู่ที่ ๒ , หมู่ที่ ๓ ,หมู่ที่ ๕, หมู่ที่ ๖, หมู่ที่ ๗, หมู่ที่ ๘ ,หมู่ที่ ๙ ,หมู่ที่ ๑๐,หมู่ที่ ๑๒ และหมู่ที่ ๑๓) ตําบลท่าวังตาล ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ําปิง มีถนนวงแหวนเส้นกลางและเส้นนอก ผ่านมีสภาพการคมนาคมโดยทั่วไปอยู่ในสภาพดีสภาพการคมนาคมระหว่างหมู่บ้านต่างๆ ของ ตําบลส่วนใหญ่เป็นถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีตและถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
  • 10. 10 ภัยธรรมชาติ ตําบลท่าวังตาล มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติที่สําคัญและเกิดขึ้นอยู่เสมอ ดังนี้คือ ภัยแล้ง ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนเมษายน – มิถุนายน วาตภัย ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนมีนาคม – เมษายน อุทกภัย ห้วงระยะเวลาที่เกิด คือ เดือนมิถุนายน – กันยายน ๒.๒ ข้อมูลด้านสังคม จํานวนประชากรและครัวเรือน ประชากรของตําบลท่าวังตาล เป็นคนไทยพื้นเมือง และคนไทยย้ายถิ่นฐานมาอาศัยอยู่ เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่เป็นประกอบอาชีพรับจ้างทํางานในตัวเมืองเชียงใหม่ ประชากรและครัวเรือน ตําบลท่าวังตาล มีประชากรทั้งหมด จํานวน ๑๐,๐๓๕ คน แยกเป็น ชาย ๔,๗๐๑ คน หญิง ๕,๓๓๔ คน ครัวเรือนจํานวน ๔,๔๑๘ ครัวเรือน จํานวนประชากร เขต ๑ จํานวน ๕,๒๑๔ คน เขต ๒ จํานวน ๔,๘๒๑ คน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จํานวน ประชากร ประชากรหญิง รวม ครัวเรือน(หลัง) ชาย (คน) (คน) ๑ บ้านเจดีย์เหลี่ยม ๒๒๘ ๒๖๕ ๓๐๔ ๕๖๙ ๒ บ้านป่าเปอะ ๔๓๗ ๓๙๑ ๔๕๘ ๘๔๙ ๓ บ้านกลาง ๖๐๙ ๖๔๓ ๗๓๔ ๑,๓๗๗ ๔ บ้านโป่ง ๔๕๘ ๔๙๒ ๕๙๕ ๑,๐๘๗ ๕ บ้านป่างิ้ว ๓๘๔ ๓๗๗ ๓๘๒ ๗๕๙ ๖ บ้านป่าเส้า ๒๔๔ ๒๗๓ ๓๒๓ ๕๙๖ ๗ บ้านบวกหัวช้าง ๓๒๒ ๓๗๘ ๓๙๐ ๗๖๘ ๘ บ้านบวกครกเหนือ ๓๖๖ ๓๔๑ ๓๗๐ ๗๑๑ ๙ บ้านบวกครกใต้ ๓๑๐ ๓๓๑ ๓๖๙ ๗๐๐ ๑๐ บ้านสันป่ากว๋าว ๑๓๒ ๑๖๗ ๒๑๑ ๓๗๘ ๑๑ บ้านช้างค้ํา ๕๒๑ ๕๐๔ ๕๕๑ ๑,๐๕๕ ๑๒ บ้านหางแคว ๒๐๐ ๒๑๙ ๒๘๕ ๕๐๔ ๑๓ บ้านป่ากล้วย ๒๓๗ ๓๒๐ ๓๖๒ ๖๘๒ รวม ๔,๔๑๘ ๔,๗๐๑ ๕,๓๓๔ ๑๐,๐๓๕ ที่มา งานทะเบียนราษฎร อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ณ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖
  • 11. 11 ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน การตั้งบ้านเรือนเป็นชุมชนใหญ่แบบถาวรไม่เคลื่อนย้ายถิ่นฐาน มีประชาชนที่อยู่เดิมและ มาตั้งถิ่นฐานใหม่ เพื่อมาทํางานในเมืองเชียงใหม่ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม อิทธิพลทางความคิด (ค่านิยม) ตํ า บลท่ า วั ง ตาล มี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี ที่ สํ า คั ญ เหมื อ นกั บ สั ง คมไทยพื้ น เมื อ ง โดยทั่วไป เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง และวันสําคัญทางศาสนาต่างๆเป็นต้น สถานที่ทางศาสนา สิ่งยึดเหนี่ยว มี ๑ วัด จํานวน ๘ แห่ง ได้แก่ ๑. วัดเจดีย์เหลี่ยม หมู่ที่ ๑ ๒. วัดป่าเปอะ หมู่ที่ ๒ ๓. วัดบ้านกลาง หมู่ที่ ๓ ๔. วัดป่างิ้ว หมู่ที่ ๕ ๕. วัดบวกครกเหนือ หมู่ที่ ๘ ๖. วัดบวกครกใต้ หมู่ที่ ๙ ๗. วัดช้างค้ํา หมู่ที่ ๑๑ ๘. วัดป่ากล้วย หมู่ที่ ๑๓ มีโบสถ์คริสต์ จํานวน ๒ แห่ง ๑. โบสถ์คริสจักรสืบนทีธรรม หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย ๒. โบสถ์คริสจักรพระสิริล้านนา หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย
  • 12. 12 การศึกษา การศึกษาในตําบลท่าวังตาล จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับ ก่อนประถมศึกษาถึง มัธยมศึกษา โดยมีสถานศึกษาจําแนกตามสังกัด ดังนี้ ที่ ชื่อสถานศึกษา ที่ตั้ง ๑ โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๔ - โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ หมู่ ๘ ๒ กรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หมู่ ๘ ๓ เทศบาลตําบลท่าวังตาล - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตําบลท่าวังตาล หมู่ ๕ ๔ เอกชน - โรงเรียนสืบนทีธรรม หมู่ ๑๓ - โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน หมู่ ๑๐ ที่มาจาก โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน ข้อมูล ณ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕๖ ข้อมูลการศึกษา ข้อมูลจํานวนนักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตําบลท่าวังตาล ชั้น จํานวนนักเรียน ชาย (คน) หญิง (คน) รวม ระดับอายุ ๒ ขวบ ๑๑ ๑๐ ๒๑ ระดับอายุ ๓ ขวบ ห้อง ๘ ๙ ๑๗ ๑ ระดับอายุ ๓ ขวบ ห้อง ๒ ๙ ๘ ๑๗ รวม ๒๘ ๒๗ ๕๕ ที่มา กองการศึกษาฯ เทศบาลตําบลท่าวังตาลข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖
  • 13. 13 ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ ชั้น จํานวนนักเรียน ชาย (คน) หญิง (คน) อนุบาล ๑ ๘ ๗ อนุบาล ๒ ๑๔ ๕ รวมอนุบาล ๒๒ ๑๒ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ๑๓ ๙ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๑๐ ๑๑ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๗ ๑๑ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๙ ๑๓ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑๐ ๑๒ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๙ ๑๕ รวมประถมศึกษา ๕๘ ๗๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๖ ๑๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๘ ๑๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๙ ๘ รวมมัธยม ๒๓ ๓๕ รวมนักเรียนทั้งหมด ๑๐๓ ๑๑๘ ที่มา โรงเรียนวัดบวกครกเหนือ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ รวม ๑๕ ๑๙ ๓๔ ๒๒ ๒๑ ๑๘ ๒๒ ๒๒ ๒๔ ๑๒๙ ๒๒ ๑๙ ๑๗ ๕๘ ๒๒๑
  • 14. 14 ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนสืบนทีธรรม ชั้น อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ รวมอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวมประถมศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ รวมมัธยม รวมนักเรียนทั้งหมด ชาย (คน) ๒๑ ๔๘ ๖๙ ๒๙ ๒๓ `๓๙ ๑๗ ๒๐ ๒๗ ๑๕๕ ๒๓ ๒๘ ๒๓ ๗๔ ๒๙๘ จํานวนนักเรียน หญิง (คน) ๒๓ ๖๘ ๙๑ ๒๔ ๒๐ ๒๓ `๓๒ ๓๔ ๒๗ ๑๖๐ ๒๓ ๒๐ ๑๔ ๕๗ ๓๐๘ ที่มา โรงเรียนบวกครกเหนือข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ รวม ๔๔ ๑๑๖ ๑๖๐ ๕๓ ๔๓ ๖๒ ๔๙ ๕๔ ๕๔ ๓๑๕ ๔๖ ๔๘ ๓๗ ๑๓๑ ๖๐๖
  • 15. 15 ข้อมูลจํานวนนักเรียน โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมัน ชั้น อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ รวมอนุบาล เกรด ๑ เกรด ๒ เกรด ๓ เกรด ๔ เกรด ๕ เกรด ๖ รวมระดับเทียบเท่า ประถมศึกษา เกรด ๗ เกรด ๘ เกรด ๙ เกรด ๑๐ เกรด ๑๑ รวมระดับเทียบเท่า มัธยม รวมนักเรียนทั้งหมด ชาย (คน) ๓ ๑๔ ๑๗ ๓ ๘ ๘ ๕ ๒ ๕ ๓๑ จํานวนนักเรียน หญิง (คน) ๒ ๑๑ ๑๓ ๕ ๓ ๙ ๕ ๔ ๒ ๒๘ รวม ๕ ๒๕ ๓๐ ๘ ๑๑ ๑๗ ๑๐ ๖ ๗ ๕๙ ๗ ๖ ๒ ๓ ๑๘ ๕ ๓ ๘ ๗ ๒ ๒๕ ๑๒ ๙ ๑๐ ๑๐ ๒ ๔๑ ๖๖ ๖๖ ๑๓๒ ที่มา โรงเรียนนานาชาติไทย-เยอรมันข้อมูล ณ วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๖
