SlideShare a Scribd company logo
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
67
หัวข้อเรื่อง
1. พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน
2. การส่งเสริมอาชีพของชุมชน
3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
สาระสําคัญ
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ปัจจุบันปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจเป็นปัญหาสําคัญของชาติ โดยประสาน
ความมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนองค์กรชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อให้เป็น "เศรษฐกิจของชุมชน
โดยชุมชน และเพื่อชุมชน"อย่างแท้จริง
สมรรถนะผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.นักศึกษาทราบถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ชุมชน
2. ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป (จุดประสงค์ปลายทาง)
มีความรู้ด้านเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพ ตลอดจนสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (จุดประสงค์นําทาง)
1. บอกพื้นฐาน ความหมายของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชน
2. บอกการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้
3. ยกตัวอย่างกิจกรรมที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจชุมชนไปใช้ได้ถูกต้อง
4. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
เนื้อหาสาระ
1. พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน
2. การส่งเสริมอาชีพของชุมชน
3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนรู้(ใช้เทคนิควิธีสอนแบบอุปนัย)
1. ขั้นเตรียมการ
1.1 ทบทวนความรู้เดิม ตรวจสอบความพร้อมในการเรียน ซักถามปัญหาและแนวทางแก้ไข
1.2 กระตุ้นเตือนเรื่องความรับผิดชอบในการทํางานร่วมกันเป็นทีม การให้ความร่วมมือกับกลุ่ม
1.3 เสนอเนื้อหาและจุดประสงค์ในการเรียนเรื่องเศรษฐกิจชุมชน นักศึกษาทําแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ขั้นเสนอตัวอย่าง
2.1 นําเสนอวิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข ผู้สอนสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อดู
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
68
วิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข
2.2 นําเสนอวีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทําอย่างไร
2.3 นําเสนอวีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน
2.4 นําเสนอวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง
2.5 นําบทวิเคราะห์ที่ได้จากการดูวิดีทัศน์มาอภิปราย
2.6 นําบทวิเคราะห์ที่ได้จากการดูวิดีทัศน์มาอภิปราย (รายบุคคล)
3. ขั้นเปรียบเทียบ
3.1 แบ่งนักศึกษาเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน หรือใกล้เคียงกัน โดยสมาชิกแต่ละกลุ่มมีความสามารถคละกัน
และเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่ม
3.2 ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 4.1 4.2 และ 4.3 ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มปฏิบัติคือ
1) ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลที่ได้รับช่วยกันศึกษา ตามความคิด ความ
เข้าใจของแต่ละกลุ่มดังนี้
• พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน 2 กลุ่ม
• บทความเศรษฐกิจชุมชน 2 กลุ่ม
• การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 2 กลุ่ม
2) แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอและอภิปราย (กลุ่มละประมาณ 5 นาที )
3.3 ผู้สอนนําตัวอย่างที่ได้จากการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์และสาเหตุของ
การเกิดพฤติกรรม
4. ขั้นสรุปกฎเกณฑ์
ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความสําคัญนักศึกษาทราบถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจ
ชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชนและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
5. สื่อการเรียนรู้
5.1 วิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข
5.2 วีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน
5.3 วีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทําอย่างไร
5.4 นําเสนอวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98 เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง
5.5 ใบความรู้
5.6 ใบงาน
6. แหล่งการเรียนรู้
6.1 ห้องสมุด
6.2 INTERNET http://www.uinthai.com
7. การวัดผลและประเมินผล
7.1 เรื่องที่จะการประเมิน
• ความเข้าใจถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชนและการสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับชุมชน
• ความเข้าใจและมีแนวทางการนําเศรษฐกิจชุมชนไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเอง
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
69
7.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาเป็นรายบุคคลได้แก่
- ความสนใจ
- การอาสาตอบคําถาม
- การแสดงความคิดเห็น
- การทํางานที่ได้รับมอบหมาย
2 สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่มของนักศึกษา โดยยึดกระบวนการกลุ่มได้แก่
- การร่วมกันวางแผนการทํางาน
- ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี
- แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
- ยอมรับข้อสรุปและผลงานของกลุ่มและร่วมปรับปรุงงาน
3 สังเกตพฤติกรรมด้านการรายงานการศึกษาค้นคว้า
- เนื้อหาสาระครบถ้วน ตรงตามประเด็น
- ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ
- ภาษาถูกต้องเหมาะสม
- ค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย
- รูปแบบการนําเสนอน่าสนใจ
- ประเมินปรับปรุงและแสดงความรู้
7.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลสังเกตพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลใช้เกณฑ์ดังนี้
ความสนใจ แบ่งคะแนนเป็น 3 ระดับดังนี้
ให้ 1 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนแต่ขาดความกระตือรือร้น
ให้ 2 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น
ให้ 3 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนดีและมีความกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างสม่ําเสมอ เช่น
การตอบคําถาม อภิปราย แสดงความคิดเห็น
การแสดงความคิดเห็นในการอภิปราย แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
ให้ 1 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นไม่ถูกต้อง โดยไม่มีเหตุผลและไม่มีหลักเกณฑ์
ให้ 2 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถูกต้องบางส่วน โดยมีเหตุผลและหลักเกณฑ์
ให้ 3 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถูกต้องโดยมาก โดยมีเหตุผลและหลักเกณฑ์
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
…………1.เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ก็เพื่อมุ่งพัฒนาสินค้าชุมชน ออกเป็นสินค้าส่งออก
…………2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 มีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
…………3.เศรษฐกิจชุมชน คือ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ ทั้งใน
ด้านการผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิตโดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม
…………4.ลักษณะสําคัญของเศรษฐกิจชุมชน คือ ครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต แรงงานของสมาชิกในครอบครัวเป็น
ปัจจัยที่สําคัญที่สุด
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
70
…………5.กรอบแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนของ ดร.มงคล ด่านธานินทร์ มี 5 ระบบ คือ การตั้งปณิธาน ทําอะไร ทําทําไม
ทําอย่างไร ทําเพื่ออะไร
…………6.การสร้างเศรษฐกิจชุมชนที่เข้มแข็งจะต้องมีการจัดตั้งเป็นกลุ่มสหกรณ์
…………7.แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนในสังคมไทย มีหลายแนวทาง แต่มีเป้าหมายในการนําชุมชนไปสู่การพึ่งตนเอง
…………8.เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง คือ การผลิตการแปรรูป การบริโภค การค้า และการบริหาร ที่เป็นการตัดสินใจ
ดําเนินการของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน
…………9.เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ใช้แนวคิดของพุทธศาสนา “ตนนั้นแหละเป็นที่พึ่งแห่งตน”
……..…10.การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน คือ การเพิ่มกําลังอํานาจให้แก่ผู้นําชุมชน ในการคิด การทํา การมี
ส่วนร่วมในการพัฒนา การแก้ปัญหาต่าง ๆ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นพระประมุข
ภาระงานที่มอบหมาย
ใบงานที่ 4.3 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน มอบหมายงาน : ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมโดยเลือกชุมชน
ต้นแบบที่มีความเข้มแข็ง หรือชุมชนที่ทํารัฐวิสาหกิจชุมชนโดย ศึกษาการจัดตั้งชุมชน และการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง
มากขึ้น
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
71
กระดาษคําตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
(จํานวนข้อสอบ 10 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน)
ข้อ คําตอบ ข้อ คําตอบ
1. 1.
2. 2.
3. 3.
4. 4.
5. 5.
6. 6.
7. 7.
8. 8.
9. 9.
10. 10.
ก่อนเรียนได้……………..คะแนน หลังเรียนได้……………คะแนน
ผู้ตรวจ…………………………………………..……..
(…………………………………….....)
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
72
แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณภาพ จริยธรรม
วันที่ ……….. เดือน……………………… พ.ศ. …………
ชื่อ …………………………………….................รหัสนักศึกษา ........................
สาขาวิชา …………………......................... คณะ …………………............
ลําดับ พฤติกรรมที่ประเมิน
ระดับคะแนน หมายเหตุ
1 2 3 4
ความหมายของระดับการประเมิน
4 = ปฏิบัติถูกต้องดีเยี่ยม
3 = ปฏิบัติได้ถูกต้อง
2 = ปฏิบัติบ้างแต่ต้องฟังคําสั่ง
หรือชี้นํา
1 = ไม่ปฏิบัติ ต้องบังคับหรือว่า
กล่าวตักเตือนหรือมักจะปฏิบัติ
ในทางที่ผิด
เกณฑ์การประเมิน
4 = 1.6 - 2
3 = 1.1 - 1.5
2 = 0.6 - 1
1 = 0 - 0.5
1 ความซื่อสัตย์สุจริต
2 การตรงต่อเวลา
3 การมีวินัย
4 ความสนใจใฝ่รู้
5 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
6 ความเป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี
7 ความรับผิดชอบ
8 ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน
9 การมีมนุษย์สัมพันธ์ในการทํางาน
10 ความสําเร็จในการดําเนินงานกลุ่มและรายบุคคล
รวม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน)
บันทึก………………………………………………………………………………………………………….………………………………………
……………………………………………………………………………...………………..………………..………………..………………..……
ลงชื่อ ……………………………………… ผู้ประเมิน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
73
แบบประเมินกระบวนการกลุ่มประกอบการวัดผล/ประเมินผล
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
ที่ ชื่อ-สกุล
หัวข้อประเมิน (ข้อละ 4 คะแนน)
รวมคะแนน
สรุป
การร่วมกันวางแผนการ
ทํางาน
ทํางานตามหน้าที่ได้รับอบ
หมาย
เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี
แสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตุผล
ยอมรับข้อสรุปและผลงาน
ของกลุ่มและร่วมกัน
ปรับปรุงงาน
ผ่าน ไม่ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม / เฉลี่ย
เกณฑ์การประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 6-20 ได้คุณภาพดี แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 10-15 ได้คุณภาพปานกลาง แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนต่ํากว่า 10 ได้คุณภาพต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
74
แบบประเมินรายงานการค้นคว้า ประกอบการวัดผล/ประเมินผล
แผนการเรียนรู้ที่ …………… เรื่อง ……………………………………........................
ที่ ชื่อ-สกุล
หัวข้อประเมิน (ข้อละ 5 คะแนน)
รวมคะแนน
สรุป
เนื้อหาสาระครบถ้วนตรง
ตามประเด็น
ความถูกต้องของเนื้อหา
สาระ
ภาษาถูกต้องเหมาะสม
ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้
หลากหลาย
ประเมินปรับปรุงและ
แสดงความรู้สึกต่อ
ชิ้นงาน
ผ่าน ไม่ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม / เฉลี่ย
เกณฑ์การประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 20-25 ได้คุณภาพดี แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 14-19 ได้คุณภาพปานกลาง แสดงว่า ผ่าน
ถ้าได้คะแนนต่ํากว่า 14 ได้คุณภาพต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
75
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนเป็นรายบุคคล
รายวิชา ………………….………………. ระดับชั้น ………….…….
พฤติกรรม
ประเมิน
ชื่อ-สกุล
ความสนใจ การแสดง
ความคิดเห็น
การอาสา
ตอบคําถาม
การรับฟัง
ความคิดเห็น
ของผู้อื่น
ความ
รับผิดชอบ
ต่องาน
ที่ได้รับ
มอบหมาย
สรุปผล
การ
ประเมิน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
ผู้ประเมิน ………………………………………….
วันที่ ………… เดือน …………………… พ.ศ. …………….
เกณฑ์การประเมิน
ระดับคุณภาพ ดี ปานกลาง ปรับปรุง
คะแนน 3 2 1
สรุปการประเมิน
ได้ 3 คะแนน แสดงว่า ผ่าน
ได้ 2 คะแนน แสดงว่า ผ่าน
ได้ 1 คะแนน แสดงว่า ไม่ผ่าน
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………….ผู้สอน
( ............................................. )
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
76
ใบความรู้ที่ 4.1
พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน
ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจตั้งแต่กลางปี 2540 และพระราชดํารัสของในหลวง ซึ่งพระราชทานเมื่อวันที่ 4
ธันวาคม 2540 ประกอบกับปรัชญาของแผนฯ 8 ที่เน้นการพัฒนา “คน” และรัฐธรรมนูญใหม่ที่ให้ความสําคัญ
ต่อ “ชุมชนท้องถิ่น” ได้สร้างกระแสอย่างกว้างขวางให้สังคมกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ โดยเฉพาะเศรษฐกิจชุมชนของชุมชนในชนบท
ในช่วงปี 40 ปีที่ผ่านมา การพัฒนาประเทศไมได้สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนท้องถิ่นใน
ชนบท หรือ “เศรษฐกิจของฐานล่าง” ซึ่งเป็นเศรษฐกิจของประชากรส่วนใหญ่ จึงมีส่วนสําคัญยิ่งต่อความ
