SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
เรื่อง รู้จักโปรแกรม PageMaker 7.0
1. ความเป็นมาของโปรแกรม PageMaker 7.0
โปรแกรม PageMaker 7.0 เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการจัดทาสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop Publishing) เริ่มออกวางจาหน่ายตั้งแต่ปี พ .ศ. 2528 โดย
บริษัทอัลดัส คอร์ปอเรชั่น (Aldus Corporation) ซึ่งต่อมาได้ขายกิจการให้บริษัทอะโดบีซิสเต็ม
อินคอร์ปอเรท (Adobe System Incorporated) ในปี พ.ศ. 2537 และทางบริษัทอะโดบีซิสเต็ม อิน
คอร์ปอเรท ได้วางจาหน่ายโปรแกรม ตั้งแต่ปี พ .ศ. 2544 เป็นต้นมา (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ,
ภาษาไทย, 2551)
2. ความสามารถใช้งานของโปรแกรม PageMaker 7.0
โปรแกรม PageMaker 7.0 เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่นามาใช้ในงานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่
มีทั้งรูปภาพ รูปวาด และข้อความที่สามารถตั้งค่าสีในการพิมพ์ให้ได้สิ่งพิมพ์ที่โดดเด่นได้ เช่น จัดหน้า
ต้นฉบับหนังสือ นิตยสาร วารสาร จุลสาร หรือรายงานที่มีความยาวเป็นร้อยหน้า หรือออกแบบปกทา
รูปเล่มวิทยานิพนธ์ หรือสิ่งพิมพ์
3. ลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกกฎหมาย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกกฎหมาย เรียกว่า “โปรแกรมลิขสิทธิ์” หรือที่เรียกว่า “License
Program” ถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทที่ตั้งใจผลิตโปรแกรมขึ้นมาจาหน่ายอย่างเป็นจริงเป็นจัง จึงมีการตั้ง
ราคาขายของโปรแกรมไว้สาหรับการติดตั้งลงคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง หรือเรียกว่า 1 ไลเซนท์
(License) นั่นเอง โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะได้รับการคุ้มครองโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
การใช้โปรแกรมจะต้องได้รับใบอนุญาต (License) จากเจ้าของโปรแกรมก่อนเสมอ ซึ่งใบอนุญาต
ดังกล่าวจะได้มาเมื่อเราทาการซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์
ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2537 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย ได้ทาการ
ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์และได้ออกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้แทน
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 ในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติ ได้ให้คาจากัดความที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
“ผู้สร้างสรรค์” หมายความว่า ผู้ทาหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็น
งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
“ลิขสิทธิ์” (Copyright) หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทาการใดๆ ตามพระราชบัญญัติ
นี้ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทาขึ้น
“โปรแกรมคอมพิวเตอร์” (Computer Program) หมายความว่า คาสั่งหรือชุดคาสั่ง
หรือสิ่งอื่นใดที่นาไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานหรือเพื่อให้ได้รับผล
อย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในลักษณะใด [โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ถือเป็นกลุ่มงานวรรณกรรม (Literary)]
“ทาซ้า” สาหรับในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้หมายความถึง คัดลอก หรือทา
สาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากสื่อบันทึกใด ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มี
ลักษณะเป็นการจัดทางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน [การนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้
กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีการบันทึกลงเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย นักกฎหมายบางท่าน ถือว่าเป็นการ
ทาซ้าอย่างหนึ่ง]
“ดัดแปลง” ในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ความหมายรวมถึง ทาซ้าโดยการ
เปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มี
ลักษณะเป็นการจัดทาขึ้นใหม่
มาตรา 30 ได้กาหนด การกระทาที่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ได้แก่ การทาซ้าหรือดัดแปลง การเผยแพร่ต่อสาธารณชน (รวมถึงการจาหน่าย) และการให้เช่า
ต้นฉบับหรือสาเนางานดังกล่าว
มาตรา 32 และมาตรา 35 ได้กาหนดข้อยกเว้นในการละเมิดลิขสิทธิ์ไว้หลายข้อ โดยข้อ 1
ได้แก่ การวิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
มาตรา 69 ได้กาหนดโทษผู้ทาการละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 30 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่สองหมื่นถึงสองแสนบาท และถ้าเป็นการทาซ้าหรือ
ดัดแปลงเพื่อการค้า ต้องระวางโทษจาคุกหกเดือนถึงสี่ปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสน
บาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
โปรแกรม PageMaker 7.0 ที่ผู้เรียนใช้อยู่นี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษั ทอะโดบีซิสเต็มอินคอร์
ปอเรท (Adobe System Incorporated) สานักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานโจเซ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย
ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งอนุญาตให้สถานศึกษาใช้เพื่อส่ งเสริมความก้าวหน้าทางการศึกษาในราคา
พิเศษ กฎหมายได้กาหนดข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโย ชน์ในการเรียนการสอนแล้ว แต่
หลังจากที่จบการศึกษาหลักสูตรนี้ไปแล้ว หากผู้เรียนต้องการจะใช้โปรแกรม PageMaker เพื่อการ
ประกอบอาชีพด้านสิ่งพิมพ์แล้ว แนะนาให้ซื้อแผ่นโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์เสียก่อน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา
การละเมิดลิขสิทธิ์ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือเป็นคดีอาญา
3.1 ผลเสียของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมายมีผลเสียอย่างไรบ้าง
1. อาจถูกดาเนินคดีตามกฎหมายลิขสิทธิ์ เสียค่าปรับหรือถูกจาคุกได้
2. ผู้ซื้ออาจเสียชื่อเสียงทางธุรกิจและเสียเวลาในการดาเนินลิขสิทธิ์
3. ผู้ซื้ออาจได้รับซอฟแวร์รุ่นเก่าหรือซอฟแวร์ที่มีข้อบกพร่อง
4. การทาซ้าที่ไม่เหมาะสมอาจทาให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่บันทึกไว้
เสียหาย หรือมีไวรัสแฝงอยู่
5. ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ไม่ได้รับผลตอบแทนอันพึงมีพึงได้ จากนวัตกรรมที่พวกเขา
คิดขึ้น เป็นการบั่นทอนกาลังใจในการคิดสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์
4. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์