  • 16. 16 ผู้นําชุมชน ผู้นําชุมชนที่ประชาชนให้ความนับถือ มีลักษณะเช่นเดียวกับหมู่บ้าน ตําบลโดยทั่วไป เช่น กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาเทศบาล ซึ่งเป็นผู้นําที่มาจากการเลือกตั้ง ประธานกลุ่ม สตรีแม่บ้าน ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน ประธานผู้สูงอายุ ประธานประชาคม ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี ๗๓,๐๑๕.๐๐บาท รายได้ต่อคนต่อปี เรียงลําดับจากน้อยไปมาก ดังนี้ ลําดับที่ หมู่บ้าน รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ๑ หมู่ที่ ๑๑ บ้านช้างค้ํา ๖๑,๖๐๓ บาท ๒ หมู่ที่ ๓ บ้านกลาง ๖๖,๓๔๖ บาท ๓ หมู่ที่ ๑๐ บ้านสันป่ากว๋าว ๖๘,๑๘๑ บาท ๔ หมู่ที่ ๖ บ้านป่าเส้า ๖๙,๑๑๗ บาท ๕ หมู่ที่ ๘ บ้านบวกครกเหนือ ๖๙,๘๑๔ บาท ๖ หมู่ที่ ๙ บ้านบวกครกใต้ ๗๐,๖๑๐ บาท ๗ หมู่ที่ ๕ บ้านป่างิ้ว ๗๓,๐๑๕ บาท ๘ หมู่ที่ ๑๒ บ้านหางแคว ๗๔,๓๐๗ บาท ๙ หมู่ที่ ๗ บ้านบวกหัวช้าง ๗๔,๔๘๕ บาท ๑๐ หมู่ที่ ๑๓ บ้านป่ากล้วย ๗๔,๘๒๕ บาท ๑๑ หมู่ที่ ๑ บ้านโป่ง ๘๐,๖๗๙ บาท ๑๒ หมู่ที่ ๑ บ้านเจดีย์เหลี่ยม ๘๓,๗๐๖ บาท ๑๓ หมู่ที่ ๒ บ้านป่าเปอะ ๑๐๐,๖๗๑ บาท ข้อมูลจาก จปฐ. ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ประกอบอาชีพ ประชากรของตําบลท่าวังตาล จําแนกตามอาชีพได้ดังนี้ ไม่มีอาชีพ จํานวน ๖๒๒ คน กําลังศึกษา จํานวน ๑,๓๖๘ คน ทํานา จํานวน ๗ คน ทําไร่ จํานวน ๓ คน ทําสวน จํานวน ๑๔๕ คน
  • 17. 17 ประมง จํานวน ๑ คน รับราชการ จํานวน ๔๐๒ คน พนักงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน ๕๘ คน พนักงานบริษัท จํานวน ๒๐๒ คน รับจ้างทั่วไป จํานวน ๓,๑๖๗ คน ค้าขาย จํานวน ๘๐๓ คน ธุรกิจส่วนตัว จํานวน ๒๓๘ คน อื่น ๆ จํานวน ๒๙๖ คน (ข้อมูล จปฐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖) แหล่งดูงาน เทศบาลตําบลท่าวังตาล ๓๐ คณะต่อปี สถานีอนามัย ประมาณ ๔-๕ คณะต่อปี นวดแผนไทย กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสวัสดิการชุมชน ฝายท่าวังตาล สถานีวิทยุชุมชน FM ๑๐๔ MHz. ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร การท่องเที่ยว ในตําบลท่าวังตาล มีแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานและศาสนสถานดังนี้ แหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานได้แก่ ๑. เวียงกุมกาม นครโบราณใต้พิภพ สถานที่ท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัดเชียงใหม่ได้มี การซึ่งขุดค้นพบโดยสํานักงานโบราณคดี ภาค ที่ ๘ กรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้แก่ ๑. วัดกานโถม (ช้างค้ํา) ๒. วัดปู่เปี้ย ๓. วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คํา) ๔. วัดอีก้าง (วัดอีค่าง) ๕. วัดธาตุขาว ๖. วัดกู่ป้าด้อม ๗. วัดพญามังราย ๘. วัดหนานช้าง ๙. วัดพระเจ้าองค์ดํา ๑๐. วัดหัวหนอง ๑๑. วัดน้อย ๑๒. วัดไม้ซ้ง ๑๓. วัดกู่ขาว ๑๔. วัดโบสถ์ ๑๕. วัดกู่อ้ายหลาน ๑๖. วัดกู่อ้ายสี
  • 18. 18 ๑๗. วัดกู่มะเกลือ ๑.๘ วัดกู่จ๊อกป็อก ๑๙. วัดกู่ทีปาราม ๒๐. วัดกุมกาม หมายเลข ๑ ๒๑. วัดกุมกาม หมายเลข ๒ ๒๒. วัดพันเลา ๒๓. วัดกู่อ้ายจันทร์ ๒๔. วัดกู่ริดไม้ ๒๕. วัดบ่อน้ําทิพย์ ๒๖. วัดศรีบุญเรือง ๒๗. วัดเสาหิน ฯลฯ แหล่งที่ท่องเที่ยวศาสนสถาน ๑. วัดป่าเปอะ หมู่ที่ ๒ มีพระสังฆะจาย ๒. วัดบ้านกลาง หมู่ที่ ๓ มีพระบรมสารีริกธาตุ ๓. วัดบวกครกเหนือ หมู่ที่ ๘ มีพระเจ้าทันใจ ๔. วัดบวกครกใต้ หมู่ที่ ๙ มีพระสีวลี ๕. วัดป่างิ้ว หมู่ที่ ๕ มีพระนอนจีจรล้านเหรียญ พระเจ้าทันใจ ๖. วัดป่ากล้วย หมู่ที่ ๑๓ มี พระพุทธบาทจําลอง น้ําบ่อทิพย์ ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านสาธารณสุข