SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการอบรม
โปรแกรม Adobe PageMaker 7.0

โครงการอบรมคอมพิวเตอรหลักสูตร
“ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานออกแบบสิ่งพิมพและจัดทําเว็บเพจ”
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สารบัญ
หนา
แนะนําโปรแกรม Adobe PageMaker 7.0 ....................................................................................1
การสรางสื่อสิงพิมพและการตั้งคา Document Setup ...................................................................2
่
การใชงาน Zero point และเสนไกดชนิดตาง ๆ .............................................................................4
การทํางานกับขอความ...................................................................................................................8
การพิมพขอความ...............................................................................................................8
การดึงขอความจากไฟลของโปรแกรมอื่น ........................................................................11
การใช Story Editor .........................................................................................................13
การใชงาน Color Palette ............................................................................................................14
การใชงาน Pictures Palette ........................................................................................................16
การทํางานกับออบเจกต ...............................................................................................................18
การสรางออบเจกตจากเสนและรูปทรงตาง ......................................................................18
การปรับขนาด การหมุน การบิด การกลับ และการล็อกออบเจกต ....................................19
การเปลี่ยนระดับการซอนและการรวมกลุมของออบเจกต................................................20
การตกแตงรูปภาพ.......................................................................................................................21
การบังบางสวนของรูปภาพ..............................................................................................21
การใช Mask.....................................................................................................................21
Text Wrap.......................................................................................................................22
การใชงานเฟรม(Frame) .............................................................................................................24
Master Pages .............................................................................................................................26
การใชงาน Sort Pages.................................................................................................................28
การพิมพออกทางเครื่องพิมพ ......................................................................................................30
1
แนะนําโปรแกรม Adobe PageMaker 7
PageMaker เปนโปรแกรมทีชวยในการจัดหนาเอกสารเพื่อผลิตเปนสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ เชน
่
หนังสือ ใบปลิว แผนพับ เปนตน โดยสามารถจัดการกับสิ่งพิมพที่มีเนื้อความรวมกับภาพประกอบ
ไดเปนอยางดี ผลงานที่ออกมามีคุณภาพสูงสามารถสงเขาโรงพิมพเพื่อนําไปทําแมแบบเพื่อพิมพได
ทันที
สวนประกอบตาง ๆ ของ โปรแกรม PageMaker
Menu Bar

ToolBar

Colors Palette

Tools Box

พื้นที่หนากระดาษ
Control Palette

Master Page

Page Icon

Menu Bar คือสวนที่แสดงชือเมนูคําสั่งตางๆ ใหเราเรียกใชงาน
่
พื้นที่หนากระดาษ คือสวนทีจะถูกพิมพออก โดยเราจะนําออบเจกตตาง ๆ มาจัดเรียงไวบนสวนนี้
่
ToolBar เปนแถบเครื่องมือไวใหเราเรียกคําสั่งตาง ๆ ผานรูปภาพเล็ก ๆ ที่เรียกวาไอคอน (Icon)
เพื่อใหเราสามารถใชงานไดงายยิ่งขึ้น
Tools Box เปรียบเหมือนกลองเครื่องมือที่รวบรวมเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชในการจัดทําสื่อสิงพิมพ
Colors Palette เปน Palette ที่ใชสําหรับกําหนดสีใหกับตัวอักษรหรือวัตถุตาง ๆ
Control Palette สําหรับกําหนดคุณสมบัตตางๆ (คุณสมบัติจะเปลี่ยนตามเครื่องมือที่เราเลือก)
ิ
Master Page หนาตนแบบ
Page Icon สําหรับไปยังหนาที่ตองการ
2
การเปด-ปด Palette คลิกที่เมนู Window แลวเลือกคําสัง
่
Show …. สําหรับเรียก Palette ใหปรากฏ
Hide …. สําหรับซอน Palette
การเปด-ปด Tools Box คลิกที่เมนู Window แลวเลือกคําสั่ง
Show Tools เพื่อเปดใชกลองเครื่องมือ Tools Box
Hide Tools เพื่อปดกลองเครื่องมือ Tools Box
การเปด-ปด ToolBar คลิกที่เมนู Utilities เลือกคําสั่ง
Plug-ins แลวเลือก Show/Hide ToolBar
การสรางสื่อสิงพิมพและการตั้งคา Document Setup
่
เมื่อเปดโปรแกรม PageMaker เราจะสามารถเริ่มสรางสิ่งพิมพไดดังนี้
1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง New