การจะให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีโปรแกรมใหม่ ไม่ใช่แค่การก็อปปี้ไฟล์โปรแกรมจากเครื่องอื่น
แล้วจะทางานได้ทันที แต่จะต้องติดตั้ง (Setup) ให้ถูกวิธีเพื่อให้มีการปรับปรุงระบบต่าง ๆ ของ
โปรแกรมให้เหมาะสมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ทาการติดตั้ง เมื่อเราซื้อโปรแกรมมาแล้วจะได้แผ่น ซีดี
สาหรับติดตั้งโปรแกรม ให้นาแผ่น ซีดีนั้นใส่ลงในไดรว์ดีวีดีรอม หรือถ้าดาวน์โหลดโปรแกรมมาจาก
อินเทอร์เน็ต ก็จะได้ไฟล์เก็บไว้ในเครื่อง จากนั้นก็จะสามารถติดตั้งโปรแกรมลงในเครื่องได้ทันที
โปรแกรม PageMaker 7.0 ติดตั้งในระบบปฏิบัติการ Windows ใช้พื้นที่ติดตั้งในฮาร์ดดิสก์
ประมาณ 200 เมกะไบต์ มีขั้นตอนในการติดตั้ง ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่องและเปิดสวิตซ์ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ แล้วรอขั้นตอนของ
การบูทเครื่องในระบบปฏิบัติการวินโดว์ จนกว่าเครื่องจะแสดงการพร้อมใช้งานออกมาทางจอภาพ
รูปที่ 1.1 แสดงหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่พร้อมใช้งานในระบบปฏิบัติการวินโดว์
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 2 นาแผ่นดีวีดีโปรแกรม PageMaker ใส่ใน CD Rom Drive ดับเบิลคลิกที่
My Computer
รูปที่ 1.2 แสดงไอคอน My Computer
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 ดับเบิลคลิกไดร์วที่มีแผ่นดีวีดีโปรแกรมอยู่เพื่อเปิดหาไฟล์สาหรับติดตั้ง
รูปที่ 1.3 แสดงไดร์วที่มีแผ่นดีวีดีโปรแกรมอยู่เพื่อเปิดหาไฟล์สาหรับติดตั้งโปรแกรม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 4 ดับเบิลคลิกไฟล์สาหรับติดตั้ง ซึ่งมักจะมีชื่อว่า Setup หรือ Install
รูปที่ 1.4 แสดงไฟล์ Setup สาหรับติดตั้ง
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ที่หน้าจอจะแสดงแถบสถานะความพร้อมเพื่อติดตั้งโปรแกรม
รูปที่ 1.5 แสดงการเตรียมเพื่อติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 5 จะปรากฏหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup ชี้แจงถึงกฎหมายลิขสิทธิ์
ของโปรแกรมโดยถามว่าต้องการให้ติดตั้งต่อหรือไม่ ถ้าหากไม่ต้องการให้มีการติดตั้งต่อ ก็ให้คลิกที่ปุ่ม
เพื่อยกเลิกการติดตั้ง แต่ถ้าหากต้องการให้มีการติดตั้ง ให้คลิกปุ่ม เพื่อ
ทาการติดตั้งในขั้นตอนต่อไป ในที่นี้เราต้องการติดตั้ง ใช้เมาส์คลิกปุ่ม
รูปที่ 1.6 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 ชี้แจงถึงกฎหมายลิขสิทธิ์ของโปรแกรม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 6 ให้เลือกภาษาที่ใช้ในการติดตั้งจากหน้าต่าง Language Selection เพื่อให้เลือก
ภาษาที่ใช้ติดตั้งและใช้งานในโปรแกรม PageMaker 7.0 ในที่นี้เลือกเป็น U.S.English คลิก
เพื่อติดตั้งต่อไป
รูปที่ 1.7 แสดงการให้เลือกภาษาที่ใช้ติดตั้งและใช้งานโปรแกรม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 7 ให้เลือกภาษาที่ใช้ในการ License Agreement เพื่อติดตั้งในขั้นตอนต่อไป
คลิก
รูปที่ 1.8 แสดงการให้เลือกภาษาที่ใช้ในการ License Agreement
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 8 จะแสดง License Agreement ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นส่วนของข้อตกลงของการใช้
งานโปรแกรม PageMaker 7.0 หากไม่ตกลงให้กดปุ่ม หากยินยอมข้อตกลงใช้งาน ให้
คลิกปุ่ม ในที่นี้เราต้องการติดตั้ง คลิกปุ่ม เพื่อตกลงยอมรับเงื่อนไข
รูปที่ 1.9 แสดง License Agreement
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 9 เป็นขั้นตอนของการเลือกระดับของรูปแบบขั้นตอนในการติดตั้งและการใช้งาน
โปรแกรม PageMaker 7.0 โดยมีการแบ่งระดับการใช้งานไว้ 3 ระดับ คือ Typical เป็นการติดตั้ง
แบบมากที่สุด เน้นใช้งานที่จาเป็นใน PageMaker 7.0
รูปที่ 1.10 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup แสดงรูปแบบการติดตั้ง
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 10 ให้กรอกรายละเอียดส่วนตัวของผู้ใช้ลงในช่องต่าง ๆ รวมทั้ง CD-Key หรือ
Serial Number ของโปรแกรม ซึ่งจะได้มาพร้อมกับใบอนุญาต (License) ให้ใช้โปรแกรม กรอก
ครบหมดถูกต้องทุกข้อแล้ว ก็กดปุ่ม เพื่อทาการติดตั้งต่อไป
รูปที่ 1.11 แสดงช่องต่าง ๆ ที่ให้กรอกรายละเอียด
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 11 โปรแกรมจะแสดงข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กรอกไว้ในขั้นตอนที่ 10 ว่าถูกต้อง
ครบถ้วนหรือไม่ ถ้าถูกต้องให้คลิกปุ่ม Yes
รูปที่ 1.12 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup แสดงข้อมูลที่ได้กรอกไว้
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ต่อจากนั้น เครื่องจะให้รอเพื่อเตรียมการติดตั้งในส่วนของ Component Information
รูปที่ 1.13 แสดงการเตรียมการติดตั้ง Component Information
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
เตรียมการติดตั้งในส่วนของ Kodak Profile Information
รูปที่ 1.14 แสดงส่วนของ Kodak Profile Information
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 12 ให้เลือกส่วนที่ต้องการติดตั้งเพิ่มเข้าไป นอกเหนือจากที่ให้มาแล้ว
ให้คลิกปุ่ม
รูปที่ 1.15 แสดงขั้นตอนการติดตั้งที่ให้เลือกส่วนที่ต้องการเพิ่มเติม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
รูปที่ 1.16 แสดง ให้รอการติดตั้ง
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
โปรแกรม PageMaker 7.0 ก็จะเริ่มทาการติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และรอจนกว่าจะ
ติดตั้งสิ้นสุด
รูปที่ 1.17 แสดงแถบสถานะการติดตั้งโปรแกรม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 13 หลังจากติดตั้งเสร็จสิ้น จะขึ้นหน้าต่าง Setup Complete แสดงให้รู้ว่าภายใน
เครื่องคอมพิวเตอร์มีโปแกรม PageMaker 7.0 ติดตั้งเสร็จสิ้นแล้ว ให้คลิกปุ่มตอบรับ
รูปที่ 1.18 แสดงขั้นตอนสุดท้ายของการติดตั้งโปรแกรม
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
รูปที่ 1.19 แสดงหน้าต่าง โปรแกรมขอขอบคุณที่เลือกใช้โปรแกรม Adobe PageMaker 7.0
เพื่อรับทราบว่าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะนี้มีโปรแกรม PageMaker 7.0 ไว้ใช้งานได้แล้ว
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 14 เมื่อติดตั้งโปรแกรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้นาแผ่นดีวีดี โปรแกรม ออกจาก
เครื่องคอมพิวเตอร์และส่งคืนครูผู้สอน
5. ขั้นตอนการตั้งค่าตัวเลือกสาหรับใช้งาน (Preferences)
หลังจากที่มีการติดตั้งโปรแกรม PageMaker เรียบร้อยแล้ว ก่อนที่จะใช้งานโปรแกรม
PageMaker ควรจะมีการตั้งค่าตัวเลือกสาหรับการใช้งานให้กับโปรแกรมก่อน เพื่อความสะดวกและ