ในตําบลท่าวังตาล มีสถานบริการด้านสาธารณสุขหลายหน่วยงาน มีโรงพยาบาล เอกชน ๑ แห่ง มีสถานบริการด้านการส่งเสริมพัฒนา และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายของ ประชาชน มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตําบล บ้านบวกครกเหนือ ๑ แห่ง ศูนย์แพทย์ ชุมชน ๑ แห่ง ให้การดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างครอบคลุม รวมทั้งมีคลินิกเอกชน จํานวน ๓ แห่ง และสถานบริการแพทย์แผนไทย ทําให้ประชาชนตําบลท่าวังตาล มีโอกาส เข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข ส่งผลถึงสภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงของประชาชน ตารางแสดงการบริหารการแพทย์และอนามัยแก่ประชาชนตําบลท่าวังตาล ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ สถานบริการด้านการแพทย์และอนามัย โรงพยาบาลเอกชน - โรงพยาบาลแมคเคน (บางส่วนอยู่ในตําบลป่าแดด) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตําบล บ้านบวกครกเหนือ คลินิกหมอชายชาญ คลินิกหมอพิพิธ คลินิกหมอสุทธิพงษ์ ที่ตั้ง หมู่ ๑๓ หมู่ ๘ หมู่ ๒ หมู่ ๔ หมู่ ๑๓
  • 19. 19 ในตําบลท่าวังตาลมีสถานบริการ ๑ แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน มี แพทย์ที่ให้บริการประชาชน จํานวน ๑ คน มีแพทย์ออกมาปฏิบัติงานตรวจรักษา สัปดาห์ละ ๑ วัน (ทุกวันพุธช่วงเช้า) มีพยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการประชาชนทุกวัน ทําให้ประชาชนตําบลท่าวังตาลได้รับความสะดวกรวดเร็วในการรับบริการด้านสาธารณสุข ผู้สูงอายุ ในปี ๒๕๕๖ ตํ า บลท่ า วั ง ตาลมี ผู้ สู ง อายุ ที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่ ๑,๔๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๓๐ ของประชากรในตําบลท่าวังตาล ผู้สูงอายุที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเบี้ยยังชีพจํานวน ๑,๒๐๐ คน กลุ่มมวลชน ตําบลท่าวังตาลมีการรวมกลุ่มของมวลชน ที่สําคัญดังนี้ ๑. เครือข่ายเยาวชนตําบล จํานวน ๒. กลุ่มผู้ติดเชื้อ จํานวน ๓. ผู้สูงอายุ จํานวน ๔. ผู้พิการ จํานวน ๕. ชมรม อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จํานวน ๖. ตํารวจชุมชน จํานวน ๗. ประชาคม จํานวน ๘. กลุ่มแม่บ้าน จํานวน ๙. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จํานวน ๑๐. อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จํานวน ๑๑. หมออาสาสารภี จํานวน ๑๒. อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) จํานวน ๖๐ ปี ขึ้ น ไป จํ า นวน ทั้งนี้ตําบลท่าวังตาลมี ๕๐ ๓๐ ๑,๔๓๕ ๒๑๐ ๑๔๒ ๒๕ ๕๒ ๒๖๐ คน คน คน คน คน คน คน คน ๑๓ ๑๑๗ ๓๓ ๕๒ คน คน คน คน กีฬา และนันทนาการ จากข้อมูลพื้นฐานด้านกีฬาของตําบลท่าวังตาล พบว่าตําบลท่าววังตาลยังไม่มีศูนย์ กีฬาประจําตําบล ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เส้นทางคมนาคม ตําบลท่าวังตาลมีถนนวงแหวนเส้นกลางและเส้นนอกตัดผ่านอยู่ห่างจากที่ว่าการ อําเภอสารภีประมาณ ๗ กิโลเมตร อยู่ห่างจากเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ประมาณ ๓ กิโลเมตร