2. กําหนดคาตาง ๆ ของ Document Setupใหกับสื่อสิ่งพิมพ

กําหนดขนาดเอง
เลือกขนาดกระดาษ
เลือกแนววางกระดาษ
สิ่งพิมพเปนหนังสือที่มีหนาคู-คี่
แสดงหนาคูหนาคี่พรอมกัน
จํานวนหนา
กําหนดเลขหนาเริ่มตน
กําหนดขอบเขตของหนา

ความละเอียดของงานเมื่อพิมพออก
เลือกเครื่องพิมพที่จะใชพิมพ

3. หลังจากกําหนดคาตาง ๆ เรียบรอยแลว ใหคลิกปุม OK เพื่อสรางไฟลสื่อสิ่งพิมพ
3
การเพิ่มหนา
1. คลิกที่เมนู Layout เลือกคําสั่ง Insert Pages จะปรากฏหนาตางเพื่อกําหนดคาในการเพิ่ม
หนาดังนี้
เลือกวาจะเพิ่มไวกอนหนาหรือถัดจากหนาขณะนั้น

จํานวนหนาที่ตองการเพิ่ม

2. หลังจากกําหนดคาแลว ใหคลิกปุม Insert
การลดหนา
1. คลิกที่เมนู Layout เลือกคําสั่ง Remove Pages จะปรากฏหนาตางเพื่อกําหนดคาในการลด
หนาดังนี้
ระบุวาจะเริ่มตัดที่หนาใด
ระบุวาจะตัดไปถึงหนาใด

2. หลังจากกําหนดคา แลวใหคลิกปุม OK
การเลื่อนไปยังหนาตาง ๆ ทําไดโดยคลิกที่ Icon Page ตรงแถบดานลางของโปรแกรมในหนาที่
ตองการ
การบันทึกไฟลสื่อสิ่งพิมพ
1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Save
2. เลือก Folder ที่จะจัดเก็บไฟล
3. พิมพชื่อไฟลตามตองการ แลวกด
ปุม Save เพื่อบันทึกไฟล
(นามสกุลไฟลของโปรแกรม
PageMaker 7 คือ .pmd)
4
การเปดไฟลสอสิ่งพิมพ
ื่
1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Open
2. เลือก Folder ที่จะจัดเก็บไฟลนั้น
3. เลือกชื่อไฟลที่ตองการ แลวคลิก
ปุม Open