ชัดเจน ตัวเลือกเหล่านี้ดังเช่น หน่วยวัดว่าจะใช้เป็น นิ้วหรือเป็นเซนติเมตรหรือรายละเอียดอื่น ๆ
การตรวจดูและตั้งค่าตัวเลือกให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้เมาส์เลือกคาสั่ง File
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Preferences > General
รูปที่ 1.20 แสดงเลือก Preferences > General
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
ขั้นตอนที่ 3 จะปรากฏหน้าจอ Preferences ดังข้างล่างนี้
รูปที่ 1.21 แสดงการตั้งค่า Preferences
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
Measurements In: ช่องเลือกหน่วยวัด มีหน่วยให้เลือกคือ
Inches นิ้ว
Inches decimal นิ้ว (ทศนิยม)
Millimeters มิลลิเมตร
Picas (พิคาส์ เป็นหน่วยการพิมพ์ขนาด 1 ตัวอักษรของระบบอังกฤษ/
กรีกแบบ 12 จุด มีขนาด 1/72 ฟุต หรือ 1/6 นิ้ว หน่วยนี้เป็นหน่วยที่ทางบริษัทอะโดบี สนับสนุนและ
เป็นที่นิยมใช้ในงานพิมพ์ของโรงพิมพ์ทั่วไปในปัจจุบัน)
Cicero (ซิเซโรส์ เป็นหน่วยการพิมพ์ขนาด 1 ตัวอักษรของระบบฝรั่งเศส-
ยุโรป/โรมัน คิดจาก 1/6 นิ้วเหมือนกัน แต่นิ้วของฝรั่งเศสจะยาวกว่านิ้วของอังกฤษ ดังนั้น 1 ซิเซโรส์
จะใหญ่กว่า 1 พิคาส์เล็กน้อย) (Wikipedia, 2551)
Vertical ruler: เลือกหน่วยของไม้บรรทัดที่แสดงในแนวตั้งตรงขอบด้านข้างของจอ
Layout problem: แสดงจุดปัญหาที่พบในขณะจัดรูปแบบ
Show loose/tight line เลือกให้แสดงแถบแสงในบรรทัดที่มีช่องว่างมาก/น้อย
เกินไป
Show “keeps” violation เลือกให้แสดงแถบแสงในบรรทัดที่มีช่องว่างมาก /
น้อยเกินไปเนื่องจากมีคาสั่งไปจัด
Graphics display: เลือกกาหนดลักษณะการแสดงภาพ
Gray Out เลือกแสดงสีเทาแทนภาพจริง
Standard เลือกแสดงภาพตามปกติ แต่จะมีความละเอียดน้อย
High Resolution เลือกแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงที่สุด
Control Palette: ใช้จัดรูปแบบของตัวอักษรและจัดวัตถุ
Horizontal nudge: เลือกขนาดขอบข้างซ้าย-ขวา
Vertical nudge: เลือกขนาดขอบบน-ล่าง
Use Snap to Constraints กาหนดให้ Mouse เคลื่อนที่เป็นระยะ ๆ ตามจุดบน
หน้าจอ
Save option: กาหนดลักษณะการบันทึกข้อมูล
Faster เลือกให้บันทึกอย่างรวดเร็ว แต่เปลืองพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์
Smaller เลือกบันทึกช้า แต่ประหยัดพื้นที่ในการบันทึก
Guide: เส้นช่วยกากับบนจอภาพ
Front เลือกวางเส้นกากับไว้ด้านหน้า
Back เลือกวางเส้นกากับไว้ด้านหลัง
ขั้นตอนที่ 4 กาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ตามต้องการ
ขั้นตอนที่ 5 เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้วให้เลือกปุ่ม OK เพื่อจบรายการ
6. ขั้นตอนการสร้างหน้ากระดาษทางาน
หลังจากที่ได้ติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถใช้งาน
โปรแกรมได้แล้ว เริ่มแรกด้วยการเปิดโปรแกรมขึ้นมา จะเห็นหน้าจอภาพเป็นสีเทา ซึ่งยังไม่มี
หน้ากระดาษงานพิมพ์ให้สามารถทางานได้ จาเป็นต้องสร้างหน้ากระดาษเปล่าขึ้นมาเพื่อใช้ในการ
ทางานสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ได้ตรงต่อความต้องการ สามารถสร้างหน้าสิ่งพิมพ์ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 คลิก Menu File > New
รูปที่ 1.22 แสดงการสร้างหน้าสิ่งพิมพ์จาก Menu File > New
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ขึ้นมาให้กาหนดค่ารายละเอียดเกี่ยวกับหน้าสิ่งพิมพ์
ใหม่ที่จะต้องสร้าง ดังนี้
รูปที่ 1.23 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
การกาหนดรายละเอียดของหน้ากระดาษสาหรับสิ่งพิมพ์ทาได้ ดังนี้
Page size: ขนาดมาตรฐานที่ใช้ในการสร้างสิ่งพิมพ์ หากไม่มีให้เลือกกาหนดได้จาก
ตัวเลือก Custom
Dimension: ความกว้างและความยาวของกระดาษที่เลือกไว้ โดยหากเลือกกระดาษเป็น
Custom ก็จะสามารถกาหนดค่าได้อย่างอิสระ
Orientation: แนวในการวางหน้ากระดาษ
Tall คือ การวางกระดาษในแนวตั้ง
Wide คือ การวางกระดาษในแนวนอน
Options: เป็นการกาหนดให้เลือกรูปแบบการแสดงของหน้ากระดาษ
Double – sided เป็นการให้แสดงแบบหน้าคู่
Facing pages ให้แสดงพร้อมกันที่ละ 2 หน้า
Adjust layout ให้ออบเจ็กต์เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของหน้ากระดาษ
Restart page numbering เริ่มนับหน้ากระดาษ
Number of pages: คือ จานวนหน้ากระดาษทั้งหมดที่ต้องการใช้งาน
Start page # คือ หมายเลขหน้ากระดาษที่ต้องการให้เริ่มต้นแสดงผล โดยปกติจะเริ่มจาก
หน้า 1 แต่อาจเริ่มที่หน้าอื่น ๆ ได้ โดยกาหนดหมายเลขหน้าที่ต้องการ
Margins ให้กาหนดระยะของขอบกระดาษ โดย
Inside คือ ระยะของขอบซ้าย/ด้านใน
Outside คือ ระยะของขอบขวา/ด้านนอก
Top คือ ระยะของขอบกระดาษด้านบน
Bottom คือ ระยะของขอบด้านล่าง
Target output resolution คือ ค่าความละเอียดในการสั่งพิมพ์สิ่งพิมพ์
Compose to printer คือ เครื่องพิมพ์ที่ใช้งาน
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ตามต้องการ
ขั้นตอนที่ 3 เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้วเลือกปุ่ม OK เพื่อจบรายการ
ตัวอย่างการสร้างหน้ากระดาษทางาน
หลังจากที่ได้เลือกตั้งค่าหน้ากระดาษใหม่จากไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup จาก
ค่าต่าง ๆ ที่ได้เลือกไว้ในรูปที่ 1.23 ก็จะได้ขนาดของกระดาษที่มีพื้นที่ทางานดังรูปที่ 1.24
รูปที่ 1.24 รูปการเลือกกาหนดขนาดจาก Document Setup
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
พื้นที่หน้ากระดาษใช้งาน
มาตรฐาน A4
ขนาด ความกว้าง = 8.268 Inches
ความยาว = 11.693 Inches
.
รูปที่ 1.25 แสดงหน้ากระดาษที่เป็นพื้นที่ทางานสิ่งพิมพ์ใหม่
(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
1½ Inches
1½
Inches
1
Inches
1 Inches
ใบงานที่ 1.1
จุดประสงค์ของงาน
1. เพื่อติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
2. พัฒนาบุคลิกในการพูด การถาม การตอบคาถาม และการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
กิจกรรม
1. ให้แบ่งกลุ่มนักศึกษาเฉลี่ยตามจานวนของแผ่นซีดีโปรแกรม PageMaker 7.0
2. ให้ติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์
เกณฑ์การพิจารณา
1. ตรวจดูที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ว่ามีการติดตั้งถูกต้องหรือไม่
ใบงานที่ 1.2
จุดประสงค์ของงาน
1. เพื่อสร้างหน้ากระดาษทางานในระบบนิ้ว ตามรายละเอียดได้
2. พัฒนาบุคลิกในการพูด การถาม การตอบคาถาม และการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
กิจกรรม
1. สร้างหน้ากระดาษทางานในระบบนิ้ว ตามรายละเอียด ดังนี้
Inside 1½ นิ้ว , Outside 1 นิ้ว , Top 1½ นิ้ว และ Bottom 1 นิ้ว
เกณฑ์การพิจารณา
1. ตรวจดูที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ ของโปรแกรม PageMaker 7.0 ว่าสามารถ
สร้างหน้ากระดาษทางานถูกต้องหรือไม่

