SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การศึกษาสารที่มีประสิทธิภาพต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
นางสาว ชฎาณัฐ นวลละออ เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1นางสาว ชฎาณัฐ นวลลออ ม.6/9 เลขที่ 24
ค้าชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การศึกษาสารที่มีประสิทธิภาพต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Study of Effective Antioxidant Substances in Honey
ประเภทโครงงาน การศึกษา
ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ชฎาณัฐ นวลละออ ม.6/9 เลขที่ 24
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
เนื่องจากในการด้ารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันจะต้องทนต่อสภาพแวดล้อมที่มีมลพิษและของเสียต่างๆ เช่น
อนุภาคมลสาร Sulfer dioxide, Nitrogen oxides ภายในอากาศมากมาย มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาส้าคัญปัญหา
หนึ่งที่เกิดขึ้นในเขตเมือง ด้วยเหตุที่ว่ามลพิษทางอากาศก่อให้เกิดผลกระทบด้ายสุขภาพอนามัย ตลอดจนผลกระทบ
ต่อสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบหายใจ ระบบหัวใจและปอด ซึ่งโดยธรรมชาติของมนุษย์ไม่สามารถขับของเสียในรูปต่างๆนี้
ออกมาได้หมดจึ้งเกิดเป็นสารตกค้างในร่างกาย อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้มนุษย์ในปัจจุบันมีสุขภาพร่างกายที่ไม่
แข็งแรง อ่อนแอและภูมิคุ้มกันโรคต่างๆน้อยลง ดังนั้นการได้รับสารอาหารที่หลากหลายเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับสุขภาพ
ที่ดีและภูมิคุ้มกันที่ดีของมนุษย์ เช่น คาโรทีนอยด์ (แหล่งก้าเนิดของวิตามิน เอ) วิตามิน ซี วิตามิน อีและแร่ธาตุต่างๆ
ช่วยท้าให้มีสุขภาพที่ดี สารดังกล่าวคือสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นสารอาหารที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากใน
ขบวนการปฏิกิริยาชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในร่างกายจะมีการขับของเสียที่ร่างกายได้รับ ได้แก่ ควันบุหรี่ แอลกอฮอล์ รังสี
UVเอ็กซ์เรย์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นอนุมูลอิสระที่เชื่อว่ามีอันตรายต่อเซลล์ในร่างกายที่อาจส่งผลให้เกิดโรคมะเร็ง
โรคหัวใจ ภาวะข้อต่ออักเสบและการเสื่อมของอวัยวะต่างๆอนุมูลอิสระจะท้าลายเนื้อเยื่อเซลล์ในระยะนั้นและเกิดเป็น
ความแก่ของเซลล์ในระยะยาว แม้ว่าสารต้านอนุมูลอิสระจะไม่สามารถแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้นได้แต่ชะลอให้
ความเสียหายเกิดช้าลงได้โดยเฉพาะโรคเรื้อรังซึ่งเป็นผลลัพธ์สะสมที่เกิดจากเซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายถูกท้า
อันตรายเสียหาย ดั้งนั้น บุคคลทุกเพศทุกวัยจึงควรได้รับสารต้านอนุมูลอิสระให้เพียงพอต่อความต้องการแต่ละวัน
เพื่อให้เกิดความสมดุลในร่างกาย จากผลงานวิจัยของอัลมานารี (Al-Manary) ที่ได้ท้าการวิจัยเรื่องสารต้านอนุมูล
อิสระในน้้าผึ้ง โดยได้กล่าวถึงน้้าผึ้งว่า กรดฟีโนลิกและฟลาโวนอยด์ในน้้าผึ้งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งมีคุณสมบัติ
ชะลอความเสื่อมของเซลล์ผิว จากผลการวิจัยข้างต้นข้าพเจ้าเห็นถึงประโยชน์และความส้าคัญของน้้าผึ้งจึงเลือกใช้
น้้าผึ้งในการท้าโครงงานครั้งนี้
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาสารในน้้าผึ้งที่มีประสิทธิภาพในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
2.เพื่อศึกษาประโยชน์ของสารต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาเพื่อหาสารต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้งว่ามีจริงหรือไม่
หลักการและทฤษฎี
สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) หมายถึงสารที่ช่วยต่อต้านหรือก้าจัดอนุมูลอิสระ (Free Radicals) ที่
เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาออกซิเดชันภายในร่างกาย ซึ่งปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถพบได้จากหลากหลายรูปแบบตาม
ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนออกซิเดชั่นที่ท้าให้เหล็กกลายเป็นสนิม น้้ามันพืชที่มีกลิ่นเหม็นหืน ผลแอปเปิล
เปลี่ยนเป็นสีน้้าตาลคล้้า
แต่หากเป็นในร่างกายเราจะพบได้จากการย่อยสลายโปรตีนและไขมัน ซึ่งมาจากอาหารที่เรารับประทานเข้า
ไป การรับเอามลพิษทางอาการ ควันบุหรี่ เชื้อโรค ฝุ่นละออง การรับเอารังสียูวีจากแสงแดด หรือแม้กระทั่งการ
หายใจก็ท้าให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ กลายเป็นสารอนุมูลอิสระล่องลอยอยู่ภายในร่างกายและสร้างความเสียหาย
ให้กับเซลล์ต่างๆ กลายเป็นอาการเจ็บป่วยและโรคภัยที่เราเผชิญกันอยู่ทุกวันนี้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคปอด โรค
ตับแข็ง และโรคเบาหวาน เป็นต้น
การวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
DPPH assay เป็นวิธีการวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นสารต้านออกซิเดชัน (antioxidant) ซึ่งใช้
reagent คือ 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazylเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการวิเคราะห์ ให้ความถูกต้องและ
แม่นย้าสูง
หลักการ
DPPH เป็น stable radical ในตัวท้าละลายเมทานอล (methanol) สารละลายนี้มีสีม่วง ซึ่งดูดกลืนแสงได้ดีที่ความ
ยาวคลื่น 515-517 นาโนเมตร (nm)
โดย DPPH● จะเกิดปฏิกิริยากับ antioxidant (AH) หรือกับ radical species (R●)
DPPH● + AH-------------DPPH-H + A●
DPPH● + R●-------------- DPPH-R
วิธีการ
เมื่อ DPPH● ท้าปฏิกิริยากับสารท่ีมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สีของสารละลายสีม่วงจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง โดย
เปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูอิสระที่ใช้เป็นมาตรฐานคือ BHTถ้าตัวอย่างมีความสามารถในการต้านออกซิเดชันได้สูง
ความเข้มของสารละลายสีม่วงจะลดลง ซึ่งจะรายงานผลการทดลองเป็นค่า
เตรียมสารละลายมาตรฐาน BHT
เป็นสารมาตรฐานที่แสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ใช้ความเข้มข้น 100, 75, 50, 25, 12.5, 6.25, 3.125 และ 1.562
μg/ml ใน absolute ethanol
วัดค่าการดูดกลืนแสงยูวี ที่ความยาวคลื่น 515 nm ด้วยเครื่อง UV-VIS spectrophotometer เพื่อหาความเข้มข้น
ของสารละลายตัวอย่าง เปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐาน
4
การแสดงผล
การศึกษาความสามารถในการต้านออกซิเดชัน ในสารตัวอย่างนิยมรายงานเป็นค่า 50% effective
concentration (EC50) ซึ่งหมายถึงปริมาณสารต้านออกซิเดชันที่ท้าให้ความเข้มข้นของ DPPH● ลดลง 50%
โดยสร้างกราฟระหว่างความเข้มข้นของสารตัวอย่างกับค่าการดูดกลืนแสง แล้วหาค่า EC50 จากกราฟแสดงค่าความ
เข้มข้นของสารตัวอย่างที่สามารถท้าให้ความเข้มข้นของ DPPH ลดลง 50 เปอร์เซ็นต์ แล้วใช้ค่า EC50 ในการ
เปรียบเทียบความสามารถของสารต้านอนุมูลอิสระระหว่างตัวอย่างที่ทดสอบกับสารมาตรฐาน BHT ค้านวณ %
Radical Scavenging (เปอร์เซ็นต์การออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ)
%Radical Scavenging = [ (AB - AA) / AB] x100
เมื่อ AA = ค่าการดูดกลืนแสงที่วัดได้ของสารตัวอย่างผสมกับ DPPH
AB = ค่าการดูดกลืนแสงที่วัดได้ของสารละลาย DPPH
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
5
ขั้นตอนและแผนด้าเนินงาน
ล้าดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดท้าโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การท้าเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 น้าเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท้าโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ด้าเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น้ามาใช้การท้าโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999dalika
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันOporfunJubJub
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์THEPHIM
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichayathitichaya2442
 