การใชงาน Zero point และเสนไกดชนิดตาง ๆ
Zero point คือจุดที่เลขศูนยไมบรรทัดตามแนวนอนและแนวตั้งมาบรรจบกัน จะชวยในการ
เลื่อนแถบหนวยวัดบนไมบรรทัดทั้งในแนวตั้งและแนวนอนใหเหมาะสมกับการทํางาน โดย
เมื่อเริ่มสรางไฟลใหม ถากําหนดใหเปนหนาเดี่ยว Zero point จะอยูทหัวมุมบนซายของ
ี่
กระดาษพอดี สวนหนาใหมที่เปนหนาคู (กําหนด Double-Sided ไวในสวน Document Setup)
จะมี Zero point อยูตรงดานบนของกึ่งกลางที่สองหนาบรรจบกัน
การยาย Zero point เราสามารถทําไดโดย
1. คลิกที่มุมบนซายใตเมนูคางไว
2. ลากเมาสไปปลอยลงตรงตําแหนงที่ตองการใหเปน Zero point ใหม
3. จุดศูนยกลางของไมบรรทัดทั้งสองแนวจะเปลี่ยนมาอยู ณ ตําแหนง Zero point ใหม
5
เสนไกด คือเสนบนหนาเอกสารที่เราใชเปนแนวในการจัดวางออบเจกตตาง ๆ เสนไกดจะปรากฏ
เฉพาะบนหนาจอเทานั้นโดยจะไมถูกพิมพออกมาทางเครื่องพิมพ ชนิดของเสนไกดมี 3 ชนิดดังนี้
1. เสนไกดของระยะเวนจากขอบกระดาษ (Margin Guide)
เสนไกดชนิดนี้จะปรากฏเปนกรอบสี่เหลียมสี
่
ในแตละหนา ซึ่งสามารถกําหนดระยะของเสนไกด
ไดในสวน Margins ของ Document Setup โดยให
เราระบุระยะทีเ่ สนไกดเวนจากขอบกระดาษเขามา
ตรงที่ Margins โดยที่ Inside, Outside (หรือ Left,
Right กรณีที่ตวเลือก Options เราไมไดเลือก
ั
Double Side), Top และ Bottom คือระยะจากขอบ
ซาย ขวา บนและลางตามลําดับ
2. เสนไกดของคอลัมน (Column Guide)
คือเสนไกดทใชแบงหนาออกเปนหลาย ๆ คอลัมน โดยใหมีชองวางระหวางคอลัมนเทา ๆ
ี่
กัน ขั้นตอนการสรางเสนไกดคอลัมนมีดังตอไปนี้
2.1 จากเมนู Layout เลือกคําสั่ง Column Guide
2.2 จะปรากฏหนาตางสําหรับใสคาตาง ๆ ดังนี้
Number of column จํานวนคอลัมนใน 1 หนา
Space between columns ระยะหางระหวางคอลัมน
Set left and right pages separately การกําหนดเสนไกดของคอลัมนในหนาซาย-ขวา
ของหนาคูแยกตางหางจากกัน (เฉพาะเมื่อหนาเอกสารเปนแบบ Double-Sided เทานัน)
้
Adjust layout กําหนดใหจัดออบเจกตที่มีอยูในหนาใหเขาแนวคอลัมนที่กําหนดใหม
นี้ (มีผลเฉพาะกับออบเจกตที่เดิมถูกจัดอยูในคอลัมนอยูแลวเทานัน)


้

2.3 คลิกปุม OK เพื่อสราง Column Guide
6
3. เสนไกดจากไมบรรทัด (Ruler Guide)
คือเสนไกดที่เราสามารถหยิบออกมาจากไมบรรทัดทั้งแนวนอนและแนวตั้งไดตลอดเวลา
อยางไมจํากัด โดยมีวิธีการดังนี้
คลิกคางไวที่ไมบรรทัด

ลากเมาสแลวปลอยที่ตําแหนงที่ตองการ

การยกเลิกเสนไกดจากไมบรรทัด ใหคลิกเสนไกดที่ตองการลบออกคางไว แลวลากกลับไปที่
ไมบรรทัด จากนั้นจึงปลอยเมาส
รูปตัวอยางแสดงเสนไกดชนิดตาง ๆ ในหนาสิ่งพิมพ
Ruler Guide
Margin Guide
Ruler Guide
Ruler Guide
Margin Guide

Margin Guide

Column Guide
Margin Guide
7
การซอนและแสดงเสนไกดทงหมด สําหรับการซอนเสนไกด
ั้
สามารถทําไดโดยคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Hide
Guides เสนไกดบนหนาจอจะหายไป ถาตองการใหแสดงเสนไกด
อีกครั้ง ใหคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Show Guides
การจัดออบเจกตเขาชิดเสนไกด เมื่อเวลาเราลากออบเจกตใด ๆ เขา
ใกลเสนไกดแลว ออบเจกตนั้นจะเคลื่อนเขาไปชิดเสนไกดโดย
อัตโนมัติ สามารถทําไดโดยคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง
Snap to Guides
การล็อคเสนไกด หากเราไมตองการใหเสนไกดใด ๆ สามารถเคลื่อนยายตําแหนงไปจากเดิมได ให
คลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Lock Guides จะปรากฏเครื่องหมายถูกหนาคําสัง แตหาก
่
ตองการใหเสนไกดสามารถเคลื่อนยายตําแหนงได ใหคลิกที่ Lock Guides อีกครั้ง เพื่อไมใหมี
เครื่องหมายถูกปรากฏ
การปรับขนาดมุมมองการดูสื่อสิ่งพิมพ เราสามารถที่จะยอหรือขยายมุมมองของสวนตาง ๆ ใน
ที่อยูภายใน Tools Box หลังจากที่เราคลิกเลือก
ชิ้นงานไดโดยใชเครื่องมือ Zoom Tool
เครื่องมือนี้แลว ใหนําเมาสไปคลิกที่ตําแหนงของสวนทีตองการขยาย แตหากตองการยอใหกดปุม
่
Ctrl คางไวดวย นอกจากการใช Zoom Tool แลวเรายังสามารถใชวิธีคลิกไปที่เมนู View แลว