  • 20. 20 สภาพการคมนาคมโดยทั่วไปอยู่ในสภาพดี สภาพการคมนาคม ระหว่างหมู่บ้านต่าง ๆ ของ ตําบลส่วนใหญ่เป็นถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีต และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ประปา การประปาของตําบลท่าวังตาล - การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค จํ า นวน ๕ แห่ ง ในเขต หมู่ ที่ ๑ , หมู่ ที่ ๒ , หมู่ ที่ ๓ หมู่ที่ ๔ , หมู่ที่ ๑๑ , หมู่ ๖ , หมู่ ๗ และหมู่ ๘ - ประปาหมู่บ้านจํานวน ๑๐ แห่ง หมู่ที่ ๒ , หมู่ที่ ๓ , หมู่ที่ ๕ , หมู่ที่ ๖ หมู่ที่ ๗ , หมู่ที่ ๘ , หมู่ที่ ๙ , หมู่ที่ ๑๐ , หมู่ที่ ๑๒ และหมู่ที่ ๑๓ ไฟฟ้า มีไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้าน มีไฟฟ้าใช้ ๑๐๐ % จํานวน ๔,๔๑๘ ครัวเรือน ทรัพยากรน้ํา แหล่งน้ํา แหล่งน้ําธรรมชาติที่สําคัญที่ใช้ทางการเกษตร และบริโภค - แม่น้ําปิง สภาพน้ําดี ใช้เพื่อการเกษตร ด้านการเมืองและการบริหาร ผลเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓ มีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาลจํานวน ๕,๗๘๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๗๘ ของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด ซึ่งถือได้ว่ามีสัดส่วนปานกลาง ในการเลื อกตั้ งครั้ งนี้มีบั ตรเสียจํ านวน ๓๐๑ ใบ คิดเป็นร้อ ยละ ๕.๒๐ และบั ตรไม่ประสงค์ ลงคะแนนจํานวน ๒๒๑ ใบ คิดเป็นร้อยละ ๓.๘๒ ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตําบลท่าวังตาล อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓ มีประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง เขต ๑ มีผู้มาใช้สิทธิ์ จํานวน ๒,๘๙๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๔.๙๔ บัตรเสีย ๑๒๓ คิดเป็นร้อยละ ๔.๒๕ ไม่ลงคะแนน ๑๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๔.๕๐ เขต ๒ มีผู้มาใช้สิทธิ จํานวน ๒,๘๙๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๗๐ คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๗๐ บัตรเสีย ๑๑๕ คิดเป็นร้อยละ ๓.๙๗ ไม่ลงคะแนน ๙๖ คิดเป็นร้อยละ ๓.๓๑
  • 21. 21 แบบสรุปผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกเทศบาลตําบลท่าวังตาล วันเลือกตั้ง วัน ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓ เขต จํานวนผู้ การใช้สิทธิเลือกตั้ง เลือกตั้ง มีสิทธิ ผู้มาใช้สิทธิ บัตรเสีย บัตรไม่ประสงค์ ที่ เลือกตั้ง ลงคะแนน จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ ๑ ๓,๘๕๘ ๒,๘๘๑ ๗๔.๙๔ ๑๒๓ ๔.๒๕ ๑๓๐ ๔.๕๐ ๒ ๓,๖๘๐ ๒,๘๙๖ ๗๘.๗๐ ๑๑๕ ๓.๙๗ ๙๖ ๓.๓๑ รวม ๗,๕๓๘ ๕,๗๗๗ ๒๓๘ ๒๒๖ แบบสรุปผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล วันเลือกตั้ง วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๓ เขต จํานวนผู้ การใช้สิทธิเลือกตั้ง เลือกตั้ง มีสิทธิ ผู้มาใช้สิทธิ บัตรเสีย บัตรไม่ประสงค์ เลือกตั้ง ลงคะแนน จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ ๑,๒ ๕.๒๐ ๒๒๑ ๓๘๒ ๗,๕๓๘ ๕,๗๘๘ ๗๖.๗๘ ๓๐๑ ๕.๒๐ ๒๒๑ ๓๘๒ รวม ๗,๕๓๘ ๕,๗๘๘ ๗๖.๗๘ ๓๐๑ ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตําบลท่าวังตาล แบ่งออกเป็น ๑. ฝ่ายการเมือง มีจํานวนบุคลากรทั้งสิ้น ๑๗ คน ประกอบด้วย - นายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล จํานวน - รองนายกเทศมนตรีตําบลท่าวังตาล จํานวน - เลขานุการนายกเทศมนตรี จํานวน - ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี จํานวน - สมาชิกสภาเทศบาลตําบลท่าวังตาล จํานวน ๒. ฝ่ า ยข้ า ราชการประจํ า แบ่ ง การบริ ห ารออกเป็ น ๑ สํ า นั ก ๔ บุคลากรทั้งหมด จํานวน ๕๕ คน ดังต่อไปนี้ ปลัดเทศบาล จํานวน ๑ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน จํานวน ๑ ๑ คน ๒ คน ๑ คน ๑ คน ๑๒ คน กอง มี จํ า นวน คน คน