What's hot (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
at1
at1at1
at1
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
Work
WorkWork
Work
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
Sasawat
SasawatSasawat
Sasawat
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 

Similar to โครงร่างงานคอม

การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1Nuttida Meepo
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียวNu Beer Yrc
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาPinchanok Muangping
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Polly Rockheels
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมVitchda Samaket
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานManop Amphonyothin
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)PorPoii
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)Bezegrupe
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานyhrtdf hdhtht
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 

Similar to โครงร่างงานคอม (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
1
11
1
 
การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1
 
2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว2560 project งานชาเขียว
2560 project งานชาเขียว
 
โครงงานกัวซา
โครงงานกัวซาโครงงานกัวซา
โครงงานกัวซา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
1
11
1
 
09_2560 project
09_2560 project09_2560 project
09_2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 

โครงร่างงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การศึกษาสารที่มีประสิทธิภาพต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ชฎาณัฐ นวลละออ เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1นางสาว ชฎาณัฐ นวลลออ ม.6/9 เลขที่ 24 ค้าชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาสารที่มีประสิทธิภาพต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Study of Effective Antioxidant Substances in Honey ประเภทโครงงาน การศึกษา ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ชฎาณัฐ นวลละออ ม.6/9 เลขที่ 24 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน เนื่องจากในการด้ารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันจะต้องทนต่อสภาพแวดล้อมที่มีมลพิษและของเสียต่างๆ เช่น อนุภาคมลสาร Sulfer dioxide, Nitrogen oxides ภายในอากาศมากมาย มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาส้าคัญปัญหา หนึ่งที่เกิดขึ้นในเขตเมือง ด้วยเหตุที่ว่ามลพิษทางอากาศก่อให้เกิดผลกระทบด้ายสุขภาพอนามัย ตลอดจนผลกระทบ ต่อสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบหายใจ ระบบหัวใจและปอด ซึ่งโดยธรรมชาติของมนุษย์ไม่สามารถขับของเสียในรูปต่างๆนี้ ออกมาได้หมดจึ้งเกิดเป็นสารตกค้างในร่างกาย อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้มนุษย์ในปัจจุบันมีสุขภาพร่างกายที่ไม่ แข็งแรง อ่อนแอและภูมิคุ้มกันโรคต่างๆน้อยลง ดังนั้นการได้รับสารอาหารที่หลากหลายเป็นสิ่งจ้าเป็นส้าหรับสุขภาพ ที่ดีและภูมิคุ้มกันที่ดีของมนุษย์ เช่น คาโรทีนอยด์ (แหล่งก้าเนิดของวิตามิน เอ) วิตามิน ซี วิตามิน อีและแร่ธาตุต่างๆ ช่วยท้าให้มีสุขภาพที่ดี สารดังกล่าวคือสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นสารอาหารที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากใน ขบวนการปฏิกิริยาชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในร่างกายจะมีการขับของเสียที่ร่างกายได้รับ ได้แก่ ควันบุหรี่ แอลกอฮอล์ รังสี UVเอ็กซ์เรย์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นเป็นอนุมูลอิสระที่เชื่อว่ามีอันตรายต่อเซลล์ในร่างกายที่อาจส่งผลให้เกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ ภาวะข้อต่ออักเสบและการเสื่อมของอวัยวะต่างๆอนุมูลอิสระจะท้าลายเนื้อเยื่อเซลล์ในระยะนั้นและเกิดเป็น ความแก่ของเซลล์ในระยะยาว แม้ว่าสารต้านอนุมูลอิสระจะไม่สามารถแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้นได้แต่ชะลอให้ ความเสียหายเกิดช้าลงได้โดยเฉพาะโรคเรื้อรังซึ่งเป็นผลลัพธ์สะสมที่เกิดจากเซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายถูกท้า อันตรายเสียหาย ดั้งนั้น บุคคลทุกเพศทุกวัยจึงควรได้รับสารต้านอนุมูลอิสระให้เพียงพอต่อความต้องการแต่ละวัน เพื่อให้เกิดความสมดุลในร่างกาย จากผลงานวิจัยของอัลมานารี (Al-Manary) ที่ได้ท้าการวิจัยเรื่องสารต้านอนุมูล อิสระในน้้าผึ้ง โดยได้กล่าวถึงน้้าผึ้งว่า กรดฟีโนลิกและฟลาโวนอยด์ในน้้าผึ้งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งมีคุณสมบัติ ชะลอความเสื่อมของเซลล์ผิว จากผลการวิจัยข้างต้นข้าพเจ้าเห็นถึงประโยชน์และความส้าคัญของน้้าผึ้งจึงเลือกใช้ น้้าผึ้งในการท้าโครงงานครั้งนี้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาสารในน้้าผึ้งที่มีประสิทธิภาพในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ 2.