เลือกใชงานในกลุมคําสั่ง Zoom ซึ่งจะสามารถเรียกใชจาก ไดเชนเดียวกันดังภาพ

ขยายขึ้นทีละระดับ
ยอลงทีละระดับ
ขนาดจริง
ปรับขนาดใหดูไดทั้งหนา

ยอ-ขยายเปนเปอรเซ็นต

Icon บน ToolBar

การเลื่อนไปยังตําแหนงอืนภายในชิ้นงาน ใหคลิกเครื่องมือ Hand Tool
่
แลวคลิกที่ตาแหนง
ํ
ภายในชิ้นงานเพื่อการจับยึดคางไว หลังจากนั้นลากเมาสเพื่อเลื่อนไปยังตําแหนงทีตองการ
่
8
การทํางานกับขอความ
การพิมพขอความ เราสามารถพิมพขอความไดโดยคลิกเลือกเครื่องมือ
Text tool ภายใน Tools
Box หลังจากนั้น Cursor จะเปลี่ยนเปนรูป ที่เรียกวา I-beam ใหคลิก I-beam บนพื้นที่หนากระดาษ
แลวทําการพิมพขอความ นอกจากนี้แลวเรายังสามารถลาก I-beam คางตามแนวเสนทแยงมุมเพื่อ
กําหนดกรอบการพิมพตามที่เราตองการได

วิธีที่ 1 คลิกที่ตําแหนงที่ตองการพิมพขอความ

วิธีที่ 2 คลิกที่ตําแหนงที่ตองการคางไวแลวลากออกเพื่อ
กําหนดกรอบการพิมพ

การกําหนดลักษณะตัวอักษร หลังจากเราพิมพขอความเสร็จเรียบรอยแลว หากตองการเปลี่ยน
ลักษณะตัวอักษรเชน เพิ่มขนาดตัวอักษร เปลี่ยนชนิดตัวอักษร ปรับตัวหนาตัวเอียง เปนตน ใหปาย
ขอความหรือตัวอักษรที่ตองการดวย I-beam หลังจากนันเราจึงกําหนดลักษณะใหกบตัวอักษรดวย
้
ั
Control Palette (ตองมั่นใจวาคลิกเลือกทีปุม ใน Control Palette แลว)
่

Font

Size

Type Style

Tracking

Leading

Baseline Shift
Horizontal Scale

Font เปลี่ยนฟอนต
Size เปลี่ยนขนาดตัวอักษร

Kerning
9
Type Style
เปลี่ยนลักษณะตัวอักษร ประกอบไปดวย ตัวปกติ ตัวหนา ตัว
เอียง ตัวขีดเสนใต เปลี่ยนสีตัวอักษรเปนสีขาว ตัวขีดเสนครอม ตัวพิมพแบบเล็ก ตัวพิมพใหญ ตัว
ยก และตัวหอย เรียงตามลําดับ
Leading ปรับเปลี่ยนระยะชองวางระหวางบรรทัด มีหนวยเปน point
Horizontal Scale ปรับเปลี่ยนความกวางของตัวอักษรจากความกวางปกติ 100% เปน 5%-250%
Tracking ปรับเปลี่ยนชองวางระหวางตัวอักษรในขอความ
Kerning ปรับเปลี่ยนชองวางระหวางตัวอักษรบางคูเปนพิเศษ
Baseline Shift ปรับเสนฐานสําหรับการเลื่อนระดับตัวอักษร(ตัวเลขบวกเลื่อนขึ้น เลขลบเลื่อนลง)
Drop cap คือการทําใหตวอักษรตัวแรกของยอหนามีขนาดใหญขึ้นโดยจะขยายกินเนื้อที่ของ
ั
บรรทัดถัด ๆ ไปลงมา มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกตัวอักษรที่ตองการใหเปนตัวอักษรตัวแรกของยอหนา
2. คลิกที่เมนู Utilities เลือกกลุมคําสั่ง Plug-ins แลวเลือกคําสั่ง Drop cap