  • 22. 22 ๒.๑ สํานักงานปลัดฯ มีบุคคลทั้งสิ้น จํานวน ๒๕ ๒.๑.๑ พนักงานเทศบาล จํานวน ๑๐ ๒.๑.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน ๕ ๒.๑.๓ พนักงานจ้างทั่วไป จํานวน ๑๐ ๒.๒ กองคลัง มีบุคลากรทั้งสิ้น จํานวน ๗ ๒.๒.๑ พนักงานเทศบาล จํานวน ๔ ๒.๒.๒ ลูกจ้างประจํา จํานวน ๑ ๒.๒.๓ พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน ๑ ๒.๒.๔ พนักงานจ้างทั่วไป จํานวน ๑ ๒.๓ กองช่าง มีบุคลากรทั้งสิ้น จํานวน ๘ ๒.๓.๑ พนักงานเทศบาล จํานวน ๔ ๒.๓.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน ๒ ๒.๓.๓ พนักงานจ้างทั่วไป จํานวน ๒ ๒.๔ กองการศึกษา มีบุคลากรทั้งสิ้นจํานวน ๘ คนแยกเป็น ๒.๔.๑ พนักงานเทศบาล จํานวน ๓ ๒.๔.๒ พนักงานจ้างตามภารกิจ จํานวน ๔ ๒.๔.๓ พนักงานจ้างทั่วไป จํานวน ๑ ๒.๕ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีบุคลากรทั้งสิ้น จํานวน ๕ ๒.๕.๑ พนักงานเทศบาล จํานวน ๓ ๒.๕.๒ พนักงานจ้างทั่วไป จํานวน ๒ ข้อมูล ณ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๖ คน แยกเป็น คน คน คน คน แยกเป็น คน คน คน คน คน แยกเป็น คน คน คน คน คน คน คน แยกเป็น คน คน
  • 23. 23 ส่วนที่ ๓ สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในระยะที่ผ่านมา ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนา ๓ ปี ๑. จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนา ๓ ปี (๒๕๕๓ – ๒๕๕๕) ยุทธศาสตร์ ปีที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓ จํานวน โครงการ ๑. ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน ๒. ด้านเศรษฐกิจ ตามแนวทาง เศรษฐกิจ พอเพียง ๓. ด้านการ บริหาร ทรัพยากรธรรม ชาติและ สิ่งแวดล้อม ๔. ด้านการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญา ั ท้องถิ่น ๕. ด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิต ๖. ด้านการจัด ระเบียบชุมชน สังคมและการ รักษาความสงบ เรียบร้อย ๗. ด้านการ พัฒนาการ บริหารจัดการ บ้านเมืองทีดี ่ รวม ๗ งบประมาณ ๑,๑๒๓,๒๗๖ ปีที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ จํานวน โครงการ ๑๖ งบประมาณ ๓,๒๐๒,๕๐๐ ปีที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๕ จํานวน โครงการ ๑๑ งบประมาณ ๒,๙๕๗,๒๐๐ รวม จํานวน โครงการ งบประมาณ ๓๔ ๑ ๑๔๐,๗๒๘ ๓ ๑๖๑,๕๐๐๐ ๔ ๑๓๐,๐๐๐ ๑๑ ๗,๒๘๒,๙๗๖ ๔๓๒,๒๒๘ ๔ ๙๔๒,๘๖๒ ๒ ๒,๔๙๓,๖๕๕ ๓ ๒,๖๐๐,๐๐๐ ๙ ๖,๘๐๖,๐๒๖ ๑๐ ๙๔๒,๘๖๒ ๑๓ ๘๗๖,๗๖๐ ๗ ๑,๒๒๐,๐๐๐ ๓๐ ๓,๐๔๑,๖๒๒ ๑๙ ๑,๕๔๒,๑๒๗ ๑๙ ๑,๗๖๐,๖๗๗ ๒๖ ๒,๐๗๒,๐๐๐ ๖๔ ๕,๔๐๔,๙๖๔ ๒ ๑๒๙,๑๗๘ ๔ ๒๑๔,๑๑๘ ๙ ๕๕๐,๐๐๐ ๑๕ ๕,๔๐๔,๙๖๔ ๗ ๑,๕๙๗,๓๓๐ ๘ ๖๐๘,๒๒๕ ๕ ๑๒๔,๙๑๔ ๒๐ ๒,๓๓๐,๔๖๙ ๕๐ ๗,๑๘๗,๘๗๒ ๖๕ ๙,๓๕๐,๓๙๕ ๖๕ ๙,๗๔๙,๒๐๐ ๑๘๐ ๓,๒๒๔,๗๖๕
  • 24. 24 ๒. ผลการดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานปี ๒๕๕๕ ยุทธศาสตร์ จํานวนโครงการที่ เสร็จ จํานวนโครงการที่อยู่ ในระหว่างดําเนินการ จํานวนโครงการที่ ยังไม่ได้ดําเนินการ จํานวนโครงการที่ มีการยกเลิก จํานวนโครงการที่ มีการเพิ่มเติม จํานวนโครงการทั้งหมด จํานวน ๑. ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน ๒. ด้านเศรษฐกิจ ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ด้านการบริหาร ทรัพายากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ๔. ด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. ด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิต ๖. ด้านการจัด ระเบียบชุมชน สังคมและการ รักษาความสงบ เรียบร้อย ๗. ด้านการ พัฒนาการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ ดี รวม ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ ๘ ๑๒.๑๒ ๓ ๔.๕๕ - - - - - - ๑๑ ๑๖.๖๗ ๑ ๑.๕๒ ๓ ๔.๕๕ - - - - - ๔ ๖.๐๖ ๑ ๑.๕๒ ๕ ๗.๕๘ - - - - - - ๖ ๙.๐๙ ๗ ๑๐.๖๑ -- - - - - - - - ๗ ๑๐.๖๑ ๒๔ ๓๖.๓๖ ๓ ๔.๕๕ - - - - - - ๒๗ ๔๐.๙๑ ๓ ๔.๕๕ ๓ ๔.๕๕ - - - - - - ๖ ๙.๐๙ ๔ ๖.๐๖ ๑ ๑.๕๒ - - - - - - ๕ ๗.๕๘ ๔๘ ๗๒.๗๓ ๑๘ ๒๗.๒๗ - - - - - - ๖๖ ๑๐๐