More Related Content

Similar to unit 1

การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007sirirat khamthanet
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
Tanyong Kiss'memory
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
ชาคลิน กาญจนไตรภพ
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansApisit Song
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ WindowsArrat Krupeach
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
Wasin Kunnaphan
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
Wordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appservWordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appserv
Boonlert Aroonpiboon
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯkachornchit_maprang
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกรgotchagon
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์Ammarirat
 
ระบบปฏิบัติการMix
ระบบปฏิบัติการMixระบบปฏิบัติการMix
ระบบปฏิบัติการMixvgame_emagv
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 

Similar to unit 1 (20)

การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net beanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Net bean
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeanการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbean
 
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beansการเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
การเขียนโปรแกรมด้วย Net beans
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Netbeans
NetbeansNetbeans
Netbeans
 
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
Wordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appservWordpress 3.5 -install-appserv
Wordpress 3.5 -install-appserv
 
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
ระบบปฏิบัติการคอมพ์ฯ
 
ของกชกร
ของกชกรของกชกร
ของกชกร
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์ของอารีรัตน์
ของอารีรัตน์
 
ระบบปฏิบัติการMix
ระบบปฏิบัติการMixระบบปฏิบัติการMix
ระบบปฏิบัติการMix
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 

More from Comcmpoly

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
Comcmpoly
 
Eport158
Eport158Eport158
Eport158
Comcmpoly
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...Comcmpoly
 

More from Comcmpoly (20)

แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
Eport158
Eport158Eport158
Eport158
 
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗  ขอขอบคุณพี...
โครงการรณรงค์เสริมสร้างสุขภาพและกำลังใจผู้พิการ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอขอบคุณพี...
 