*** หากตองการเปลี่ยนแปลงคําสั่ง Plug-ins Drop cap ควรใชคําสั่ง Remove ของ Plug-ins
Drop cap เพื่อทําใหตวอักษรตัวแรกของยอหนานันมีขนาดปกติกอนเสมอ
ั
้
10
สัญลักษณบนที่จับของขอความ มีความสําคัญและแตกตางกันดังนี้
สัญลักษณที่จับวาง หากปรากฏบนที่จับดานบนของขอความ
จะบอกถึงจุดเริ่มตนของเนื้อความนั้น แตหากปรากฏตรงที่
จับดานลางของขอความ จะบอกถึงจุดสุดทายของขอความ
นั้น
สัญลักษณหัวลูกศรลงสีแดง จะปรากฏเฉพาะในสวนของที่จับ
ดานลางของสวนสุดทายของเนื้อความเทานั้น โดยจะแสดงวา
ยังมี
ขอความตอจากนี้อีก แตยังไมไดแสดงออกมา
สัญลักษณบวก จะบอกใหทราบวา ขอความที่อยูกอนหนาและถัดจากทีจับที่มีสัญลักษณบวกนีเ้ ปน
่
ขอความที่ตอเนื่องกันอยู

การเคลื่อนยายขอความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
3. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer
บน Tools Box
4. คลิก ณ ตําแหนงใด ๆ บนขอความคางไวแลวลากไปยังตําแหนงทีตองการ
่
การปรับขนาดขอความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer
บน Tools Box
2. คลิกที่ขอความ จะปรากฏจุดตรงมุมทั้ง 4 ของขอความ ใหคลิกเลือกจุดใดจุดหนึ่งแลวลาก
ออกเพื่อปรับขนาดของขอความ

การแยกสวนของเนื้อความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
บน Tools Box
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer
2. คลิกเมาสจับที่สัญลักษณที่จบวางดานลาง
ั

3. ลากขึ้นเพื่อปรับพื้นที่ขอความที่ตองการแบง
11
4. ปลอยแลว ที่จบดานลางจะเปนรูปสัญลักษณบวก ใหคลิกที่สัญลักษณบวก
ั

5. Cursor จะเปลียนเปนรูป หลังจากนี้ใหคลิกที่ตําแหนงทีตองการลงบนหนากระดาษเพื่อ
่
่
แสดงขอความที่ยังไมไดแสดงออกมา ณ ตําแหนงใหม
การดึงขอความจากไฟลของโปรแกรมอื่น โปรแกรม PageMaker สามารถดึงขอมูลจากไฟลประเภท
Text File เพื่อนํามาสรางขอความไดโดย
1. กดปุม
จาก Tools Bar หรือคลิกที่เมนู File แลวเลือกคําสั่ง Place
2. จะปรากฏหนาตางเพื่อใหเราเลือกไฟลที่ตองการ

3. เมื่อเลือกไฟลแลวใหกดปุม Open
4. Cursor จะเปลียนเปนรูป ใหคลิกลงบนตําแหนงภายในหนากระดาษที่ตองการวาง
่
ขอความ

*** คําสั่ง Place นอกจากจะสามารถดึงขอมูลจากไฟลประเภท Text File ไดแลวยังสามารถดึง
ไฟลรูปภาพ ซึงอาจเปนไฟล .jpg, .gif, .bmp, .wmf, .gif เขามาใชงานไดอีกดวย
่
12
การไหลของขอความ โดยปกติเมื่อคลิกเลือกตําแหนงเพือวางขอความแลว ขอความจะไหลลง
่
เฉพาะคอลัมนนั้น ทําใหขอความที่มีความยาวเกินความยาวของคอลัมน จะไมสามารถแสดง
ขอความออกมาไดหมด จึงตองคลิกที่สัญลักษณรูปลูกศรลง เพื่อกําหนดตําแหนงใหมในการไหล
ของขอความตอไป