ยั่งยืนของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
ความหมาย
เศรษฐกิจชุมชนที่พึงปรารถนา คือกิจกรรมเศรษฐกิจ ทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาค
บริการ ที่คนในชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมเป็นเจ้าของ โดยการพัฒนา
จากฐานของ “ศักยภาพของท้องถิ่น” หรือ “ทุนในชุมชน” ซึ่งร่วมถึงเงินทุน แรงงาน วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ วัด ที่ดิน แหล่งน้ํา ความหลากหลายทาง ชีวภาพ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ
ฯลฯ
เป้าหมายสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน คือ เพื่อพัฒนาศักยภาพตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว
และชุมชน โดยใช้กิจกรรมเศรษฐกิจสร้าง “กระบวนการเรียนรู้” ซึ่งจะทําให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ ใน
ขณะเดียวกันยังมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ หรืออีกนัยหนึ่ง เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างบูรณาการ
ฐานคิด
1. เน้นการพัฒนาอย่างบูรณาการ มีคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และยึดพื้นที่เป็นหลัก เพื่อให้การ
พัฒนาตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน และสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น
2. สร้างภาคีและเครือข่ายความร่วมมือ ในลักษณะ “พหุภาคี” เพื่อประสาน “พลังสร้างสรรค์” ทั้งจาก
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน โดยมีองค์กรชุมชนเป็นแกนกลาง ส่วนภาคีอื่นๆ ทําหน้าที่ช่วยกระตุ้น
อํานวยความสะดวก ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา
3. เริ่มการพัฒนาจากชุมชนท้องถิ่นไปสู่ระดับชาติ และให้องค์กรชุมชนเป็นจักรกลสําคัญในการ
ดําเนินการพัฒนา เพื่อให้เกิดพลังการพัฒนาจากความต้องการของคนในชุมชน ซึ่งจะช่วยให้การพัฒนามีความ
ต่อเนื่อง
4. ส่งเสริมการรวมกลุ่มชาวบ้านและการสร้างเครือข่ายองค์กรชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมใน
การพัฒนา และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งด้านการศึกษา สาธารณะสุข การผลิต การตลาด การระดม
ทุน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ
5. ใช้กิจกรรมเศรษฐกิจสร้างการเรียนรู้และสร้างอาชีพที่หลากหลาย เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่คนใน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
77
ชุมชน ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านเพศ วัย การศึกษา ความถนัด ฐานะเศรษฐกิจ ฯลฯ
6. ยึดปรัชญาการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวพระราชดํารัส “การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง”
ตามขั้นตอนของ “ทฤษฎีใหม่”
แนวคิดและความหมายของเศรษฐกิจชุมชน
ดร.มงคล ด่านธานินทร์ ได้ให้กรอบแนวคิดในเรื่องของเศรษฐกิจชุมชนไว้อย่างน่าสนใจ รวมทั้งจะทํา
ให้เราสามารถมองภาพของการพัฒนาในอนาคตได้อย่างชัดเจน มิติในการมองของท่านเป็นกรอบคิดเชิง ระบบ
1) ปณิธาน ?
เศรษฐกิจชุมชน อันเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจชาติ ก็เหมือนกับเรื่องทางการเมือง การศึกษา และ
การพัฒนาสังคม ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องมีความเข้าใจ และความมุ่งมั่นร่วมกัน ว่าการกระทําของเรานั้น ก็เพื่อความ
รุ่งเรืองและความอยู่รอด ปลอดภัยของสังคมไทย และประชาชาติไทยทั้งมวล ในการนี้ก็มีความจําเป็นที่การ
พัฒนาเศรษฐกิจระดับล่าง คือ ชุมชน ชนบทจะต้องมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจระดับบน คือ
ประเทศ
อีกทั้งต้องสัมพันธ์กับการเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรมของคนทั้งประเทศ การเน้น
ความสําคัญของ เศรษฐกิจชุมชนโดดๆ คงไม่ช่วยให้กระบวนการเศรษฐกิจชุมชน บรรลุปณธานดังกล่าวได้
2) ทําอะไร ?
เศรษฐกิจชุมชนไม่ใช่ของใหม่สุดขั้วแต่อย่างใด แท้จริงก็คือการทํางานเพื่อการดํารงชีพในแนวสัมมา
อาชีพ เพื่อ การอยู่รวมกันกับเพื่อนมนุษย์อื่นในหมู่บ้านนั่นเอง ดังนั้นชาวบ้านที่สนใจจะรวมกลุ่มในการ
(1) ปลูกพืช (อันอาจจะได้แก่ ข้าว พืชไร่ ไม้ผล ไม้ดอก ไม้ประดับ สมุนไพร) เลี้ยงปศุสัตว์ และสัตว์
น้ํา รวมอยู่ ในพื้นที่ผืนเดียวกัน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
78
(2) กิจกรรมการผลิตที่เกี่ยวเนื่องการเกษตร เช่น การแปรรูปข้าว ผลไม้เป็นน้ําผลไม้ และไวน์ผลไม้
การแปรรูป สมุนไพร เป็นสมุนไพรผง เป็นต้น
(3) กิจกรรมการผลิตนอกการเกษตร เช่น การร่วมทําอิฐบล็อก การตัดเย็บเสื้อผ้าสําเร็จรูป เป็นต้น
(4) กิจกรรมบริการ เช่น บูรณะโบราณสถานในพื้นที่ร่วมกับผู้นํา และเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อเป็น
แหล่งท่องเที่ยว สําหรับหารายได้เข้าหมู่บ้าน เป็นต้น
3) ทํากับใคร ?
ชาวบ้านอาจรวมกลุ่มกันอย่างไม่เป็นทางการ หรือใช้กลุ่มที่เป็นนิติบุคคล เช่น กลุ่มสหกรณ์ กลุ่ม
เกษตรกร มูลนิธิ หรือสมาคม เป็นศูนย์กลางในการทํากิจกรรมที่กล่าวไปแล้ว หรือเขาอาจจะร่วมกับนักพัฒนา
เอกชน เจ้าหน้าที่พัฒนา ของรัฐ (เช่น พัฒนากรตําบล เกษตรตําบล) นักวิชาการ ซึ่งอาจเรียกรวมกันว่า พหุ
ภาคีในการแปรรูปผลผลิต หรือทําการ ตลาด อีทั้ง อาจร่วมทุนกับพ่อค้าหรือนักอุตสาหกรรม ทําการผลิตและ
แปรรูปเป็นสินค้าตามที่ผู้บริโภคต้องการ
4) ทําอย่างไร ?
โดยรวมกลุ่มดังได้กล่าว แล้วทําการผลิต แปรรูปแลกเปลี่ยนสินค้า ค้าขาย หรือบริการต่างๆ
5) ทําทําไม ?
เนื่องจากชาวบ้าน มีระดับการทํามาหากินต่างกัน บ้างก็อยู่ในระดับพอมีพอกิน บ้างก็อยู่ที่ระดับ
การค้า ดังนั้น การรวมกลุ่มกันผลิต จึงอาจเป็นไปเพื่อความตั้งใจ เพื่อให้เกิดความพออยู่พอกิน เพื่อความพึง
พอใจ เพื่อให้คุ้มกับการ ลงทุน และเพื่อกําไร
6) เพื่ออะไร ?
โดยที่รวมกลุ่ม เพื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจนี้ ถือว่าเป็นการรวมตัวในระดับล่างสุดของสังคม ดังนั้น
การร่วมกันทํางานก็เพื่อให้เกิดผลให้คนมีความสุข เมื่อต่างพึงพอใจแล้ว ก็จะทําให้ชุมชน เกิดความเข้มแข็ง
แนวทางปฏิบัติ
1. สร้างเวทีการเรียนรู้ เช่น เวทีประชาคมตําบล/อําเภอ ร้านค้าชุมชน ตลาดนัดชุมชน ฯลฯ
2. วิเคราะห์ศักยภาพของท้องถิ่น (ทุนในชุมชน)
3. วางแผนพัฒนา “เศรษฐกิจแบบพอเพียง” ตามขั้นตอนของ “ทฤษฎีใหม่”
4. ส่งเสริมการรวมกลุ่ม (กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์) และการสร้างเครือข่ายองค์กรชุมชน
5. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การแปรรูป การบรรจุหีบห่อ การสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
6. พัฒนาระบบตลาด เช่น ตลาดในท้องถิ่น สร้างเครือข่ายผู้ผลิต-ผู้บริโภค เชื่อมโยงผู้ผลิตกับ
ตลาดในเมือง/โรงงาน อุตสาหกรรมการเกษตร ฯลฯ
7. พัฒนากิจกรรมทางด้านการศึกษา สังคม วัฒนธรรม สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม
8. วิจัยเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
9. สร้างศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนแบบเบ็ดเสร็จระดับอําเภอ/จังหวัด โดยเน้นการมีส่วน
ร่วมขององค์กรชุมชนท้องถิ่น
10. สร้างหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และพัฒนาสถานที่ศึกษาดูงาน
11. พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร เพื่อใช้ช่วยตัดสินใจในการทําธุรกิจชุมชน
12. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสู่สังคมในวงกว้าง
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
79
หลักการของการส่งเสริมอาชีพ
ตามหลักการแนวคิดและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางสายกลาง ความไม่
ประมาท คํานึงถึงหลักความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล โดยมีความรู้ มีข้อมูล มีภูมิปัญญา ท้องถิ่น เป็นทุนของท้
องถิ่นสร้างความมั่นคงเข้มแข็งให้กับประชาชน รู้เท่าทัน เข้าใจ การเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอก ที่ส่งผลต่
อการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ มีความรอบคอบทั้ง การดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ วิถี
การดําเนินชีวิตที่มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยัน ความอดทน มุ่งมั่นเพื่อให้ประสบความสําเร็จ
มีรายได้ อาชีพ พึ่งตนเองได้และมีกําลัง ที่สนับสนุนแบ่งปัน ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสภาพแวดล้อม
ของประชาชน ทั้งในระดับ บุคคล ระดับครอบครัวและชุมชน สังคม อย่างมีความสุข
การพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในระดับบุคคลและ ครัวเรือน ระดับ
ชุมชน โดยนําปรัชญาพระราชทาน “เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางหลัก ในการดําเนินงานภายใต้
หลักการ การลดรายจ่าย สร้างรายได้ ขยายโอกาสให้แก่ประชาชนบนพื้นฐาน ความสมดุล ทั้งทางเศรษฐกิจและ
สังคม โดยมีแนวทางและวิธีการดําเนินงาน คือ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ
1) การลดรายจ่าย
2) การเพิ่มรายได้
3) การขยายโอกาส
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
80
ใบงานที่ 4.1
พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน
ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ ..............................................
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา...........................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน
1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาพื้นฐาน
ของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชนตามความเข้าใจของแต่ละกลุ่ม
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 5 นาที)
3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพ
ของชุมชน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
81
ใบความรู้ที่ 4.2
บทความ เศรษฐกิจชุมชน
เศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้
โดย เสรี พงศ์พิศ มติชนรายวัน วันที่ 04 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ปีที่ 27 ฉบับที่ 9462
ในชุมชนหมู่บ้านมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากมาย ทั้งการทํามาหากิน และกิจกรรมที่ถูกนําเข้าไปจาก
ภายนอกโดยบุคคลหรือองค์กร ทั้งภาครัฐภาคเอกชน แต่เหล่านี้อาจเปรียบเหมือนต้นไม้หลายต้น แต่ไม่มีป่า
ไม่มี "ระบบเศรษฐกิจชุมชน" ระบบที่เกิดจากการเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเกิดพลังและสามารถ
"ขับเคลื่อน" ไปได้ด้วยตัวมันเอง มีต้นไม้แต่ไม่มีป่า หมายถึงไม่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นร้อยเป็นพัน
ที่เกื้อกูลกัน เศรษฐกิจชุมชนวันนี้จึงมีแต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเดี่ยวๆ ไม่กี่อย่าง ไม่ทํานาก็ปลูกมัน
สําปะหลังไม่ปลูกปาล์มก็ปลูกยาง ไม่รับจ้างก็ทําประมงชายฝั่ง วนเวียนอยู่อย่างนี้ชั่วนาตาปี หนี้สินเพิ่มขึ้นทุก
วันเพราะรายรับไม่พอรายจ่าย โครงการพัฒนาต่างๆ ที่ใครต่อใครส่งเข้าไปในหมู่บ้านถ้าหากยังอยู่(ไม่ล้มหรือ
เลิกไปก่อน) ก็อยู่แบบ "ของใครของมัน" ขึ้นอยู่กับว่าหน่วยงานไหนส่งเข้าไป
เศรษฐกิจชุมชนที่เป็นอยู่วันนี้ไม่มีระบบ เป็นอะไรที่ขึ้นต่อระบบใหญ่ ไปรวมศูนย์ที่กรุงเทพฯ สัมพันธ์
กับระบบใหญ่แบบ(ผู้ถูก)อุปถัมภ์ ระบบใหญ่ที่ให้ตัวแทนเข้าไปจัดการ ทั้งข้าราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ
นักวิชาการ รวมทั้งที่เรียกกันว่านักพัฒนา เข้าไปด้วยระบบและกลไกต่างๆ ในนามของการศึกษา การพัฒนา
สุขภาพ เพื่อช่วยให้ผู้คนหาย "โง่ จน เจ็บ"
ตั้งแต่ 2504 เมื่อผู้ใหญ่ลีตีกลองประชุม ปีแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแผนที่ 1 (ที่ยังไม่มีคํา
ว่าสังคม) วิถีชุมชนเริ่มเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เข้าสู่สังคมบริโภค หาเงินทุกวิถีทางเพื่อนําไปซื้ออยู่ซื้อกิน แทน
การทํามาหากิน นําเอาทรัพยากรท้องถิ่นไปขาย แบบล้างผลาญ ทําลายดิน น้ํา ป่า ปลาและสัตว์จนไม่เหลือ
ขายทรัพยากรหมดก็ขายแรงงาน ไปรับจ้างในเมือง รับจ้างในต่างประเทศ การพัฒนาที่ผ่านมาได้ทําลายระบบ
เศรษฐกิจชุมชนแบบเดิมไปจนหมด เศรษฐกิจชุมชนดั้งเดิมนั้นเป็น "ระบบ" เพราะทุกอย่างสัมพันธ์กัน เกื้อกูล
กัน เป็นวิถีที่ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ พึ่งพาอาศัยธรรมชาติ พึ่งพาอาศัยกันเอง
ระบบเศรษฐกิจชุมชนถูกทําลายไปด้วยนโยบายพัฒนาแบบ "พรุ่งนี้รวย" ที่ลากชาวบ้านเข้าสู่ระบบทุน
นิยมโดยไม่มีความพร้อมอะไรเลย ไม่มีการเรียนรู้ ไม่มีข้อมูลเพียงพอเพื่อการตัดสินใจด้วยตัวเอง ต้องพึ่งพา
อาศัยคนอื่นที่ให้แต่ข้อมูลดีๆ เพียงด้านเดียว ข้อมูลที่เสริมความอยากของธรรมชาติมนุษย์ ซึ่งมีกันทุกคน
อยากมี อยากร่ํา อยากรวย เพื่อจะได้สบาย ไม่ลําบาก
ระบบทุนนิยมมีปรัชญาที่ก่อให้เกิด "ลัทธิบูชาเงิน" และ "สังคมบ้าบริโภค" ซึ่งต้องไปด้วยกัน นี่คือ
เหตุผลที่ต้องกระตุ้นให้ "รากหญ้า" ใช้จ่ายเงิน ซื้อข้าวซื้อของที่มักอ้างว่าเป็นผลผลิตจากในประเทศ(อย่าง
รถยนต์ มอเตอร์ไซค์ มือถือ?) โดยไม่คํานึงว่า หนี้สินที่เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวบ้านขนาดไหน
และจะส่งผลระยะยาวต่อสังคมโดยรวมอย่างไร ปัญหาหนี้สินของชาวบ้านแตกต่างจากหนี้สินของนักธุรกิจ
หรือข้าราชการ ซึ่งหนี้สินเป็นส่วนหนึ่งของวิถีธุรกิจและชีวิตของคนชั้นกลางที่มีเงินเดือน แต่ชาวบ้านทั่วไปใน
ชนบทไม่ได้มีความมั่นคงของรายได้และชีวิตขนาดนั้น หนี้ต่างๆ จึงเป็นหนี้ที่ไม่มีทางออก ต้องกู้หนี้มาใช้หนี้
เวียนไปเวียนมารอบแล้วรอบเล่า บางคนกู้ ธ.ก.ส. มา 5,000 เมื่อ 10 ปีที่แล้ว วันนี้เป็นหนี้ 150,000 ก็ไม่ใช่
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
82
เรื่องแปลกเพราะดอกร้อยละ 10-20 ที่กู้กันเป็นรายวันรายเดือนเป็นเรื่องปกติ กู้พ่อค้าไปคืน ธ.ก.ส. กู้ ธ.ก.ส.
ไปคืนพ่อค้า เอาส่วนหนึ่งไว้กินไว้ใช้ กลายเป็น "วัวพันหลัก" ที่พันจนเชือกรัดคอ ไม่ถอยก็ตาย
ความล้มเหลวของชาวบ้านมาจากการขาดความรู้ และไม่มีใครสนใจช่วยให้พวกเขาเกิดการเรียนรู้
จริงๆ ปล่อยให้เรียนกันตามบุญตามกรรม จัดอบรมก็จัดตามที่คนจัดอยากให้รู้ หรือไม่ก็บอกให้ไปลงทะเบียน
เรียน กศน. และไปต่อมหาวิทยาลัยเปิดเพื่อจะได้ประกาศนียบัตรและใบปริญญา
การช่วยให้ชุมชนเรียนรู้ไม่ได้หมายถึงการช่วยให้พวกเขาหายโง่ หายจน หายเจ็บ แบบเดิมๆ อีกต่อไป