Unit 18
Unit 18Unit 18
Unit 18
 
Unit 17
Unit 17Unit 17
Unit 17
 
Unit 16
Unit 16Unit 16
Unit 16
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 
Unit 14
Unit 14Unit 14
Unit 14
 
Unit 12
Unit 12Unit 12
Unit 12
 
Unit 11
Unit 11Unit 11
Unit 11
 
Unit 13
Unit 13Unit 13
Unit 13
 
Unit 10
Unit 10Unit 10
Unit 10
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Unit 6
Unit 6Unit 6
Unit 6
 
Unit 8
Unit 8Unit 8
Unit 8
 
Unit 5
Unit 5Unit 5
Unit 5
 
Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
P1
P1P1
P1
 

Recently uploaded

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

unit 1

  • 1. บทที่ 1 เรื่อง รู้จักโปรแกรม PageMaker 7.0 1. ความเป็นมาของโปรแกรม PageMaker 7.0 โปรแกรม PageMaker 7.0 เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการจัดทาสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop Publishing) เริ่มออกวางจาหน่ายตั้งแต่ปี พ .ศ. 2528 โดย บริษัทอัลดัส คอร์ปอเรชั่น (Aldus Corporation) ซึ่งต่อมาได้ขายกิจการให้บริษัทอะโดบีซิสเต็ม อินคอร์ปอเรท (Adobe System Incorporated) ในปี พ.ศ. 2537 และทางบริษัทอะโดบีซิสเต็ม อิน คอร์ปอเรท ได้วางจาหน่ายโปรแกรม ตั้งแต่ปี พ .ศ. 2544 เป็นต้นมา (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี , ภาษาไทย, 2551) 2. ความสามารถใช้งานของโปรแกรม PageMaker 7.0 โปรแกรม PageMaker 7.0 เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่นามาใช้ในงานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่ มีทั้งรูปภาพ รูปวาด และข้อความที่สามารถตั้งค่าสีในการพิมพ์ให้ได้สิ่งพิมพ์ที่โดดเด่นได้ เช่น จัดหน้า ต้นฉบับหนังสือ นิตยสาร วารสาร จุลสาร หรือรายงานที่มีความยาวเป็นร้อยหน้า หรือออกแบบปกทา รูปเล่มวิทยานิพนธ์ หรือสิ่งพิมพ์ 3. ลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกกฎหมาย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกกฎหมาย เรียกว่า “โปรแกรมลิขสิทธิ์” หรือที่เรียกว่า “License Program” ถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทที่ตั้งใจผลิตโปรแกรมขึ้นมาจาหน่ายอย่างเป็นจริงเป็นจัง จึงมีการตั้ง ราคาขายของโปรแกรมไว้สาหรับการติดตั้งลงคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง หรือเรียกว่า 1 ไลเซนท์ (License) นั่นเอง โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะได้รับการคุ้มครองโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 การใช้โปรแกรมจะต้องได้รับใบอนุญาต (License) จากเจ้าของโปรแกรมก่อนเสมอ ซึ่งใบอนุญาต ดังกล่าวจะได้มาเมื่อเราทาการซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2537 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย ได้ทาการ ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์และได้ออกพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้แทน พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 ในมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติ ได้ให้คาจากัดความที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ “ผู้สร้างสรรค์” หมายความว่า ผู้ทาหรือผู้ก่อให้เกิดงานสร้างสรรค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็น งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
  • 2. “ลิขสิทธิ์” (Copyright) หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทาการใดๆ ตามพระราชบัญญัติ นี้ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทาขึ้น “โปรแกรมคอมพิวเตอร์” (Computer Program) หมายความว่า คาสั่งหรือชุดคาสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่นาไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานหรือเพื่อให้ได้รับผล อย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในลักษณะใด [โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถือเป็นกลุ่มงานวรรณกรรม (Literary)] “ทาซ้า” สาหรับในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้หมายความถึง คัดลอก หรือทา สาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากสื่อบันทึกใด ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มี ลักษณะเป็นการจัดทางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน [การนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีการบันทึกลงเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย นักกฎหมายบางท่าน ถือว่าเป็นการ ทาซ้าอย่างหนึ่ง] “ดัดแปลง” ในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ความหมายรวมถึง ทาซ้าโดยการ เปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มี ลักษณะเป็นการจัดทาขึ้นใหม่ มาตรา 30 ได้กาหนด การกระทาที่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การทาซ้าหรือดัดแปลง การเผยแพร่ต่อสาธารณชน (รวมถึงการจาหน่าย) และการให้เช่า ต้นฉบับหรือสาเนางานดังกล่าว มาตรา 32 และมาตรา 35 ได้กาหนดข้อยกเว้นในการละเมิดลิขสิทธิ์ไว้หลายข้อ โดยข้อ 1 ได้แก่ การวิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร มาตรา 69 ได้กาหนดโทษผู้ทาการละเมิดลิขสิทธิ์ มาตรา 30 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่สองหมื่นถึงสองแสนบาท และถ้าเป็นการทาซ้าหรือ ดัดแปลงเพื่อการค้า ต้องระวางโทษจาคุกหกเดือนถึงสี่ปี หรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงแปดแสน บาทหรือทั้งจาทั้งปรับ โปรแกรม PageMaker 7.0 ที่ผู้เรียนใช้อยู่นี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษั ทอะโดบีซิสเต็มอินคอร์ ปอเรท (Adobe System Incorporated) สานักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานโจเซ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งอนุญาตให้สถานศึกษาใช้เพื่อส่ งเสริมความก้าวหน้าทางการศึกษาในราคา พิเศษ กฎหมายได้กาหนดข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อประโย ชน์ในการเรียนการสอนแล้ว แต่ หลังจากที่จบการศึกษาหลักสูตรนี้ไปแล้ว หากผู้เรียนต้องการจะใช้โปรแกรม PageMaker เพื่อการ ประกอบอาชีพด้านสิ่งพิมพ์แล้ว แนะนาให้ซื้อแผ่นโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์เสียก่อน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา การละเมิดลิขสิทธิ์ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือเป็นคดีอาญา
  • 3. 3.1 ผลเสียของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมาย การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผิดกฎหมายมีผลเสียอย่างไรบ้าง 1. อาจถูกดาเนินคดีตามกฎหมายลิขสิทธิ์ เสียค่าปรับหรือถูกจาคุกได้ 2. ผู้ซื้ออาจเสียชื่อเสียงทางธุรกิจและเสียเวลาในการดาเนินลิขสิทธิ์ 3. ผู้ซื้ออาจได้รับซอฟแวร์รุ่นเก่าหรือซอฟแวร์ที่มีข้อบกพร่อง 4. การทาซ้าที่ไม่เหมาะสมอาจทาให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่บันทึกไว้ เสียหาย หรือมีไวรัสแฝงอยู่ 5. ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ไม่ได้รับผลตอบแทนอันพึงมีพึงได้ จากนวัตกรรมที่พวกเขา คิดขึ้น เป็นการบั่นทอนกาลังใจในการคิดสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ 4. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ การจะให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีโปรแกรมใหม่ ไม่ใช่แค่การก็อปปี้ไฟล์โปรแกรมจากเครื่องอื่น แล้วจะทางานได้ทันที แต่จะต้องติดตั้ง (Setup) ให้ถูกวิธีเพื่อให้มีการปรับปรุงระบบต่าง ๆ ของ โปรแกรมให้เหมาะสมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ทาการติดตั้ง เมื่อเราซื้อโปรแกรมมาแล้วจะได้แผ่น ซีดี สาหรับติดตั้งโปรแกรม ให้นาแผ่น ซีดีนั้นใส่ลงในไดรว์ดีวีดีรอม หรือถ้าดาวน์โหลดโปรแกรมมาจาก อินเทอร์เน็ต ก็จะได้ไฟล์เก็บไว้ในเครื่อง จากนั้นก็จะสามารถติดตั้งโปรแกรมลงในเครื่องได้ทันที โปรแกรม PageMaker 7.0 ติดตั้งในระบบปฏิบัติการ Windows ใช้พื้นที่ติดตั้งในฮาร์ดดิสก์ ประมาณ 200 เมกะไบต์ มีขั้นตอนในการติดตั้ง ดังนี้
  • 4. ขั้นตอนที่ 1 เปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่องและเปิดสวิตซ์ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ แล้วรอขั้นตอนของ การบูทเครื่องในระบบปฏิบัติการวินโดว์ จนกว่าเครื่องจะแสดงการพร้อมใช้งานออกมาทางจอภาพ รูปที่ 1.1 แสดงหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่พร้อมใช้งานในระบบปฏิบัติการวินโดว์ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 2 นาแผ่นดีวีดีโปรแกรม PageMaker ใส่ใน CD Rom Drive ดับเบิลคลิกที่ My Computer รูปที่ 1.2 แสดงไอคอน My Computer (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 5. ขั้นตอนที่ 3 ดับเบิลคลิกไดร์วที่มีแผ่นดีวีดีโปรแกรมอยู่เพื่อเปิดหาไฟล์สาหรับติดตั้ง รูปที่ 1.3 แสดงไดร์วที่มีแผ่นดีวีดีโปรแกรมอยู่เพื่อเปิดหาไฟล์สาหรับติดตั้งโปรแกรม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 4 ดับเบิลคลิกไฟล์สาหรับติดตั้ง ซึ่งมักจะมีชื่อว่า Setup หรือ Install รูปที่ 1.4 แสดงไฟล์ Setup สาหรับติดตั้ง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 6. ที่หน้าจอจะแสดงแถบสถานะความพร้อมเพื่อติดตั้งโปรแกรม รูปที่ 1.5 แสดงการเตรียมเพื่อติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 5 จะปรากฏหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup ชี้แจงถึงกฎหมายลิขสิทธิ์ ของโปรแกรมโดยถามว่าต้องการให้ติดตั้งต่อหรือไม่ ถ้าหากไม่ต้องการให้มีการติดตั้งต่อ ก็ให้คลิกที่ปุ่ม เพื่อยกเลิกการติดตั้ง แต่ถ้าหากต้องการให้มีการติดตั้ง ให้คลิกปุ่ม เพื่อ ทาการติดตั้งในขั้นตอนต่อไป ในที่นี้เราต้องการติดตั้ง ใช้เมาส์คลิกปุ่ม รูปที่ 1.6 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 ชี้แจงถึงกฎหมายลิขสิทธิ์ของโปรแกรม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 7. ขั้นตอนที่ 6 ให้เลือกภาษาที่ใช้ในการติดตั้งจากหน้าต่าง Language Selection เพื่อให้เลือก ภาษาที่ใช้ติดตั้งและใช้งานในโปรแกรม PageMaker 7.0 ในที่นี้เลือกเป็น U.S.English คลิก เพื่อติดตั้งต่อไป รูปที่ 1.7 แสดงการให้เลือกภาษาที่ใช้ติดตั้งและใช้งานโปรแกรม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 7 ให้เลือกภาษาที่ใช้ในการ License Agreement เพื่อติดตั้งในขั้นตอนต่อไป คลิก รูปที่ 1.8 แสดงการให้เลือกภาษาที่ใช้ในการ License