แตถาหากเราตองการใหขอความไหลไปเรื่อย ๆ จนครบทั้งหมดแบบ
อัตโนมัตินั้น สามารถทําไดโดยคลิกเมนู Layout แลวคลิกใหมี
เครื่องหมายถูกหนาคําสั่ง Autoflow หลังจากนี้ Cursor จากเดิมที่เปน
่
รูป ก็จะเปลียนเปนรูป ตามไปดวย ใหคลิก ณ ตําแหนงที่
ตองการ ขอความจะไหลตอเนื่องจนครบทังหมด
้

การจัดยอหนาภายในขอความ ใหปายขอความหรือตัวอักษรที่ตองการดวย I-beam หลังจากนั้นเรา
จะสามารถจัดยอหนาดวย Control Palette (ตองมั่นใจวาคลิกเลือกที่ปุม ใน Control Palette แลว)
ไดดังนี้
ระยะบรรทัดแรก ระยะหางยอหนากอน
ระยะหางระหวางตัวอักษร

การจัดวางขอความ

กั้นหนา

กั้นหลัง ระยะหางยอหนาหลัง
13
การใช Story Editor นอกจากการพิมพและแกไขขอความในหนาสิ่งพิมพโดยใชเครื่องมือ Text
Tool
แลว โปรแกรม PageMaker ยังมีสวนของ Story Editor ซึ่งเปนโปรแกรมประมวลผลคํา
ไวใหเราใชพมพและแกไขขอความโดยเฉพาะ ซึ่ง Story Editor จะมีเครื่องมือชวยเหลือตาง ๆ เชน
ิ
การคนหาและแทนที่คํา สําหรับวิธีการเรียกใชงาน คือคลิกเลือกขอความที่ตองการแกไขแลวไปที่
เมนู Edit แลวเลือกคําสั่ง Edit Story

การคนหาและแทนที่คํา มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกขอความที่ตองการคนหาหรือแกไข แลวไปที่เมนู Edit เลือกคําสั่ง Edit Story
2. ไปที่เมนู Utilities เลือกคําสั่ง Change จะปรากฏหนาตางดังภาพ
คําที่ตองการคนหา
คําที่ตองการแทนที่

3. กดปุม Find เมื่อพบจะแสดงใหทราบ โดยคําๆ นั้นจะมีสทึบปาย
ี
4. ถาตองการแทนที่คําที่กําหนด ใหคลิกที่ปม Change หรือปุม Change all ในกรณีที่ตองการ
ุ

แทนที่ทุกคําทีมี
่
*** ในกรณีทขอความไมสามารถอานภาษาไทยได ใหเปลี่ยนชนิด Font ของ Story Editor โดย
ี่
ไปที่เมนู File > Preferences > General > More… แลวแกไขชนิด Font ที่สนับสนุนภาษาไทย
เชน Font ตระกูล UPCในสวน Story Editor
14
การใชงาน Color Palette
ระบบสีในการพิมพ ในโปรแกรม PageMaker จะมีระบบสีใชได 3 ระบบดวยกันคือ
• ระบบสี RGB เปนสีในแบบปรากฏบนจอภาพ ซึ่งเกิดจากการยิงลําแสง 3 สี ไดแก สีแดง
(Red) สีเขียว(Green) และสีฟา(Blue) มาผสมเปนสีตาง ๆ
• ระบบสี CMYK เปนสีที่ใชในระบบการพิมพของโรงพิมพประกอบดวยสี 4 สี ไดแก สีฟา
(Cyan) สีแดง(Magenta) สีเหลือง(Yellow) และสีดํา(BlacK)
• ระบบสี HLS เปนสีที่วางอยูบนรากฐานการรับรูสีของมนุษย ซึ่งประกอบดวย 3 สวนคือ