แต่หมายถึงการช่วยให้พวกเขาค้นพบศักยภาพที่แท้จริงของตนเอง และพัฒนาศักยภาพดังกล่าวไปสู่การ
พึ่งตนเองวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ว่านี้เรียกกันวันนี้ว่า "ประชาพิจัย" คือชาวบ้านวิจัยตนเองพวกเขา
เรียนรู้จักตนเอง ชุมชน และโลก เรียนรู้จักเอกลักษณ์และรากเหง้า ความรู้ภูมิปัญญาทรัพยากรท้องถิ่น เรียนรู้
สถานภาพที่แท้จริงของตนเอง รายรับ รายจ่าย หนี้สิน สุขภาพ สิ่งแวดล้อม รู้ทั้งปัญหา ความต้องการ และทุน
ของตนเอง ทุนที่จะช่วยให้พบทางออกได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องรอรัฐช่วย ไม่ใช่ปฏิเสธรัฐ แต่บทบาทของรัฐคือ
การช่วยให้พวกเขาได้เรียนรู้ และไปเติมเต็มให้พวกเขา ให้พึ่งตนเองได้ มากกว่าไปทําให้พวกเขาขึ้นต่อรัฐแบบผู้
นั่งรอรับความเอื้ออาทร ข้อมูลที่ชาวบ้านไปสํารวจด้วยตัวเอง นํามาวิเคราะห์ประมวลผลนําไปสู่การพัฒนา
แผนแม่บทชุมชน แผนยุทธศาสตร์ของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเองอย่างมั่นคง ชาวบ้านรู้ว่า
ตนเองเป็นหนี้เท่าไร มีปัญหาอะไร และควรจะหาทางออกอย่างไร เมื่อรู้ว่ารายได้ทั้งตําบลมีเพียง 60 ล้านบาท
แต่หนี้สินมีเกือบ 100 ล้าน และรายจ่ายอีก 100 กว่าล้าน พวกเขาจะอยู่ได้อย่างไรถ้าไม่รีบจัดการตนเอง จัด
"ระบบชีวิต" ใหม่ ทั้งระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคม พวกเขารู้ว่ารายได้มีเพียง 60 ล้าน เพราะทําแค่สองสาม
อย่าง ทํานา ทําสวนผลไม้ รับจ้างพวกเขาเริ่มสํารวจทีละอย่างที่ตนเองซื้อกินและซื้อใช้ว่า มีอย่างไหนบ้างที่พอ
ทําเองได้ จะได้ลดรายจ่าย ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มรายได้
พวกเขาตั้งคําถามว่า ทําไมต้องทํานาแล้วขายข้าวเปลือกหมด แล้วไปซื้อข้าวสารในตลาดมากินเป็น
เงินปีละ 8-9 ล้านบาททั้งตําบล ทําไมต้องซื้อน้ําปลากินปีละ 8-9 แสนบาท ทั้งๆ ที่ทํากินเองก็ได้ ทําไมต้องซื้อ
น้ํายาล้างจาน แชมพู สบู่ น้ํายาซักผ้า ปีละล้านกว่าบาท ทั้งๆ ที่ทําได้เอง และถูกกว่าที่ซื้อจากตลาดสามสี่เท่า
ทําไมต้องซื้อปุ๋ยปีละ 10 ล้าน เพื่อใส่นาใส่สวน ทั้งๆ ที่ผลิตปุ๋ยชีวภาพได้เอง ใช้วัสดุท้องถิ่น และประหยัดได้ 7-
8 ล้านบาท
ข้อมูลทําให้ชุมชนต่างๆ เริ่มเข้าใจว่า พวกเขาจะอยู่แบบเดิม ที่ทําเพียงสองสามอย่าง แล้วเอาเงินไป
ซื้อทุกอย่างไม่ได้อีกแล้ว วันนี้พวกเขาต้องทําสัก 20-30 อย่าง และต้องสร้าง "ระบบเศรษฐกิจชุมชน" ขึ้นอย่าง
จริงจัง เป็นระบบที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง และสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจใหญ่แบบเกื้อกูลกัน ไม่ใช่แบบอุปถัมภ์
เหมือนไม้เล็กในป่าใหญ่ที่อยู่ได้โดยการเกื้อกูลกันกับไม้ใหญ่น้อยและสรรพสิ่งในป่าแห่งนั้น ชุมชนหลายแห่ง
วันนี้เห็นผลและเชื่อว่า มาถูกทางแล้ว เห็นว่าการ "ลดรายจ่าย" นั้นเท่ากับ "เพิ่มรายได้" และ "ขยายโอกาส"
จริง แต่ไม่ใช่ด้วยโครงการอะไรที่ใครเอามาให้แบบเดิม แต่เริ่มต้นด้วยการ "ระเบิดจากข้างใน" อย่างที่ในหลวง
ทรงบอกการเรียนรู้ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากข้างใน
ถ้ามีการลดรายจ่ายหนึ่งในสี่อย่างที่ในหลวงทรงแนะนําในเศรษฐกิจพอเพียง ระบบเศรษฐกิจชุมชนก็จะเกิด
และอยู่ได้ เพราะเมื่อชาวบ้านทํากินทําใช้เองส่วนหนึ่ง จะทําให้เกิดรายรับที่ไม่ได้คูณ 2 แต่อาจจะคูณ 3 หรือ 4
หรือมากกว่า
ปัญหาของชุมชนไม่ใช่จนเงิน จนทรัพยากร แต่จนข้อมูล จนความรู้ จนปัญญา ถ้าให้เงินไปโดยไม่มี
การเรียนรู้ก็จะไม่เกิดการพัฒนา แต่จะเกิดหนี้เน่ามากขึ้น เป็นการสร้างปัญหาและภาระใช้ชุมชน แต่ถ้าหากมี
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
83
การเรียนรู้ มีข้อมูล มีแผน เงินที่ให้ไปก็จะเกิดประโยชน์ เพราะเอาไปลงทุนจริง อย่างกองทุน 1 ล้าน จะต้องได้
อีกหลายล้าน ไม่ใช่ค่อยๆ หดหายไปอย่างที่กําลังเกิดขึ้น
เศรษฐกิจชุมชนจะเกิดได้ด้วยฐานความรู้ที่นําไปสู่การเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ สร้างเป็นระบบ
เศรษฐกิจชุมชนที่อยู่บนฐานข้อมูลและความรู้ ไม่ใช่ความเห็น ความรู้สึก หรือความอยาก เป็นระบบที่เชื่อมโยง
เครือข่ายเศรษฐกิจท้องถิ่นต่างๆ เข้าด้วยกัน
เศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง เศรษฐกิจสองระบบหรือสองแนวก็จะเกิดได้และขีดความสามารถ
ในการแข่งขันก็จะเพิ่มขึ้น เหมือนคนที่สองขาแข็งแรง ย่อมวิ่งแข่งกับใครก็ได้
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
84
ใบงานที่ 4.2
บทความ เศรษฐกิจชุมชน
ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ ..............................................
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา...........................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน
1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาบทความ
เศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้ ตามความเข้าใจของแต่ละกลุ่ม ว่าได้รับความรู้อะไรเพิ่มเติมจากบทความนี้
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 5 นาที)
3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับบทความเศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้ มาประยุกต์
ใช้ในแต่ละบุคคลและแต่ละอาชีพอย่างไร
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
85
ใบความรู้ที่ 4.3
การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ชุมชนเกิดจากการรวมตัวของผู้คนทั้งในชนบทและในเมือง ในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน อําเภอ
จังหวัด ในอาชีพหนึ่งหรือในความสนใจร่วมกันของคนหลายอาชีพจากหลายแห่งหลายพื้นที่การรวมตัวกัน
ดังกล่าวมีทั้งที่เป็นมูลนิธิ เป็นสหกรณ์ สมาคม หรือรูปแบบอื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียน รวมกันเป็นกลุ่มอาชีพ
เป็นชมรม มีกติกาหลักการและกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน การเสริมสร้างให้ชุมชนมีการรวมตัวอย่างเข้มแข็ง
มาร่วมคิดร่วมเรียนรู้สู่การปฏิบัติ มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการองค์ความรู้ในรูปแบบที่หลากหลายตาม
ภูมิสังคม ที่เหมาะสมสอดรับกับการดําเนินชีวิตบนฐานทรัพยากร ภูมิปัญญา และวิถีวัฒนธรรมชุมชน ด้วย
ความรอบคอบและระมัดระวัง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรักความเอื้ออาทร มีความสามัคคี เสียสละ
มุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองและผู้อื่น จึงเป็นการอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการดําเนิน
กิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อมุ่งไปสู่ความสุขที่เกิดจาก ความสมดุล ความพอประมาณอย่างมี
เหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้ ชุมชนสามารถบริหารจัดการใช้ประโยชน์จากทุนทาง
เศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างมีดุลยภาพสอดคล้องเชื่อมโยง
กับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน เพิ่มพูนความสัมพันธ์อันใกล้ชิดทางสังคมระหว่างผู้คนทั้ง
ภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้ การรวมตัวกันอย่างเข้มแข็งของคนในชุมชนนอกจากจะสามารถป้องกันและ
แก้ไขปัญหาที่ยากและสลับซับซ้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาความยากจนที่มีความเป็นองค์รวมเกี่ยวพันทั้งใน
ด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการปกครอง ซึ่งต้องอาศัยชุมชนที่เข้มแข็งเป็นเสาหลักในการร่วมมือร่วมใจ
ดําเนินการให้หลุดพ้นจากความยากจนตลอดไปแล้ว ยังช่วยให้ชุมชนสามารถพัฒนาอนาคตของชุมชนได้อีกด้วย
วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นสะท้อนถึงความไม่สมดุลของกระบวนการพัฒนาประเทศ ประกอบกับการที่
ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว ขณะที่กระแสโลกาภิวัตน์ได้นําพาระบบเศรษฐกิจยุคใหม่และ
การสื่อสารไร้พรมแดนเข้ามา ความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ภาวะความเป็นเมืองมากขึ้น
และพฤติกรรมการบริโภคเลียนแบบโลกตะวันตก ล้วนส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนทั้งสิ้น ปัจจัย
ดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามหากชุมชนขาดความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขณะเดียวกันอาจเป็น
โอกาสในการพัฒนาของชุมชนได้เช่นกัน หากชุมชนสามารถปรับตัวและใช้ประโยชน์จากบริบทการ
เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
เพื่อเสริมสร้างให้สังคมไทยอยู่เย็นเป็นสุข ด้วยวิถีปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนที่
เข้มแข็ง จึงเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน โดยที่ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจะช่วย
สนับสนุนส่งเสริมให้ชุมชนสามารถจัดกิจกรรมที่เป็นองค์รวม มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้
ร่วมกันของคนในชุมชนด้วยทุนทางทรัพยากรและศักยภาพของชุมชน มีการผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเองอย่าง
พอเพียง พึ่งพาตนเองได้ มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกชุมชนบนพื้นฐานการเคารพ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม นําไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เกิดความสมานฉันท์ มีการอนุรักษ์
พัฒนาและใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ได้อย่างเหมาะสมยั่งยืนนําไปสู่สภาวะดินดําน้ํา
ชุ่ม ป่าไม้ พืชพรรณ สัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ และสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ปลอดมลภาวะ อยู่ร่วมกับ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสันติและเกื้อกูลเกิดความสงบสุขร่มเย็น สามารถแก้ปัญหาความ
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
86
ยากจนอย่างมีบูรณาการ มีภูมิคุ้มกันสามารถต้านรับและใช้ประโยชน์จากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่าง
รู้เท่าทัน และมีบทบาทที่เข้มแข็งในการพัฒนาประเทศ
แนวทางการพัฒนา
3.1 การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการส่งเสริมการรวมตัวเรียนรู้ร่วมคิด
ร่วมทดลองปฏิบัติจริง รวมทั้งการเสริมหนุนกลุ่มที่มีการรวมตัวอยู่แล้วให้เข้มแข็ง เน้นศักยภาพความพร้อม
ของชุมชน เชื่อมโยงกับการทํามาหาเลี้ยงชีพตั้งแต่ระดับปัจเจก ระดับครอบครัวจนถึงระดับชุมชน คํานึงถึง
ความพอประมาณและความพออยู่พอกินเป็นลําดับแรกก่อนที่จะเชื่อมต่อกับชุมชนและสังคมภายนอก มี
กระบวนการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน มีเครือข่ายการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกชุมชน
3.2 การสร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน ด้วยการบูรณาการกระบวนการผลิตบนฐาน
ศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนอย่างสมดุล เน้นการผลิตเพื่อการบริโภคอย่างพอเพียงภายในชุมชน
สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการลงทุนสร้างอาชีพและรายได้ที่มีการจัดสรรประโยชน์อย่างเป็นธรรมแก่
ชุมชน รวมทั้งการส่งเสริมบทบาทสตรีในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนและนําไปสู่การแก้ปัญหาความยากจน
3.3 การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกันกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
อย่างสันติและเกื้อกูลกัน ด้วยการส่งเสริมสิทธิชุมชนและกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสงวน
อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา ใช้ประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
87
ใบงานที่ 4.3
การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ ..............................................
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา...........................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน
1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาการสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชนที่นักศึกษาได้ไปค้นคว้าด้วยตนเอง และสรุป
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 15 นาที)
3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนที่นักศึกษาได้ไป
ค้นคว้าด้วยตนเอง
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
88
ใบงานที่ 4.4
เศรษฐกิจชุมชน
ชื่อ.......................................................................................รหัสนักศึกษา...........................................
สาขาวิชา ........................................................................ คณะ ..........................................................
คําชี้แจง : ให้นักศึกษาชมวีดีทัศน์ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข, ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน
ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน, ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทํา
อย่างไร และวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98 เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง
โดยให้นักศึกษาสรุปใจความสําคัญ ตามหัวข้อดังต่อไปนี้
1. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจาก
ไหน หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทํา
อย่างไรหลังจากการชมวีดีทัศน์นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องวิสาหกิจชุมชนพอเพียง หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. จากการชมวีดีทัศน์นักศึกษา สามารถนําไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับชุมชนของท่านเองได้หรือไม่
อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
89
สรุป
การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ความสําคัญต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่คนในชุมชนท้องถิ่น จึง
เป็นการพัฒนา ที่เน้นกระบวนการมากกว่ารูปแบบ และต้องการความต่อเนื่องในการปฏิบัติรวมทั้งให้
ความสําคัญต่อการพัฒนาที่เริ่มจาก ฐานทรัพยากรในท้องถิ่น (ทุนในชุมชน) ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพหุ
ภาคี ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน ฯลฯ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นอย่างบูรณาการซึ่งเป็นรากฐานที่สําคัญของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
 