  • 25. 25 ๓. ยุทธศาสตร์และจํานวนโครงการทีปรากฏอยูในแผนการดําเนินงาน และจํานวนโครงการทีได้ ่ ่ ่ ปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ ๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ๒. ด้านเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ๓. ด้านการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ๔. ด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕. ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ๖. ด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและ การรักษาความสงบเรียบร้อย ๗. ด้านการพัฒนาการบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี รวม จํานวนโครงการ จํานวนโครงการที่ จํานวนโครงการที่ ปรากฏอยู่ในแผน ได้ปฏิบัติ ๓๐ ๘ ๒๓ ๑ ๒๕ ๑ ๑๗ ๗ ๓๓ ๑๗ ๒๔ ๓ ๑๔ ๔ ๑๕๙ ๔๘
  • 26. 26 ส่วนที่ ๔ ๓.๑ หลักและแนวคิดในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น ในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับ จังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ การอบรมยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดเชียงใหม่ และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น คือ ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” “เศรษฐกิจ พอเพียง” เป็นปรั ชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมี พระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ตั้งแต่ก่อน เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจเมื่อปี ๒๕๔๐ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ําแนวทางการ แก้ไขเพื่อให้รอดพ้น สามารถ ดํารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงของโลก เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุ กระดั บ ตั้ งแต่ ระดั บ ครอบครั ว ระดั บ ชุ ม ชน จนถึ งระดั บ รั ฐ ทั้ งในการพั ฒนา และบริ หาร ประเทศ ให้ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการ เปลี่ ยนแปลงทั้ งภายนอก และภายใน ทั้ งนี้จะต้ องอาศั ยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมั ดระวั งอย่ า งยิ่ งในการนํ า วิ ช าการต่ า ง ๆมาใช้ ใ นการวางแผน และการดํ า เนิ นการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสํา นึกด้านคุ ณธรรม ความซื่อ สัตย์สุจริ ต และให้ความรอบรู้ที่เหมาะสม ในการดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่ อให้สมดุล และพร้ อ มต่ อการรองรับ การเปลี่ ยนแปลงอย่า งรวดเร็ ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี นิยามของความพอเพียง ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่ น้อยเกิ นไป และไม่มากเกิ นไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