Hue (H) เปนสีที่สะทอนจากวัตถุเขาตาเราตามหลักการมองเห็นวัตถุ
Lighting (L) เปนสวนที่กําหนดความมืด-ความสวางของสี
Saturation (S) เปนปริมาณสีของสีนั้น
การใสสีใหกับขอความและรูปทรง ลากเมาสปายขอความหรือคลิกที่รูปทรงที่ตองการใสสี แลวคลิก
เลือกสีที่ตองการใน Color Palette สําหรับการใสสีใหกับรูปทรงจะมีการกําหนดสีสองสวนคือ สี
เสนและสีพื้น
ทั้งสีเสนและสีพื้น
สีพื้นในรูป
สีเสนรอบรูป

การปรับความเขมของสี เราสามารถปรับไดโดยคลิกที่รปทรงที่ตองการปรับ หลังจากนั้นเลือก
ู
เปอรเซ็นตความเขมของสีในสวนของ Tint

การกําหนดสีขึ้นใหม มีขั้นตอนดังนี้
ในแถบดานลางของ Color Palette
1. คลิกปุม
15
2. ตั้งชื่อสี และกําหนดคาตาง ๆ ใหกับสีในหนาตาง Color Options
ชื่อสี
ชนิดของสี
ระบบสี
ผสมคาสี

สีแบบ
สําเร็จรูป

ชนิดของสี คือกําหนดใหพิมพสีเหมาะกับชิ้นงานนั้น ๆ มีดวยกัน 3 ลักษณะ
Spot color คือสีเฉพาะที่ถูกผสมไวเพื่อนําไปพิมพเปนสีนนโดยตรงแทนการใช
ั้
การผสมสีจากการพิมพในแบบ 4 สี (CMYK) โดยเราจะตองทําเพลทสําหรับสีนั้น ๆ เพื่อ
ใชในงานพิมพโดยเฉพาะ เหมาะกับการพิมพสีพื้นๆ พิมพสี 1 สีหรือ 2 สี เชน สีในโบรชัวร
หรือใบปลิว
Process color คือสีที่เกิดจากพิมพในแบบผสมแมสีหลัก CMYK เหมาะกับการ
พิมพรูปถายสีลงในเอกสาร พิมพโทนสีเนือ พิมพสีตางๆ กันจํานวนมาก
้
Tint คือการปรับคาความเขมของสี
3. คลิกปุม OK เพื่อสรางสีขึ้นใหม
การใชสีแบบสําเร็จรูป ในการกําหนดสีใหมนอกจากเราจะผสมสีเองแลว เรายังสามารถเลือกสีแบบ
สําเร็จรูปในสวน Libraries ของ Color Options ไดอีกดวย
การปรับเปลี่ยนสี ดับเบิ้ลคลิกสีที่ตองการปรับเปลี่ยนจาก Color Palette จากนั้นจะปรากฏหนาตาง
Color Options เชนเดียวกับการกําหนดสีขนใหม ซึ่งเราสามารถปรับเปลี่ยนคาตาง ๆ ไดใหมภายใน
ึ้
หนาตางนี้
การเอาสีที่ไมตองการออก คลิกเลือกสีที่ตองการลบแลวคลิกปุม
Palette

ในแถบดานลางของ Color
16
การใชงาน Pictures Palette
การดึงรูปภาพจาก Pictures Palette มาใชงาน มีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่เมนู Window>Plug-in Palettes> Show Picture
Palette เพื่อเปด Picture Palette
2. ระบุของชนิด (Type) และหมวดหมู (Category) ของ
รูปภาพที่ตองการ
3. เมื่อพบรูปภาพที่ตองการแลวดับเบิ้ลที่รูปภาพ
4. Cursor จะเปลียนเปนรูป หลังจากนั้นใหคลิกลง
่
บนตําแหนงเพื่อวางภาพ

การเพิ่มรูปภาพลงใน Pictures Palette มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกหมวดหมู (Category) ที่จะเพิ่มรูปภาพบน Picture Palette
ในแถบดานลางของ Pictures Palette
2. คลิกที่รูป
3. จะปรากฏหนาตาง Open เราใหระบุ Folder แลวเลือกไฟลรูปภาพที่ตองการเพิ่ม