 
 
 
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน
คาบรวม 4 คาบ
 
 
 
90
แบบเฉลยทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ
(จํานวนข้อสอบ 10 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน)
เฉลยทดสอบก่อนเรียน เฉลยทดสอบหลังเรียน
ข้อ คําตอบ ข้อ คําตอบ
1. X 1. X
2. 2.
3. 3.
4. 4.
5. X 5. X
6. X 6. X
7. 7.
8. 8.
9. 9.
10. X 10. X
ผู้ตรวจ…………………………………….…………
(…………………………………………….)
Unit 4  เศรษฐกิจพอเพียง

More Related Content

Viewers also liked

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56ครูสม ฟาร์มมะนาว
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม290840829041912
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1paewwaew
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราพัน พัน
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
Thawiwat Khongtor
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
Community enterprise 4
Community enterprise 4Community enterprise 4
Community enterprise 4
sutiphong
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
จตุรพล ชานันโท
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Socialkwang_reindiiz
 

Viewers also liked (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
ตัวอย่าง 012 vdo teaching how to thai carving ณัฐพล,อนันต์ 56
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
201307161449131
201307161449131201307161449131
201307161449131
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
 
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยาวิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
วิจัยแก้ไขปัญหาหมอกควันจังหวัดพะเยา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Community enterprise 4
Community enterprise 4Community enterprise 4
Community enterprise 4
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
แบบสอบถาม Social
แบบสอบถาม  Socialแบบสอบถาม  Social
แบบสอบถาม Social
 

Similar to Unit 4 เศรษฐกิจพอเพียง

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
Paew Tongpanya
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
tongkesmanee
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 

Similar to Unit 4 เศรษฐกิจพอเพียง (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

More from สุภาวดี แก้วเก้า (6)

ใบงานวิชา การบริหารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ใบงานวิชา การบริหารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใบงานวิชา การบริหารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ใบงานวิชา การบริหารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
 