Agreement (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 8. ขั้นตอนที่ 8 จะแสดง License Agreement ขึ้นมา ซึ่งจะเป็นส่วนของข้อตกลงของการใช้ งานโปรแกรม PageMaker 7.0 หากไม่ตกลงให้กดปุ่ม หากยินยอมข้อตกลงใช้งาน ให้ คลิกปุ่ม ในที่นี้เราต้องการติดตั้ง คลิกปุ่ม เพื่อตกลงยอมรับเงื่อนไข รูปที่ 1.9 แสดง License Agreement (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 9 เป็นขั้นตอนของการเลือกระดับของรูปแบบขั้นตอนในการติดตั้งและการใช้งาน โปรแกรม PageMaker 7.0 โดยมีการแบ่งระดับการใช้งานไว้ 3 ระดับ คือ Typical เป็นการติดตั้ง แบบมากที่สุด เน้นใช้งานที่จาเป็นใน PageMaker 7.0 รูปที่ 1.10 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup แสดงรูปแบบการติดตั้ง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 9. ขั้นตอนที่ 10 ให้กรอกรายละเอียดส่วนตัวของผู้ใช้ลงในช่องต่าง ๆ รวมทั้ง CD-Key หรือ Serial Number ของโปรแกรม ซึ่งจะได้มาพร้อมกับใบอนุญาต (License) ให้ใช้โปรแกรม กรอก ครบหมดถูกต้องทุกข้อแล้ว ก็กดปุ่ม เพื่อทาการติดตั้งต่อไป รูปที่ 1.11 แสดงช่องต่าง ๆ ที่ให้กรอกรายละเอียด (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 11 โปรแกรมจะแสดงข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้กรอกไว้ในขั้นตอนที่ 10 ว่าถูกต้อง ครบถ้วนหรือไม่ ถ้าถูกต้องให้คลิกปุ่ม Yes รูปที่ 1.12 แสดงหน้าต่าง Adobe PageMaker 7.0 Setup แสดงข้อมูลที่ได้กรอกไว้ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 10. ต่อจากนั้น เครื่องจะให้รอเพื่อเตรียมการติดตั้งในส่วนของ Component Information รูปที่ 1.13 แสดงการเตรียมการติดตั้ง Component Information (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) เตรียมการติดตั้งในส่วนของ Kodak Profile Information รูปที่ 1.14 แสดงส่วนของ Kodak Profile Information (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 12 ให้เลือกส่วนที่ต้องการติดตั้งเพิ่มเข้าไป นอกเหนือจากที่ให้มาแล้ว ให้คลิกปุ่ม รูปที่ 1.15 แสดงขั้นตอนการติดตั้งที่ให้เลือกส่วนที่ต้องการเพิ่มเติม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 11. รูปที่ 1.16 แสดง ให้รอการติดตั้ง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) โปรแกรม PageMaker 7.0 ก็จะเริ่มทาการติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ และรอจนกว่าจะ ติดตั้งสิ้นสุด รูปที่ 1.17 แสดงแถบสถานะการติดตั้งโปรแกรม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 13 หลังจากติดตั้งเสร็จสิ้น จะขึ้นหน้าต่าง Setup Complete แสดงให้รู้ว่าภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์มีโปแกรม PageMaker 7.0 ติดตั้งเสร็จสิ้นแล้ว ให้คลิกปุ่มตอบรับ รูปที่ 1.18 แสดงขั้นตอนสุดท้ายของการติดตั้งโปรแกรม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 12. รูปที่ 1.19 แสดงหน้าต่าง โปรแกรมขอขอบคุณที่เลือกใช้โปรแกรม Adobe PageMaker 7.0 เพื่อรับทราบว่าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะนี้มีโปรแกรม PageMaker 7.0 ไว้ใช้งานได้แล้ว (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) ขั้นตอนที่ 14 เมื่อติดตั้งโปรแกรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้นาแผ่นดีวีดี โปรแกรม ออกจาก เครื่องคอมพิวเตอร์และส่งคืนครูผู้สอน 5. ขั้นตอนการตั้งค่าตัวเลือกสาหรับใช้งาน (Preferences) หลังจากที่มีการติดตั้งโปรแกรม PageMaker เรียบร้อยแล้ว ก่อนที่จะใช้งานโปรแกรม PageMaker ควรจะมีการตั้งค่าตัวเลือกสาหรับการใช้งานให้กับโปรแกรมก่อน เพื่อความสะดวกและ ชัดเจน ตัวเลือกเหล่านี้ดังเช่น หน่วยวัดว่าจะใช้เป็น นิ้วหรือเป็นเซนติเมตรหรือรายละเอียดอื่น ๆ การตรวจดูและตั้งค่าตัวเลือกให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ใช้เมาส์เลือกคาสั่ง File ขั้นตอนที่ 2 เลือก Preferences > General รูปที่ 1.20 แสดงเลือก Preferences > General (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)
  • 13. ขั้นตอนที่ 3 จะปรากฏหน้าจอ Preferences ดังข้างล่างนี้ รูปที่ 1.21 แสดงการตั้งค่า Preferences (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) Measurements In: ช่องเลือกหน่วยวัด มีหน่วยให้เลือกคือ Inches นิ้ว Inches decimal นิ้ว (ทศนิยม) Millimeters มิลลิเมตร Picas (พิคาส์ เป็นหน่วยการพิมพ์ขนาด 1 ตัวอักษรของระบบอังกฤษ/ กรีกแบบ 12 จุด มีขนาด 1/72 ฟุต หรือ 1/6 นิ้ว หน่วยนี้เป็นหน่วยที่ทางบริษัทอะโดบี สนับสนุนและ เป็นที่นิยมใช้ในงานพิมพ์ของโรงพิมพ์ทั่วไปในปัจจุบัน) Cicero (ซิเซโรส์ เป็นหน่วยการพิมพ์ขนาด 1 ตัวอักษรของระบบฝรั่งเศส- ยุโรป/โรมัน คิดจาก 1/6 นิ้วเหมือนกัน แต่นิ้วของฝรั่งเศสจะยาวกว่านิ้วของอังกฤษ ดังนั้น 1 ซิเซโรส์ จะใหญ่กว่า 1 พิคาส์เล็กน้อย) (Wikipedia, 2551) Vertical ruler: เลือกหน่วยของไม้บรรทัดที่แสดงในแนวตั้งตรงขอบด้านข้างของจอ