เพื่อศึกษาประโยชน์ของสารต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้ง ขอบเขตโครงงาน ศึกษาเพื่อหาสารต้านอนุมูลอิสระในน้้าผึ้งว่ามีจริงหรือไม่ หลักการและทฤษฎี สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidants) หมายถึงสารที่ช่วยต่อต้านหรือก้าจัดอนุมูลอิสระ (Free Radicals) ที่ เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาออกซิเดชันภายในร่างกาย ซึ่งปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถพบได้จากหลากหลายรูปแบบตาม ธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนออกซิเดชั่นที่ท้าให้เหล็กกลายเป็นสนิม น้้ามันพืชที่มีกลิ่นเหม็นหืน ผลแอปเปิล เปลี่ยนเป็นสีน้้าตาลคล้้า แต่หากเป็นในร่างกายเราจะพบได้จากการย่อยสลายโปรตีนและไขมัน ซึ่งมาจากอาหารที่เรารับประทานเข้า ไป การรับเอามลพิษทางอาการ ควันบุหรี่ เชื้อโรค ฝุ่นละออง การรับเอารังสียูวีจากแสงแดด หรือแม้กระทั่งการ หายใจก็ท้าให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ กลายเป็นสารอนุมูลอิสระล่องลอยอยู่ภายในร่างกายและสร้างความเสียหาย ให้กับเซลล์ต่างๆ กลายเป็นอาการเจ็บป่วยและโรคภัยที่เราเผชิญกันอยู่ทุกวันนี้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคปอด โรค ตับแข็ง และโรคเบาหวาน เป็นต้น การวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ DPPH assay เป็นวิธีการวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นสารต้านออกซิเดชัน (antioxidant) ซึ่งใช้ reagent คือ 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazylเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการวิเคราะห์ ให้ความถูกต้องและ แม่นย้าสูง หลักการ DPPH เป็น stable radical ในตัวท้าละลายเมทานอล (methanol) สารละลายนี้มีสีม่วง ซึ่งดูดกลืนแสงได้ดีที่ความ ยาวคลื่น 515-517 นาโนเมตร (nm) โดย DPPH● จะเกิดปฏิกิริยากับ antioxidant (AH) หรือกับ radical species (R●) DPPH● + AH-------------DPPH-H + A● DPPH● + R●-------------- DPPH-R วิธีการ เมื่อ DPPH● ท้าปฏิกิริยากับสารท่ีมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ สีของสารละลายสีม่วงจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง โดย เปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูอิสระที่ใช้เป็นมาตรฐานคือ BHTถ้าตัวอย่างมีความสามารถในการต้านออกซิเดชันได้สูง ความเข้มของสารละลายสีม่วงจะลดลง ซึ่งจะรายงานผลการทดลองเป็นค่า เตรียมสารละลายมาตรฐาน BHT เป็นสารมาตรฐานที่แสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ใช้ความเข้มข้น 100, 75, 50, 25, 12.5, 6.25, 3.125 และ 1.562 μg/ml ใน absolute ethanol วัดค่าการดูดกลืนแสงยูวี ที่ความยาวคลื่น 515 nm ด้วยเครื่อง UV-VIS spectrophotometer เพื่อหาความเข้มข้น ของสารละลายตัวอย่าง เปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐาน
  • 4. 4 การแสดงผล การศึกษาความสามารถในการต้านออกซิเดชัน ในสารตัวอย่างนิยมรายงานเป็นค่า 50% effective concentration (EC50) ซึ่งหมายถึงปริมาณสารต้านออกซิเดชันที่ท้าให้ความเข้มข้นของ DPPH● ลดลง 50% โดยสร้างกราฟระหว่างความเข้มข้นของสารตัวอย่างกับค่าการดูดกลืนแสง แล้วหาค่า EC50 จากกราฟแสดงค่าความ เข้มข้นของสารตัวอย่างที่สามารถท้าให้ความเข้มข้นของ DPPH ลดลง 50 เปอร์เซ็นต์ แล้วใช้ค่า EC50 ในการ เปรียบเทียบความสามารถของสารต้านอนุมูลอิสระระหว่างตัวอย่างที่ทดสอบกับสารมาตรฐาน BHT ค้านวณ % Radical Scavenging (เปอร์เซ็นต์การออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ) %Radical Scavenging = [ (AB - AA) / AB] x100 เมื่อ AA = ค่าการดูดกลืนแสงที่วัดได้ของสารตัวอย่างผสมกับ DPPH AB = ค่าการดูดกลืนแสงที่วัดได้ของสารละลาย DPPH วิธีด้าเนินงาน แนวทางการด้าเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนด้าเนินงาน ล้าดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดท้าโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การท้าเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 น้าเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท้าโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ด้าเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น้ามาใช้การท้าโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________