Course syllabus วิชาบริหารวิสาหกิจปรับปี57
Course syllabus วิชาบริหารวิสาหกิจปรับปี57Course syllabus วิชาบริหารวิสาหกิจปรับปี57
Course syllabus วิชาบริหารวิสาหกิจปรับปี57
 
Thailaw3 68
Thailaw3 68Thailaw3 68
Thailaw3 68
 
Otop
OtopOtop
Otop
 
Sm estest
Sm estestSm estest
Sm estest
 
3211 2011
3211 20113211 2011
3211 2011
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Unit 4 เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       67 หัวข้อเรื่อง 1. พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน 2. การส่งเสริมอาชีพของชุมชน 3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สาระสําคัญ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ปัจจุบันปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจเป็นปัญหาสําคัญของชาติ โดยประสาน ความมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนองค์กรชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อให้เป็น "เศรษฐกิจของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน"อย่างแท้จริง สมรรถนะผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.นักศึกษาทราบถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน 2. ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป (จุดประสงค์ปลายทาง) มีความรู้ด้านเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพ ตลอดจนสามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (จุดประสงค์นําทาง) 1. บอกพื้นฐาน ความหมายของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชน 2. บอกการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ 3. ยกตัวอย่างกิจกรรมที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจชุมชนไปใช้ได้ถูกต้อง 4. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม เนื้อหาสาระ 1. พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน 2. การส่งเสริมอาชีพของชุมชน 3. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้(ใช้เทคนิควิธีสอนแบบอุปนัย) 1. ขั้นเตรียมการ 1.1 ทบทวนความรู้เดิม ตรวจสอบความพร้อมในการเรียน ซักถามปัญหาและแนวทางแก้ไข 1.2 กระตุ้นเตือนเรื่องความรับผิดชอบในการทํางานร่วมกันเป็นทีม การให้ความร่วมมือกับกลุ่ม 1.3 เสนอเนื้อหาและจุดประสงค์ในการเรียนเรื่องเศรษฐกิจชุมชน นักศึกษาทําแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ขั้นเสนอตัวอย่าง 2.1 นําเสนอวิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข ผู้สอนสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อดู
  • 2.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       68 วิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข 2.2 นําเสนอวีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทําอย่างไร 2.3 นําเสนอวีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน 2.4 นําเสนอวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง 2.5 นําบทวิเคราะห์ที่ได้จากการดูวิดีทัศน์มาอภิปราย 2.6 นําบทวิเคราะห์ที่ได้จากการดูวิดีทัศน์มาอภิปราย (รายบุคคล) 3. ขั้นเปรียบเทียบ 3.1 แบ่งนักศึกษาเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน หรือใกล้เคียงกัน โดยสมาชิกแต่ละกลุ่มมีความสามารถคละกัน และเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่ม 3.2 ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 4.1 4.2 และ 4.3 ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มปฏิบัติคือ 1) ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลที่ได้รับช่วยกันศึกษา ตามความคิด ความ เข้าใจของแต่ละกลุ่มดังนี้ • พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน 2 กลุ่ม • บทความเศรษฐกิจชุมชน 2 กลุ่ม • การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 2 กลุ่ม 2) แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอและอภิปราย (กลุ่มละประมาณ 5 นาที ) 3.3 ผู้สอนนําตัวอย่างที่ได้จากการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์และสาเหตุของ การเกิดพฤติกรรม 4. ขั้นสรุปกฎเกณฑ์ ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความสําคัญนักศึกษาทราบถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจ ชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชนและการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน 5. สื่อการเรียนรู้ 5.1 วิดีทัศน์ย่อ(คลิป) เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข 5.2 วีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน 5.3 วีดิทัศน์ย่อ(คลิป) ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทําอย่างไร 5.4 นําเสนอวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98 เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง 5.5 ใบความรู้ 5.6 ใบงาน 6. แหล่งการเรียนรู้ 6.1 ห้องสมุด 6.2 INTERNET http://www.uinthai.com 7. การวัดผลและประเมินผล 7.1 เรื่องที่จะการประเมิน • ความเข้าใจถึงพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน การส่งเสริมอาชีพของชุมชนและการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชน • ความเข้าใจและมีแนวทางการนําเศรษฐกิจชุมชนไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเอง
  • 3.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       69 7.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาเป็นรายบุคคลได้แก่ - ความสนใจ - การอาสาตอบคําถาม - การแสดงความคิดเห็น - การทํางานที่ได้รับมอบหมาย 2 สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่มของนักศึกษา โดยยึดกระบวนการกลุ่มได้แก่ - การร่วมกันวางแผนการทํางาน - ทํางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี - แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล - ยอมรับข้อสรุปและผลงานของกลุ่มและร่วมปรับปรุงงาน 3 สังเกตพฤติกรรมด้านการรายงานการศึกษาค้นคว้า - เนื้อหาสาระครบถ้วน ตรงตามประเด็น - ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ - ภาษาถูกต้องเหมาะสม - ค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย - รูปแบบการนําเสนอน่าสนใจ - ประเมินปรับปรุงและแสดงความรู้ 7.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลสังเกตพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลใช้เกณฑ์ดังนี้ ความสนใจ แบ่งคะแนนเป็น 3 ระดับดังนี้ ให้ 1 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนแต่ขาดความกระตือรือร้น ให้ 2 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนและมีความกระตือรือร้น ให้ 3 เมื่อนักศึกษาตั้งใจเรียนดีและมีความกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างสม่ําเสมอ เช่น การตอบคําถาม อภิปราย แสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นในการอภิปราย แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ให้ 1 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นไม่ถูกต้อง โดยไม่มีเหตุผลและไม่มีหลักเกณฑ์ ให้ 2 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถูกต้องบางส่วน โดยมีเหตุผลและหลักเกณฑ์ ให้ 3 เมื่อนักศึกษาแสดงความคิดเห็นถูกต้องโดยมาก โดยมีเหตุผลและหลักเกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน …………1.เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ก็เพื่อมุ่งพัฒนาสินค้าชุมชน ออกเป็นสินค้าส่งออก …………2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 มีการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน …………3.เศรษฐกิจชุมชน คือ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ ทั้งใน ด้านการผลิต การบริโภค และการกระจายผลผลิตโดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม …………4.ลักษณะสําคัญของเศรษฐกิจชุมชน คือ ครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต แรงงานของสมาชิกในครอบครัวเป็น ปัจจัยที่สําคัญที่สุด
  • 4.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       70 …………5.กรอบแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนของ ดร.มงคล ด่านธานินทร์ มี 5 ระบบ คือ การตั้งปณิธาน ทําอะไร ทําทําไม ทําอย่างไร ทําเพื่ออะไร …………6.การสร้างเศรษฐกิจชุมชนที่เข้มแข็งจะต้องมีการจัดตั้งเป็นกลุ่มสหกรณ์ …………7.แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนในสังคมไทย มีหลายแนวทาง แต่มีเป้าหมายในการนําชุมชนไปสู่การพึ่งตนเอง …………8.เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง คือ การผลิตการแปรรูป การบริโภค การค้า และการบริหาร ที่เป็นการตัดสินใจ ดําเนินการของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน …………9.เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ใช้แนวคิดของพุทธศาสนา “ตนนั้นแหละเป็นที่พึ่งแห่งตน” ……..…10.การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน คือ การเพิ่มกําลังอํานาจให้แก่ผู้นําชุมชน ในการคิด การทํา การมี ส่วนร่วมในการพัฒนา การแก้ปัญหาต่าง ๆ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข ภาระงานที่มอบหมาย ใบงานที่ 4.3 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน มอบหมายงาน : ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมโดยเลือกชุมชน ต้นแบบที่มีความเข้มแข็ง หรือชุมชนที่ทํารัฐวิสาหกิจชุมชนโดย ศึกษาการจัดตั้งชุมชน และการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง มากขึ้น
  • 5.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       71 กระดาษคําตอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน (จํานวนข้อสอบ 10 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน) ข้อ คําตอบ ข้อ คําตอบ 1. 1. 2. 2. 3. 3. 4. 4. 5. 5. 6. 6. 7. 7. 8. 8. 9. 9. 10. 10. ก่อนเรียนได้……………..คะแนน หลังเรียนได้……………คะแนน ผู้ตรวจ…………………………………………..…….. (…………………………………….....)
  • 6.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       72 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณภาพ จริยธรรม วันที่ ……….. เดือน……………………… พ.ศ. ………… ชื่อ …………………………………….................รหัสนักศึกษา ........................ สาขาวิชา …………………......................... คณะ …………………............ ลําดับ พฤติกรรมที่ประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ 1 2 3 4 ความหมายของระดับการประเมิน 4 = ปฏิบัติถูกต้องดีเยี่ยม 3 = ปฏิบัติได้ถูกต้อง 2 = ปฏิบัติบ้างแต่ต้องฟังคําสั่ง หรือชี้นํา 1 = ไม่ปฏิบัติ ต้องบังคับหรือว่า กล่าวตักเตือนหรือมักจะปฏิบัติ ในทางที่ผิด เกณฑ์การประเมิน 4 = 1.6 - 2 3 = 1.1 - 1.5 2 = 0.6 - 1 1 = 0 - 0.5 1 ความซื่อสัตย์สุจริต 2 การตรงต่อเวลา 3 การมีวินัย 4 ความสนใจใฝ่รู้ 5 ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 6 ความเป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี 7 ความรับผิดชอบ 8 ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน 9 การมีมนุษย์สัมพันธ์ในการทํางาน 10 ความสําเร็จในการดําเนินงานกลุ่มและรายบุคคล รวม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) บันทึก………………………………………………………………………………………………………….……………………………………… ……………………………………………………………………………...………………..………………..………………..………………..…… ลงชื่อ ……………………………………… ผู้ประเมิน