  • 14. Layout problem: แสดงจุดปัญหาที่พบในขณะจัดรูปแบบ Show loose/tight line เลือกให้แสดงแถบแสงในบรรทัดที่มีช่องว่างมาก/น้อย เกินไป Show “keeps” violation เลือกให้แสดงแถบแสงในบรรทัดที่มีช่องว่างมาก / น้อยเกินไปเนื่องจากมีคาสั่งไปจัด Graphics display: เลือกกาหนดลักษณะการแสดงภาพ Gray Out เลือกแสดงสีเทาแทนภาพจริง Standard เลือกแสดงภาพตามปกติ แต่จะมีความละเอียดน้อย High Resolution เลือกแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงที่สุด Control Palette: ใช้จัดรูปแบบของตัวอักษรและจัดวัตถุ Horizontal nudge: เลือกขนาดขอบข้างซ้าย-ขวา Vertical nudge: เลือกขนาดขอบบน-ล่าง Use Snap to Constraints กาหนดให้ Mouse เคลื่อนที่เป็นระยะ ๆ ตามจุดบน หน้าจอ Save option: กาหนดลักษณะการบันทึกข้อมูล Faster เลือกให้บันทึกอย่างรวดเร็ว แต่เปลืองพื้นที่ในฮาร์ดดิสก์ Smaller เลือกบันทึกช้า แต่ประหยัดพื้นที่ในการบันทึก Guide: เส้นช่วยกากับบนจอภาพ Front เลือกวางเส้นกากับไว้ด้านหน้า Back เลือกวางเส้นกากับไว้ด้านหลัง ขั้นตอนที่ 4 กาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ตามต้องการ ขั้นตอนที่ 5 เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้วให้เลือกปุ่ม OK เพื่อจบรายการ
  • 15. 6. ขั้นตอนการสร้างหน้ากระดาษทางาน หลังจากที่ได้ติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ และสามารถใช้งาน โปรแกรมได้แล้ว เริ่มแรกด้วยการเปิดโปรแกรมขึ้นมา จะเห็นหน้าจอภาพเป็นสีเทา ซึ่งยังไม่มี หน้ากระดาษงานพิมพ์ให้สามารถทางานได้ จาเป็นต้องสร้างหน้ากระดาษเปล่าขึ้นมาเพื่อใช้ในการ ทางานสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ได้ตรงต่อความต้องการ สามารถสร้างหน้าสิ่งพิมพ์ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิก Menu File > New รูปที่ 1.22 แสดงการสร้างหน้าสิ่งพิมพ์จาก Menu File > New (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ขึ้นมาให้กาหนดค่ารายละเอียดเกี่ยวกับหน้าสิ่งพิมพ์ ใหม่ที่จะต้องสร้าง ดังนี้
  • 16. รูปที่ 1.23 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) การกาหนดรายละเอียดของหน้ากระดาษสาหรับสิ่งพิมพ์ทาได้ ดังนี้ Page size: ขนาดมาตรฐานที่ใช้ในการสร้างสิ่งพิมพ์ หากไม่มีให้เลือกกาหนดได้จาก ตัวเลือก Custom Dimension: ความกว้างและความยาวของกระดาษที่เลือกไว้ โดยหากเลือกกระดาษเป็น Custom ก็จะสามารถกาหนดค่าได้อย่างอิสระ Orientation: แนวในการวางหน้ากระดาษ Tall คือ การวางกระดาษในแนวตั้ง Wide คือ การวางกระดาษในแนวนอน Options: เป็นการกาหนดให้เลือกรูปแบบการแสดงของหน้ากระดาษ Double – sided เป็นการให้แสดงแบบหน้าคู่ Facing pages ให้แสดงพร้อมกันที่ละ 2 หน้า Adjust layout ให้ออบเจ็กต์เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของหน้ากระดาษ
  • 17. Restart page numbering เริ่มนับหน้ากระดาษ Number of pages: คือ จานวนหน้ากระดาษทั้งหมดที่ต้องการใช้งาน Start page # คือ หมายเลขหน้ากระดาษที่ต้องการให้เริ่มต้นแสดงผล โดยปกติจะเริ่มจาก หน้า 1 แต่อาจเริ่มที่หน้าอื่น ๆ ได้ โดยกาหนดหมายเลขหน้าที่ต้องการ Margins ให้กาหนดระยะของขอบกระดาษ โดย Inside คือ ระยะของขอบซ้าย/ด้านใน Outside คือ ระยะของขอบขวา/ด้านนอก Top คือ ระยะของขอบกระดาษด้านบน Bottom คือ ระยะของขอบด้านล่าง Target output resolution คือ ค่าความละเอียดในการสั่งพิมพ์สิ่งพิมพ์ Compose to printer คือ เครื่องพิมพ์ที่ใช้งาน ขั้นตอนที่ 2 กาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ตามต้องการ ขั้นตอนที่ 3 เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้วเลือกปุ่ม OK เพื่อจบรายการ
  • 18. ตัวอย่างการสร้างหน้ากระดาษทางาน หลังจากที่ได้เลือกตั้งค่าหน้ากระดาษใหม่จากไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup จาก ค่าต่าง ๆ ที่ได้เลือกไว้ในรูปที่ 1.23 ก็จะได้ขนาดของกระดาษที่มีพื้นที่ทางานดังรูปที่ 1.24 รูปที่ 1.24 รูปการเลือกกาหนดขนาดจาก Document Setup (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) พื้นที่หน้ากระดาษใช้งาน มาตรฐาน A4 ขนาด ความกว้าง = 8.268 Inches ความยาว = 11.693 Inches . รูปที่ 1.25 แสดงหน้ากระดาษที่เป็นพื้นที่ทางานสิ่งพิมพ์ใหม่ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553) 1½ Inches 1½ Inches 1 Inches 1 Inches
  • 19. ใบงานที่ 1.1 จุดประสงค์ของงาน 1. เพื่อติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ 2. พัฒนาบุคลิกในการพูด การถาม การตอบคาถาม และการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน กิจกรรม 1. ให้แบ่งกลุ่มนักศึกษาเฉลี่ยตามจานวนของแผ่นซีดีโปรแกรม PageMaker 7.0 2. ให้ติดตั้งโปรแกรม PageMaker 7.0 ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เกณฑ์การพิจารณา 1. ตรวจดูที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ว่ามีการติดตั้งถูกต้องหรือไม่
  • 20. ใบงานที่ 1.2 จุดประสงค์ของงาน 1. เพื่อสร้างหน้ากระดาษทางานในระบบนิ้ว ตามรายละเอียดได้ 2. พัฒนาบุคลิกในการพูด การถาม การตอบคาถาม และการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน กิจกรรม 1. สร้างหน้ากระดาษทางานในระบบนิ้ว ตามรายละเอียด ดังนี้ Inside 1½ นิ้ว , Outside 1 นิ้ว , Top 1½ นิ้ว และ Bottom 1 นิ้ว เกณฑ์การพิจารณา 1. ตรวจดูที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ ของโปรแกรม PageMaker 7.0 ว่าสามารถ สร้างหน้ากระดาษทางานถูกต้องหรือไม่