  • 27. 27 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในครอบครัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไขเพื่อให้เกิดความพอเพียง การตัดสินใจ และการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้พอเพียงต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกี่ ย วกับ วิ ช าการต่า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งอย่า งรอบด้ า น ความรอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม เช่น มีความ ซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน และเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน คือ การพึ่งตนเองให้ได้โดยยึดหลักของความ พอเพี ย งทั้ งทางความคิ ด และการกระทํ า ในการดํ า เนิ นชี วิ ต ประกอบสั ม มาอาชี พหาเลี้ ย ง ตนเองอย่างสุจริต ไม่โลภหรือไม่ตักตวงในระดับที่เกินความต้องการ จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น หากแต่เป็นการยึดมั่นในหลักการดําเนินชีวิตที่อยู่บนพื้นฐานของการรู้จักตนเอง และการพัฒนา ตนเองก่อนเป็นพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า คือ การแลกเปลี่ยน ร่วมมือ ช่วยเหลือกัน เพื่อทําให้ส่วนรวมได้รับประโยชน์ และนําไปสู่การพัฒนาชุมชน และสังคมให้เจริญอย่างยั่งยืน สามารถดําเนินควบคู่ไปกับหลักการทางเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ในลักษณะที่เกื้อกูลกัน อย่างสมดุล กล่าวคือ การดํารงชีวิตในความเป็นจริงนั้น สมาชิกในแต่ละสังคมไม่สามารถ ดําเนินชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐานที่เน้นหลักการพึ่งตนเองอย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ได้แต่ เพี ย งอย่า งเดี ยวจึ งต้ องนํ า เอาหลั กการดํ า เนินชี วิ ตตามหลั กเศรษฐกิจพอเพีย งแบบก้ า วหน้ า ที่มุ่งส่งเสริมหลักแห่งการแบ่งปันกัน และร่วมมือกันกับสมาชิกคนอื่น ๆ ในสังคมซึ่งเป็นการอยู่ ร่วมกันในชุมชนอย่างสันติสุข และมีไมตรีต่อกัน
  • 28. 28 แผนเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) การพัฒนาประเทศในระยะ ๕ ปีของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว จําเป็นต้องมีการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อให้การ พัฒนาประเทศดําเนินไปในทิศทางที่ต้องการ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรมและมีภูมคุ้มกันต่อการ ิ เปลี่ยนแปลง” พันธกิจ ๑. สร้างความเป็นธรรม ในการกระจายรายได้ ควบคู่กับการสร้างสังคมที่มุ่งให้คนอยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดภัยจากอาชญากรรม อุบัติเหตุ ยาเสพติดและอบายมุข คนในสังคมอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยและการบริหารจัดการที่ดี ๒. พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพ โดยใช้ความรู้และ ความคิดริเริ่มของคนไทย ขยายหลักประกันทางสังคมให้ครอบคลุมประชาชนทุกคน สร้างความมันคง ่ ด้านอาหารและพลังงาน รวมทั้งยารักษาโรคที่ใช้สมุนไพรจากทรัพยากรและความหลากหลายทาง ชีวภาพ พร้อมทังปรับโครงสร้างสาขาการผลิตและการบริโภคของประเทศให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ้ ๓. สร้างภูมิคุ้มกันให้เข้มแข็ง สามารถป้องกันและรองรับผลกระทบและความเสี่ยงจาก วิกฤตเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเหตุผล วัตถุประสงค์ ๑. พั ฒนาให้ คนในสัง คมอยู่ร่ ว มกั นอย่ า งสั น ติ ดํา รงชีวิ ต ได้ อย่ า งปกติ สุ ข และสั ง คมมี ก าร บริหารจัดการที่ดี ๒. พัฒนาคน ชุมชน และสังคมให้มีความพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง ๓. ปรั บ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ให้ เ ติ บ โตอย่ า งมี คุ ณ ภาพ สั ง คมและการเมื อ งมี ค วามมั่ น คง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์ ประเทศมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายหลัก ๑. สังคมไทยมีความสงบสุข ๒. คนไทยทุกคนมีหลักประกันทางสังคมที่มีคุณภาพที่ทั่วถึง