SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การเคลื่อนที่ (Motion)
รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
1
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่ (Motion)
 ถ้าสังเกตการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆรอบตัวเรา เช่น รถที่วิ่ง ลูกตุ้มนาฬิกาที่แกว่ง
วัตถุตก พัดลมหมุน วัตถุที่ถูกขว้างไปในอากาศ เป็นต้น การเคลื่อนที่ของสิ่งเหล่านี้
มีลักษณะแตกต่างกันบางสิ่งเคลื่อนที่ตรง บางสิ่งเคลื่อนที่โค้ง ต่อไปนี้จะกล่าวถึง
การเคลื่อนที่อย่างง่าย คือ การเคลื่อนที่แนวตรง
2
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่แนวตรง
 การเคลื่อนที่แนวตรง เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางของ
การเคลื่อนที่ เช่น รถยนต์เคลื่อนที่บนถนนตรง นักว่ายน้าแข่งในลู่ว่าย วัตถุตกลงใน
แนวดิ่ง วัตถุถูกโยนขึ้นตรงๆ ในแนวดิ่งเป็นต้น
3
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่แนวตรง
 การเคลื่อนที่แนวตรง
4
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่แนวตรง
 การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตาแหน่งของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นจึงต้องมีการ
บอกตาแหน่งของวัตถุ และเพื่อความชัดเจน การบอกตาแหน่งของวัตถุจะต้องเทียบ
กับจุดอ้างอิง หรือ ตาแหน่งอ้างอิง (reference point) ซึ่งเป็นจุดหรือตาแหน่ง
ที่อยู่นิ่ง การบอกตาแหน่งของวัตถุที่มีการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ตาแหน่งของ
วัตถุและจุดอ้างอิงจะอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน เราจะใช้เส้นจานวนในการบอก
ตาแหน่งโดยให้จุด 0 เป็นจุดอ้างอิง
5
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่แนวตรง
 การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางขวามือมีทิศทางเป็นบวก (+)
ระยะห่างของวัตถุจากจุดอ้างอิง (0) ไปทางซ้ายมือมีทิศทางเป็นลบ (–)
ตัวอย่างการบอกตาแหน่งของจุด A, B และ C
ได้ว่า จุด A อยู่ ณ ตาแหน่ง +2 หน่วย เทียบกับจุด 0
จุด B อยู่ ณ ตาแหน่ง –3 หน่วย เทียบกับจุด 0
จุด C อยู่ ณ ตาแหน่ง +5 หน่วย เทียบกับจุด 0
6
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
การเคลื่อนที่แนวตรง
 การบอกตาแหน่งของวัตถุสาหรับการเคลื่อนที่แนวตรง
7
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26
เอกสารอ้างอิง
8
นิรันดร์ สุวรัตน์. คู่มือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 - ม.6. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา , 2553.
พูลศักดิ์ อินทวี และจานง ฉายเชิด. หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน
ม.4 - ม.6 ช่วงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2550.
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. 26

More Related Content

Viewers also liked

โมเมนตัมและการดล
โมเมนตัมและการดลโมเมนตัมและการดล
โมเมนตัมและการดล
thanakit553
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
thanakit553
 
สภาพสมดุล
สภาพสมดุลสภาพสมดุล
สภาพสมดุล
thanakit553
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
thanakit553
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
dnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
thanakit553
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
thanakit553
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
โมเมนตัมและการดล
โมเมนตัมและการดลโมเมนตัมและการดล
โมเมนตัมและการดล
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
สภาพสมดุล
สภาพสมดุลสภาพสมดุล
สภาพสมดุล
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 
WHAT IS PISA 3
WHAT IS PISA 3WHAT IS PISA 3
WHAT IS PISA 3
 
WHAT IS PISA? #2
WHAT IS PISA? #2WHAT IS PISA? #2
WHAT IS PISA? #2
 

การเคลื่อนที่ (Motion)