  • 7.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       73 แบบประเมินกระบวนการกลุ่มประกอบการวัดผล/ประเมินผล แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน ที่ ชื่อ-สกุล หัวข้อประเมิน (ข้อละ 4 คะแนน) รวมคะแนน สรุป การร่วมกันวางแผนการ ทํางาน ทํางานตามหน้าที่ได้รับอบ หมาย เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี แสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตุผล ยอมรับข้อสรุปและผลงาน ของกลุ่มและร่วมกัน ปรับปรุงงาน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม / เฉลี่ย เกณฑ์การประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 6-20 ได้คุณภาพดี แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 10-15 ได้คุณภาพปานกลาง แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนต่ํากว่า 10 ได้คุณภาพต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
  • 8.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       74 แบบประเมินรายงานการค้นคว้า ประกอบการวัดผล/ประเมินผล แผนการเรียนรู้ที่ …………… เรื่อง ……………………………………........................ ที่ ชื่อ-สกุล หัวข้อประเมิน (ข้อละ 5 คะแนน) รวมคะแนน สรุป เนื้อหาสาระครบถ้วนตรง ตามประเด็น ความถูกต้องของเนื้อหา สาระ ภาษาถูกต้องเหมาะสม ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ หลากหลาย ประเมินปรับปรุงและ แสดงความรู้สึกต่อ ชิ้นงาน ผ่าน ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม / เฉลี่ย เกณฑ์การประเมิน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 20-25 ได้คุณภาพดี แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนตั้งแต่ 14-19 ได้คุณภาพปานกลาง แสดงว่า ผ่าน ถ้าได้คะแนนต่ํากว่า 14 ได้คุณภาพต้องปรับปรุง แสดงว่า ไม่ผ่าน
  • 9.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       75 แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนเป็นรายบุคคล รายวิชา ………………….………………. ระดับชั้น ………….……. พฤติกรรม ประเมิน ชื่อ-สกุล ความสนใจ การแสดง ความคิดเห็น การอาสา ตอบคําถาม การรับฟัง ความคิดเห็น ของผู้อื่น ความ รับผิดชอบ ต่องาน ที่ได้รับ มอบหมาย สรุปผล การ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผู้ประเมิน …………………………………………. วันที่ ………… เดือน …………………… พ.ศ. ……………. เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ดี ปานกลาง ปรับปรุง คะแนน 3 2 1 สรุปการประเมิน ได้ 3 คะแนน แสดงว่า ผ่าน ได้ 2 คะแนน แสดงว่า ผ่าน ได้ 1 คะแนน แสดงว่า ไม่ผ่าน บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….ผู้สอน ( ............................................. )
  • 10.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       76 ใบความรู้ที่ 4.1 พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจตั้งแต่กลางปี 2540 และพระราชดํารัสของในหลวง ซึ่งพระราชทานเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 ประกอบกับปรัชญาของแผนฯ 8 ที่เน้นการพัฒนา “คน” และรัฐธรรมนูญใหม่ที่ให้ความสําคัญ ต่อ “ชุมชนท้องถิ่น” ได้สร้างกระแสอย่างกว้างขวางให้สังคมกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะเศรษฐกิจชุมชนของชุมชนในชนบท ในช่วงปี 40 ปีที่ผ่านมา การพัฒนาประเทศไมได้สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนท้องถิ่นใน ชนบท หรือ “เศรษฐกิจของฐานล่าง” ซึ่งเป็นเศรษฐกิจของประชากรส่วนใหญ่ จึงมีส่วนสําคัญยิ่งต่อความ ยั่งยืนของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม ความหมาย เศรษฐกิจชุมชนที่พึงปรารถนา คือกิจกรรมเศรษฐกิจ ทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาค บริการ ที่คนในชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมเป็นเจ้าของ โดยการพัฒนา จากฐานของ “ศักยภาพของท้องถิ่น” หรือ “ทุนในชุมชน” ซึ่งร่วมถึงเงินทุน แรงงาน วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ วัด ที่ดิน แหล่งน้ํา ความหลากหลายทาง ชีวภาพ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ฯลฯ เป้าหมายสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน คือ เพื่อพัฒนาศักยภาพตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยใช้กิจกรรมเศรษฐกิจสร้าง “กระบวนการเรียนรู้” ซึ่งจะทําให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ ใน ขณะเดียวกันยังมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ หรืออีกนัยหนึ่ง เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างบูรณาการ ฐานคิด 1. เน้นการพัฒนาอย่างบูรณาการ มีคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และยึดพื้นที่เป็นหลัก เพื่อให้การ พัฒนาตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน และสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น 2. สร้างภาคีและเครือข่ายความร่วมมือ ในลักษณะ “พหุภาคี” เพื่อประสาน “พลังสร้างสรรค์” ทั้งจาก ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน โดยมีองค์กรชุมชนเป็นแกนกลาง ส่วนภาคีอื่นๆ ทําหน้าที่ช่วยกระตุ้น อํานวยความสะดวก ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา 3. เริ่มการพัฒนาจากชุมชนท้องถิ่นไปสู่ระดับชาติ และให้องค์กรชุมชนเป็นจักรกลสําคัญในการ ดําเนินการพัฒนา เพื่อให้เกิดพลังการพัฒนาจากความต้องการของคนในชุมชน ซึ่งจะช่วยให้การพัฒนามีความ ต่อเนื่อง 4. ส่งเสริมการรวมกลุ่มชาวบ้านและการสร้างเครือข่ายองค์กรชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมใน การพัฒนา และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งด้านการศึกษา สาธารณะสุข การผลิต การตลาด การระดม ทุน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ 5. ใช้กิจกรรมเศรษฐกิจสร้างการเรียนรู้และสร้างอาชีพที่หลากหลาย เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่คนใน
  • 11.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       77 ชุมชน ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านเพศ วัย การศึกษา ความถนัด ฐานะเศรษฐกิจ ฯลฯ 6. ยึดปรัชญาการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวพระราชดํารัส “การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง” ตามขั้นตอนของ “ทฤษฎีใหม่” แนวคิดและความหมายของเศรษฐกิจชุมชน ดร.มงคล ด่านธานินทร์ ได้ให้กรอบแนวคิดในเรื่องของเศรษฐกิจชุมชนไว้อย่างน่าสนใจ รวมทั้งจะทํา ให้เราสามารถมองภาพของการพัฒนาในอนาคตได้อย่างชัดเจน มิติในการมองของท่านเป็นกรอบคิดเชิง ระบบ 1) ปณิธาน ? เศรษฐกิจชุมชน อันเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจชาติ ก็เหมือนกับเรื่องทางการเมือง การศึกษา และ การพัฒนาสังคม ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องมีความเข้าใจ และความมุ่งมั่นร่วมกัน ว่าการกระทําของเรานั้น ก็เพื่อความ รุ่งเรืองและความอยู่รอด ปลอดภัยของสังคมไทย และประชาชาติไทยทั้งมวล ในการนี้ก็มีความจําเป็นที่การ พัฒนาเศรษฐกิจระดับล่าง คือ ชุมชน ชนบทจะต้องมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจระดับบน คือ ประเทศ อีกทั้งต้องสัมพันธ์กับการเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรมของคนทั้งประเทศ การเน้น ความสําคัญของ เศรษฐกิจชุมชนโดดๆ คงไม่ช่วยให้กระบวนการเศรษฐกิจชุมชน บรรลุปณธานดังกล่าวได้ 2) ทําอะไร ? เศรษฐกิจชุมชนไม่ใช่ของใหม่สุดขั้วแต่อย่างใด แท้จริงก็คือการทํางานเพื่อการดํารงชีพในแนวสัมมา อาชีพ เพื่อ การอยู่รวมกันกับเพื่อนมนุษย์อื่นในหมู่บ้านนั่นเอง ดังนั้นชาวบ้านที่สนใจจะรวมกลุ่มในการ (1) ปลูกพืช (อันอาจจะได้แก่ ข้าว พืชไร่ ไม้ผล ไม้ดอก ไม้ประดับ สมุนไพร) เลี้ยงปศุสัตว์ และสัตว์ น้ํา รวมอยู่ ในพื้นที่ผืนเดียวกัน
  • 12.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       78 (2) กิจกรรมการผลิตที่เกี่ยวเนื่องการเกษตร เช่น การแปรรูปข้าว ผลไม้เป็นน้ําผลไม้ และไวน์ผลไม้ การแปรรูป สมุนไพร เป็นสมุนไพรผง เป็นต้น (3) กิจกรรมการผลิตนอกการเกษตร เช่น การร่วมทําอิฐบล็อก การตัดเย็บเสื้อผ้าสําเร็จรูป เป็นต้น (4) กิจกรรมบริการ เช่น บูรณะโบราณสถานในพื้นที่ร่วมกับผู้นํา และเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อเป็น แหล่งท่องเที่ยว สําหรับหารายได้เข้าหมู่บ้าน เป็นต้น 3) ทํากับใคร ? ชาวบ้านอาจรวมกลุ่มกันอย่างไม่เป็นทางการ หรือใช้กลุ่มที่เป็นนิติบุคคล เช่น กลุ่มสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร มูลนิธิ หรือสมาคม เป็นศูนย์กลางในการทํากิจกรรมที่กล่าวไปแล้ว หรือเขาอาจจะร่วมกับนักพัฒนา เอกชน เจ้าหน้าที่พัฒนา ของรัฐ (เช่น พัฒนากรตําบล เกษตรตําบล) นักวิชาการ ซึ่งอาจเรียกรวมกันว่า พหุ ภาคีในการแปรรูปผลผลิต หรือทําการ ตลาด อีทั้ง อาจร่วมทุนกับพ่อค้าหรือนักอุตสาหกรรม ทําการผลิตและ แปรรูปเป็นสินค้าตามที่ผู้บริโภคต้องการ 4) ทําอย่างไร ? โดยรวมกลุ่มดังได้กล่าว แล้วทําการผลิต แปรรูปแลกเปลี่ยนสินค้า ค้าขาย หรือบริการต่างๆ 5) ทําทําไม ? เนื่องจากชาวบ้าน มีระดับการทํามาหากินต่างกัน บ้างก็อยู่ในระดับพอมีพอกิน บ้างก็อยู่ที่ระดับ การค้า ดังนั้น การรวมกลุ่มกันผลิต จึงอาจเป็นไปเพื่อความตั้งใจ เพื่อให้เกิดความพออยู่พอกิน เพื่อความพึง พอใจ เพื่อให้คุ้มกับการ ลงทุน และเพื่อกําไร 6) เพื่ออะไร ? โดยที่รวมกลุ่ม เพื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจนี้ ถือว่าเป็นการรวมตัวในระดับล่างสุดของสังคม ดังนั้น การร่วมกันทํางานก็เพื่อให้เกิดผลให้คนมีความสุข เมื่อต่างพึงพอใจแล้ว ก็จะทําให้ชุมชน เกิดความเข้มแข็ง แนวทางปฏิบัติ 1. สร้างเวทีการเรียนรู้ เช่น เวทีประชาคมตําบล/อําเภอ ร้านค้าชุมชน ตลาดนัดชุมชน ฯลฯ 2. วิเคราะห์ศักยภาพของท้องถิ่น (ทุนในชุมชน) 3. วางแผนพัฒนา “เศรษฐกิจแบบพอเพียง” ตามขั้นตอนของ “ทฤษฎีใหม่” 4. ส่งเสริมการรวมกลุ่ม (กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์) และการสร้างเครือข่ายองค์กรชุมชน 5. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การแปรรูป การบรรจุหีบห่อ การสิ่งแวดล้อม ฯลฯ 6. พัฒนาระบบตลาด เช่น ตลาดในท้องถิ่น สร้างเครือข่ายผู้ผลิต-ผู้บริโภค เชื่อมโยงผู้ผลิตกับ ตลาดในเมือง/โรงงาน อุตสาหกรรมการเกษตร ฯลฯ 7. พัฒนากิจกรรมทางด้านการศึกษา สังคม วัฒนธรรม สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม 8. วิจัยเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน 9. สร้างศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนแบบเบ็ดเสร็จระดับอําเภอ/จังหวัด โดยเน้นการมีส่วน ร่วมขององค์กรชุมชนท้องถิ่น 10. สร้างหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และพัฒนาสถานที่ศึกษาดูงาน 11. พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร เพื่อใช้ช่วยตัดสินใจในการทําธุรกิจชุมชน 12. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนสู่สังคมในวงกว้าง
  • 13.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       79 หลักการของการส่งเสริมอาชีพ ตามหลักการแนวคิดและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางสายกลาง ความไม่ ประมาท คํานึงถึงหลักความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล โดยมีความรู้ มีข้อมูล มีภูมิปัญญา ท้องถิ่น เป็นทุนของท้ องถิ่นสร้างความมั่นคงเข้มแข็งให้กับประชาชน รู้เท่าทัน เข้าใจ การเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอก ที่ส่งผลต่ อการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ มีความรอบคอบทั้ง การดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ วิถี การดําเนินชีวิตที่มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยัน ความอดทน มุ่งมั่นเพื่อให้ประสบความสําเร็จ มีรายได้ อาชีพ พึ่งตนเองได้และมีกําลัง ที่สนับสนุนแบ่งปัน ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสภาพแวดล้อม ของประชาชน ทั้งในระดับ บุคคล ระดับครอบครัวและชุมชน สังคม อย่างมีความสุข การพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในระดับบุคคลและ ครัวเรือน ระดับ ชุมชน โดยนําปรัชญาพระราชทาน “เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางหลัก ในการดําเนินงานภายใต้ หลักการ การลดรายจ่าย สร้างรายได้ ขยายโอกาสให้แก่ประชาชนบนพื้นฐาน ความสมดุล ทั้งทางเศรษฐกิจและ สังคม โดยมีแนวทางและวิธีการดําเนินงาน คือ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ 1) การลดรายจ่าย 2) การเพิ่มรายได้ 3) การขยายโอกาส
  • 14.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       80 ใบงานที่ 4.1 พื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชน ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ .............................................. ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา........................................... .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน 1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาพื้นฐาน ของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพของชุมชนตามความเข้าใจของแต่ละกลุ่ม 2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 5 นาที) 3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของเศรษฐกิจชุมชน และการส่งเสริมอาชีพ ของชุมชน
  • 15.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       81 ใบความรู้ที่ 4.2 บทความ เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้ โดย เสรี พงศ์พิศ มติชนรายวัน วันที่ 04 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ปีที่ 27 ฉบับที่ 9462 ในชุมชนหมู่บ้านมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากมาย ทั้งการทํามาหากิน และกิจกรรมที่ถูกนําเข้าไปจาก ภายนอกโดยบุคคลหรือองค์กร ทั้งภาครัฐภาคเอกชน แต่เหล่านี้อาจเปรียบเหมือนต้นไม้หลายต้น แต่ไม่มีป่า ไม่มี "ระบบเศรษฐกิจชุมชน" ระบบที่เกิดจากการเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเกิดพลังและสามารถ "ขับเคลื่อน" ไปได้ด้วยตัวมันเอง มีต้นไม้แต่ไม่มีป่า หมายถึงไม่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นร้อยเป็นพัน ที่เกื้อกูลกัน เศรษฐกิจชุมชนวันนี้จึงมีแต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจแบบเดี่ยวๆ ไม่กี่อย่าง ไม่ทํานาก็ปลูกมัน สําปะหลังไม่ปลูกปาล์มก็ปลูกยาง ไม่รับจ้างก็ทําประมงชายฝั่ง วนเวียนอยู่อย่างนี้ชั่วนาตาปี หนี้สินเพิ่มขึ้นทุก วันเพราะรายรับไม่พอรายจ่าย โครงการพัฒนาต่างๆ ที่ใครต่อใครส่งเข้าไปในหมู่บ้านถ้าหากยังอยู่(ไม่ล้มหรือ เลิกไปก่อน) ก็อยู่แบบ "ของใครของมัน" ขึ้นอยู่กับว่าหน่วยงานไหนส่งเข้าไป เศรษฐกิจชุมชนที่เป็นอยู่วันนี้ไม่มีระบบ เป็นอะไรที่ขึ้นต่อระบบใหญ่ ไปรวมศูนย์ที่กรุงเทพฯ สัมพันธ์ กับระบบใหญ่แบบ(ผู้ถูก)อุปถัมภ์ ระบบใหญ่ที่ให้ตัวแทนเข้าไปจัดการ ทั้งข้าราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ นักวิชาการ รวมทั้งที่เรียกกันว่านักพัฒนา เข้าไปด้วยระบบและกลไกต่างๆ ในนามของการศึกษา การพัฒนา สุขภาพ เพื่อช่วยให้ผู้คนหาย "โง่ จน เจ็บ" ตั้งแต่ 2504 เมื่อผู้ใหญ่ลีตีกลองประชุม ปีแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแผนที่ 1 (ที่ยังไม่มีคํา ว่าสังคม) วิถีชุมชนเริ่มเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เข้าสู่สังคมบริโภค หาเงินทุกวิถีทางเพื่อนําไปซื้ออยู่ซื้อกิน แทน การทํามาหากิน นําเอาทรัพยากรท้องถิ่นไปขาย แบบล้างผลาญ ทําลายดิน น้ํา ป่า ปลาและสัตว์จนไม่เหลือ ขายทรัพยากรหมดก็ขายแรงงาน ไปรับจ้างในเมือง รับจ้างในต่างประเทศ การพัฒนาที่ผ่านมาได้ทําลายระบบ เศรษฐกิจชุมชนแบบเดิมไปจนหมด เศรษฐกิจชุมชนดั้งเดิมนั้นเป็น "ระบบ" เพราะทุกอย่างสัมพันธ์กัน เกื้อกูล กัน เป็นวิถีที่ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ พึ่งพาอาศัยธรรมชาติ พึ่งพาอาศัยกันเอง ระบบเศรษฐกิจชุมชนถูกทําลายไปด้วยนโยบายพัฒนาแบบ "พรุ่งนี้รวย" ที่ลากชาวบ้านเข้าสู่ระบบทุน นิยมโดยไม่มีความพร้อมอะไรเลย ไม่มีการเรียนรู้ ไม่มีข้อมูลเพียงพอเพื่อการตัดสินใจด้วยตัวเอง ต้องพึ่งพา อาศัยคนอื่นที่ให้แต่ข้อมูลดีๆ เพียงด้านเดียว ข้อมูลที่เสริมความอยากของธรรมชาติมนุษย์ ซึ่งมีกันทุกคน อยากมี อยากร่ํา อยากรวย เพื่อจะได้สบาย ไม่ลําบาก ระบบทุนนิยมมีปรัชญาที่ก่อให้เกิด "ลัทธิบูชาเงิน" และ "สังคมบ้าบริโภค" ซึ่งต้องไปด้วยกัน นี่คือ เหตุผลที่ต้องกระตุ้นให้ "รากหญ้า" ใช้จ่ายเงิน ซื้อข้าวซื้อของที่มักอ้างว่าเป็นผลผลิตจากในประเทศ(อย่าง รถยนต์ มอเตอร์ไซค์ มือถือ?) โดยไม่คํานึงว่า หนี้สินที่เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวบ้านขนาดไหน และจะส่งผลระยะยาวต่อสังคมโดยรวมอย่างไร ปัญหาหนี้สินของชาวบ้านแตกต่างจากหนี้สินของนักธุรกิจ หรือข้าราชการ ซึ่งหนี้สินเป็นส่วนหนึ่งของวิถีธุรกิจและชีวิตของคนชั้นกลางที่มีเงินเดือน แต่ชาวบ้านทั่วไปใน ชนบทไม่ได้มีความมั่นคงของรายได้และชีวิตขนาดนั้น หนี้ต่างๆ จึงเป็นหนี้ที่ไม่มีทางออก ต้องกู้หนี้มาใช้หนี้ เวียนไปเวียนมารอบแล้วรอบเล่า บางคนกู้ ธ.ก.ส. มา 5,000 เมื่อ 10 ปีที่แล้ว วันนี้เป็นหนี้ 150,000 ก็ไม่ใช่
  • 16.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       82 เรื่องแปลกเพราะดอกร้อยละ 10-20 ที่กู้กันเป็นรายวันรายเดือนเป็นเรื่องปกติ กู้พ่อค้าไปคืน ธ.ก.ส. กู้ ธ.ก.ส. ไปคืนพ่อค้า เอาส่วนหนึ่งไว้กินไว้ใช้ กลายเป็น "วัวพันหลัก" ที่พันจนเชือกรัดคอ ไม่ถอยก็ตาย ความล้มเหลวของชาวบ้านมาจากการขาดความรู้ และไม่มีใครสนใจช่วยให้พวกเขาเกิดการเรียนรู้ จริงๆ ปล่อยให้เรียนกันตามบุญตามกรรม จัดอบรมก็จัดตามที่คนจัดอยากให้รู้ หรือไม่ก็บอกให้ไปลงทะเบียน เรียน กศน. และไปต่อมหาวิทยาลัยเปิดเพื่อจะได้ประกาศนียบัตรและใบปริญญา การช่วยให้ชุมชนเรียนรู้ไม่ได้หมายถึงการช่วยให้พวกเขาหายโง่ หายจน หายเจ็บ แบบเดิมๆ อีกต่อไป แต่หมายถึงการช่วยให้พวกเขาค้นพบศักยภาพที่แท้จริงของตนเอง และพัฒนาศักยภาพดังกล่าวไปสู่การ พึ่งตนเองวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ว่านี้เรียกกันวันนี้ว่า "ประชาพิจัย" คือชาวบ้านวิจัยตนเองพวกเขา เรียนรู้จักตนเอง ชุมชน และโลก เรียนรู้จักเอกลักษณ์และรากเหง้า ความรู้ภูมิปัญญาทรัพยากรท้องถิ่น เรียนรู้ สถานภาพที่แท้จริงของตนเอง รายรับ รายจ่าย หนี้สิน สุขภาพ สิ่งแวดล้อม รู้ทั้งปัญหา ความต้องการ และทุน ของตนเอง ทุนที่จะช่วยให้พบทางออกได้ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องรอรัฐช่วย ไม่ใช่ปฏิเสธรัฐ แต่บทบาทของรัฐคือ การช่วยให้พวกเขาได้เรียนรู้ และไปเติมเต็มให้พวกเขา ให้พึ่งตนเองได้ มากกว่าไปทําให้พวกเขาขึ้นต่อรัฐแบบผู้ นั่งรอรับความเอื้ออาทร ข้อมูลที่ชาวบ้านไปสํารวจด้วยตัวเอง นํามาวิเคราะห์ประมวลผลนําไปสู่การพัฒนา แผนแม่บทชุมชน แผนยุทธศาสตร์ของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเองอย่างมั่นคง ชาวบ้านรู้ว่า ตนเองเป็นหนี้เท่าไร มีปัญหาอะไร และควรจะหาทางออกอย่างไร เมื่อรู้ว่ารายได้ทั้งตําบลมีเพียง 60 ล้านบาท แต่หนี้สินมีเกือบ 100 ล้าน และรายจ่ายอีก 100 กว่าล้าน พวกเขาจะอยู่ได้อย่างไรถ้าไม่รีบจัดการตนเอง จัด "ระบบชีวิต" ใหม่ ทั้งระบบเศรษฐกิจ ระบบสังคม พวกเขารู้ว่ารายได้มีเพียง 60 ล้าน เพราะทําแค่สองสาม อย่าง ทํานา ทําสวนผลไม้ รับจ้างพวกเขาเริ่มสํารวจทีละอย่างที่ตนเองซื้อกินและซื้อใช้ว่า มีอย่างไหนบ้างที่พอ ทําเองได้ จะได้ลดรายจ่าย ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มรายได้ พวกเขาตั้งคําถามว่า ทําไมต้องทํานาแล้วขายข้าวเปลือกหมด แล้วไปซื้อข้าวสารในตลาดมากินเป็น เงินปีละ 8-9 ล้านบาททั้งตําบล ทําไมต้องซื้อน้ําปลากินปีละ 8-9 แสนบาท ทั้งๆ ที่ทํากินเองก็ได้ ทําไมต้องซื้อ น้ํายาล้างจาน แชมพู สบู่ น้ํายาซักผ้า ปีละล้านกว่าบาท ทั้งๆ ที่ทําได้เอง และถูกกว่าที่ซื้อจากตลาดสามสี่เท่า ทําไมต้องซื้อปุ๋ยปีละ 10 ล้าน เพื่อใส่นาใส่สวน ทั้งๆ ที่ผลิตปุ๋ยชีวภาพได้เอง ใช้วัสดุท้องถิ่น และประหยัดได้ 7- 8 ล้านบาท ข้อมูลทําให้ชุมชนต่างๆ เริ่มเข้าใจว่า พวกเขาจะอยู่แบบเดิม ที่ทําเพียงสองสามอย่าง แล้วเอาเงินไป ซื้อทุกอย่างไม่ได้อีกแล้ว วันนี้พวกเขาต้องทําสัก 20-30 อย่าง และต้องสร้าง "ระบบเศรษฐกิจชุมชน" ขึ้นอย่าง จริงจัง เป็นระบบที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง และสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจใหญ่แบบเกื้อกูลกัน ไม่ใช่แบบอุปถัมภ์ เหมือนไม้เล็กในป่าใหญ่ที่อยู่ได้โดยการเกื้อกูลกันกับไม้ใหญ่น้อยและสรรพสิ่งในป่าแห่งนั้น ชุมชนหลายแห่ง วันนี้เห็นผลและเชื่อว่า มาถูกทางแล้ว เห็นว่าการ "ลดรายจ่าย" นั้นเท่ากับ "เพิ่มรายได้" และ "ขยายโอกาส" จริง แต่ไม่ใช่ด้วยโครงการอะไรที่ใครเอามาให้แบบเดิม แต่เริ่มต้นด้วยการ "ระเบิดจากข้างใน" อย่างที่ในหลวง ทรงบอกการเรียนรู้ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากข้างใน ถ้ามีการลดรายจ่ายหนึ่งในสี่อย่างที่ในหลวงทรงแนะนําในเศรษฐกิจพอเพียง ระบบเศรษฐกิจชุมชนก็จะเกิด และอยู่ได้ เพราะเมื่อชาวบ้านทํากินทําใช้เองส่วนหนึ่ง จะทําให้เกิดรายรับที่ไม่ได้คูณ 2 แต่อาจจะคูณ 3 หรือ 4 หรือมากกว่า ปัญหาของชุมชนไม่ใช่จนเงิน จนทรัพยากร แต่จนข้อมูล จนความรู้ จนปัญญา ถ้าให้เงินไปโดยไม่มี การเรียนรู้ก็จะไม่เกิดการพัฒนา แต่จะเกิดหนี้เน่ามากขึ้น เป็นการสร้างปัญหาและภาระใช้ชุมชน แต่ถ้าหากมี
  • 17.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       83 การเรียนรู้ มีข้อมูล มีแผน เงินที่ให้ไปก็จะเกิดประโยชน์ เพราะเอาไปลงทุนจริง อย่างกองทุน 1 ล้าน จะต้องได้ อีกหลายล้าน ไม่ใช่ค่อยๆ หดหายไปอย่างที่กําลังเกิดขึ้น เศรษฐกิจชุมชนจะเกิดได้ด้วยฐานความรู้ที่นําไปสู่การเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ สร้างเป็นระบบ เศรษฐกิจชุมชนที่อยู่บนฐานข้อมูลและความรู้ ไม่ใช่ความเห็น ความรู้สึก หรือความอยาก เป็นระบบที่เชื่อมโยง เครือข่ายเศรษฐกิจท้องถิ่นต่างๆ เข้าด้วยกัน เศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง เศรษฐกิจสองระบบหรือสองแนวก็จะเกิดได้และขีดความสามารถ ในการแข่งขันก็จะเพิ่มขึ้น เหมือนคนที่สองขาแข็งแรง ย่อมวิ่งแข่งกับใครก็ได้
  • 18.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       84 ใบงานที่ 4.2 บทความ เศรษฐกิจชุมชน ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ .............................................. ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา........................................... .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน 1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาบทความ เศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้ ตามความเข้าใจของแต่ละกลุ่ม ว่าได้รับความรู้อะไรเพิ่มเติมจากบทความนี้ 2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 5 นาที) 3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับบทความเศรษฐกิจชุมชน บนฐานความรู้ มาประยุกต์ ใช้ในแต่ละบุคคลและแต่ละอาชีพอย่างไร
  • 19.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       85 ใบความรู้ที่ 4.3 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ชุมชนเกิดจากการรวมตัวของผู้คนทั้งในชนบทและในเมือง ในหมู่บ้านและระหว่างหมู่บ้าน อําเภอ จังหวัด ในอาชีพหนึ่งหรือในความสนใจร่วมกันของคนหลายอาชีพจากหลายแห่งหลายพื้นที่การรวมตัวกัน ดังกล่าวมีทั้งที่เป็นมูลนิธิ เป็นสหกรณ์ สมาคม หรือรูปแบบอื่นๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียน รวมกันเป็นกลุ่มอาชีพ เป็นชมรม มีกติกาหลักการและกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน การเสริมสร้างให้ชุมชนมีการรวมตัวอย่างเข้มแข็ง มาร่วมคิดร่วมเรียนรู้สู่การปฏิบัติ มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการองค์ความรู้ในรูปแบบที่หลากหลายตาม ภูมิสังคม ที่เหมาะสมสอดรับกับการดําเนินชีวิตบนฐานทรัพยากร ภูมิปัญญา และวิถีวัฒนธรรมชุมชน ด้วย ความรอบคอบและระมัดระวัง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรักความเอื้ออาทร มีความสามัคคี เสียสละ มุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองและผู้อื่น จึงเป็นการอัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการดําเนิน กิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อมุ่งไปสู่ความสุขที่เกิดจาก ความสมดุล ความพอประมาณอย่างมี เหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้ ชุมชนสามารถบริหารจัดการใช้ประโยชน์จากทุนทาง เศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างมีดุลยภาพสอดคล้องเชื่อมโยง กับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน เพิ่มพูนความสัมพันธ์อันใกล้ชิดทางสังคมระหว่างผู้คนทั้ง ภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้ การรวมตัวกันอย่างเข้มแข็งของคนในชุมชนนอกจากจะสามารถป้องกันและ แก้ไขปัญหาที่ยากและสลับซับซ้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาความยากจนที่มีความเป็นองค์รวมเกี่ยวพันทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการปกครอง ซึ่งต้องอาศัยชุมชนที่เข้มแข็งเป็นเสาหลักในการร่วมมือร่วมใจ ดําเนินการให้หลุดพ้นจากความยากจนตลอดไปแล้ว ยังช่วยให้ชุมชนสามารถพัฒนาอนาคตของชุมชนได้อีกด้วย วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นสะท้อนถึงความไม่สมดุลของกระบวนการพัฒนาประเทศ ประกอบกับการที่ ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว ขณะที่กระแสโลกาภิวัตน์ได้นําพาระบบเศรษฐกิจยุคใหม่และ การสื่อสารไร้พรมแดนเข้ามา ความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ภาวะความเป็นเมืองมากขึ้น และพฤติกรรมการบริโภคเลียนแบบโลกตะวันตก ล้วนส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนทั้งสิ้น ปัจจัย ดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามหากชุมชนขาดความรอบรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ขณะเดียวกันอาจเป็น โอกาสในการพัฒนาของชุมชนได้เช่นกัน หากชุมชนสามารถปรับตัวและใช้ประโยชน์จากบริบทการ เปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม เพื่อเสริมสร้างให้สังคมไทยอยู่เย็นเป็นสุข ด้วยวิถีปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนที่ เข้มแข็ง จึงเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน โดยที่ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจะช่วย สนับสนุนส่งเสริมให้ชุมชนสามารถจัดกิจกรรมที่เป็นองค์รวม มีกระบวนการเรียนรู้และการจัดการความรู้ ร่วมกันของคนในชุมชนด้วยทุนทางทรัพยากรและศักยภาพของชุมชน มีการผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเองอย่าง พอเพียง พึ่งพาตนเองได้ มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกชุมชนบนพื้นฐานการเคารพ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม นําไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เกิดความสมานฉันท์ มีการอนุรักษ์ พัฒนาและใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ได้อย่างเหมาะสมยั่งยืนนําไปสู่สภาวะดินดําน้ํา ชุ่ม ป่าไม้ พืชพรรณ สัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ และสิ่งแวดล้อมน่าอยู่ปลอดมลภาวะ อยู่ร่วมกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสันติและเกื้อกูลเกิดความสงบสุขร่มเย็น สามารถแก้ปัญหาความ
  • 20.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       86 ยากจนอย่างมีบูรณาการ มีภูมิคุ้มกันสามารถต้านรับและใช้ประโยชน์จากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่าง รู้เท่าทัน และมีบทบาทที่เข้มแข็งในการพัฒนาประเทศ แนวทางการพัฒนา 3.1 การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการส่งเสริมการรวมตัวเรียนรู้ร่วมคิด ร่วมทดลองปฏิบัติจริง รวมทั้งการเสริมหนุนกลุ่มที่มีการรวมตัวอยู่แล้วให้เข้มแข็ง เน้นศักยภาพความพร้อม ของชุมชน เชื่อมโยงกับการทํามาหาเลี้ยงชีพตั้งแต่ระดับปัจเจก ระดับครอบครัวจนถึงระดับชุมชน คํานึงถึง ความพอประมาณและความพออยู่พอกินเป็นลําดับแรกก่อนที่จะเชื่อมต่อกับชุมชนและสังคมภายนอก มี กระบวนการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน มีเครือข่ายการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกชุมชน 3.2 การสร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน ด้วยการบูรณาการกระบวนการผลิตบนฐาน ศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนอย่างสมดุล เน้นการผลิตเพื่อการบริโภคอย่างพอเพียงภายในชุมชน สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการลงทุนสร้างอาชีพและรายได้ที่มีการจัดสรรประโยชน์อย่างเป็นธรรมแก่ ชุมชน รวมทั้งการส่งเสริมบทบาทสตรีในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนและนําไปสู่การแก้ปัญหาความยากจน 3.3 การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกันกับทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างสันติและเกื้อกูลกัน ด้วยการส่งเสริมสิทธิชุมชนและกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา ใช้ประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
  • 21.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       87 ใบงานที่ 4.3 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ชื่อกลุ่ม…………………………………..สาขาวิชา .................................... คณะ .............................................. ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ...............................................................รหัสนักศึกษา........................................... .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... คําชี้แจง : แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบทุกคน โดยเฉลี่ยตามภาระงาน 1. ให้สมาชิกกลุ่มทุกคนใช้ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ได้รับช่วยกันศึกษาการสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนที่นักศึกษาได้ไปค้นคว้าด้วยตนเอง และสรุป 2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนําเสนอ (กลุ่มละประมาณ 15 นาที) 3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนที่นักศึกษาได้ไป ค้นคว้าด้วยตนเอง
  • 22.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       88 ใบงานที่ 4.4 เศรษฐกิจชุมชน ชื่อ.......................................................................................รหัสนักศึกษา........................................... สาขาวิชา ........................................................................ คณะ .......................................................... คําชี้แจง : ให้นักศึกษาชมวีดีทัศน์ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข, ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจากไหน, ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทํา อย่างไร และวีดิทัศน์ รายการ 108 วันมหัศจรรย์ ชุมชนพอเพียง ตอนที่ 98 เรื่อง วิสาหกิจชุมชนพอเพียง โดยให้นักศึกษาสรุปใจความสําคัญ ตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงสู่สังคมเป็นสุข หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน วิสาหกิจชุมชนเอาเงินมาจาก ไหน หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตอน การตลาดของวิสาหกิจชุมชนทํา อย่างไรหลังจากการชมวีดีทัศน์นี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. นักศึกษามีสรุปความรู้ความเข้าใจเรื่องวิสาหกิจชุมชนพอเพียง หลังจากการชมวีดีทัศน์นี้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จากการชมวีดีทัศน์นักศึกษา สามารถนําไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับชุมชนของท่านเองได้หรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 23.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       89 สรุป การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ความสําคัญต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่คนในชุมชนท้องถิ่น จึง เป็นการพัฒนา ที่เน้นกระบวนการมากกว่ารูปแบบ และต้องการความต่อเนื่องในการปฏิบัติรวมทั้งให้ ความสําคัญต่อการพัฒนาที่เริ่มจาก ฐานทรัพยากรในท้องถิ่น (ทุนในชุมชน) ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพหุ ภาคี ได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน ฯลฯ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นอย่างบูรณาการซึ่งเป็นรากฐานที่สําคัญของการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
  • 24.           แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา : เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อหน่วย เศรษฐกิจพอเพียงกับเศรษฐกิจชุมชน คาบรวม 4 คาบ       90 แบบเฉลยทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ (จํานวนข้อสอบ 10 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน) เฉลยทดสอบก่อนเรียน เฉลยทดสอบหลังเรียน ข้อ คําตอบ ข้อ คําตอบ 1. X 1. X 2. 2. 3. 3. 4. 4. 5. X 5. X 6. X 6. X 7. 7. 8. 8. 9. 9. 10. X 10. X ผู้ตรวจ…………………………………….………… (…………………………………………….)