4. กดปุม Open เพื่อเพิ่มรูปภาพ
การลบรูปภาพออกจาก Pictures Palette มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกรูปภาพที่ตองการลบใน Picture Palette
ในแถบดานลางของ Pictures Palette เพื่อลบรูปภาพ
2. กดปุม
17
การเพิ่มหมวดหมู (Category) ของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกรูปสามเหลี่ยมดานขางของ Picture Palette

2. จะปรากฏหนาตาง New Category ใหระบุชอของหมวดหมู(Category) ใหม แลวกดปุม OK
ื่


การลบหมวดหมูของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกชื่อหมวดหมู (Category) ที่ตองการลบใน Picture Palette
2. คลิกรูปสามเหลี่ยมดานขางของ Picture Palette แลวเลือกคําสั่ง Delete Category

3. จะปรากฏขอความเตือน Are You Sure? ขึ้นมาใหกดปุม Yes เพื่อยืนยันการลบ
18
การทํางานกับออบเจกต
การสรางออบเจกตจากเสนและรูปทรงตาง ๆ ภายใน Tools Box ไดจัดเตรียมเครื่องมือไวใหเราวาด
เสนและรูปทรง เพื่อใชตกแตงเนื้อความใหนาดูยิ่งขึนซึ่งมีดังตอไปนี้
้
Line Tool
ใชวาดเสนตรง หากตองการเสนตรงในแนวดิ่ง แนวนอน หรือเอียง 45 องศา ใหกดปุม Shift คางไว

ขณะวาดเสนตรง
Constrained line Tool
ใชวาดเสนตรงเฉพาะในแนวดิ่ง แนวนอน และเอียง 45 องศา
Rectangle tool
ใชวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก หากตองการสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหกดปุม Shift คางไวขณะลากเพื่อวาดรูป
และถาตองการเลือกรูปแบบของมุมรูปสี่เหลี่ยม สามารถเลือกไดจากคําสั่ง Rounded Corners จาก
เมนู Element

Ellipse tool
ใชวาดวงกลมหรือวงรี หากตองการวาดวงกลม ใหกดปุม Shift คางไวขณะที่ลากเพือวาดรูป

่
Polygon tool
ใชวาดรูปหลายเหลี่ยม โดยปกติจะเปนรูปหกเหลี่ยม หากตองการรูปหลายเหลี่ยมดานเทา ใหกดปุม

Shift คางไวขณะทีวาดรูป แตถาตองการเปลี่ยนจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม เมื่อวาดแลวใหไปที่
่
เมนู Element แลวเลือกคําสัง Polygon Settings
่
19
การปรับความหนาของเสนและการใสสี มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่รูปทรงที่วาดไว
2. จากเมนู Element เลือกคําสั่ง
Stroke เพื่อปรับขนาดเสนขอบ
Fill เพื่อใสลวดลาย
Fill and Stoke เพื่อปรับขนาดเสน ลวดลายและสีพรอมกัน
การปรับขนาด การหมุน การบิด การกลับ และการล็อกออบเจกต
ปุม Apply

ตําแหนงในแนวนอน
X และแนวตั้ง Y

Proxy เปนจุดที่
ตองการปรับตําแหนง
หรือทราบคาตาง ๆ

เพื่อปรับขนาดโดย
ยังคงสัดสวนเดิม

ความกวาง W และ
ความสูง Y

กลับรูปแนวนอน
หมุนรูปตามองศา

บิดรูปตามองศา
กลับรูปแนวตั้ง

นอกจากนี้ภายใน Tools Box ยังมีเครื่องมือ
Rotate tool ชวยในการหมุนออบเจกตไดอีกดวย
โดยหลังจากคลิกเลือกเครื่องมือนี้แลวใหคลิกที่ออบเจกตที่ตองการหมุนเพื่อกําหนดจุดหมุนคางไว
แลวลากเมาสออกเพื่อทําการหมุนออบเจกต ถาหากเรากดปุม Shift คางไวดวยขณะลากเมาส จะเปน

การหมุนไปทีละ 45 องศา
จุดหมุน
หมุนออบเจกต
20
การเปลี่ยนระดับการซอน โดยปกติออบเจกตที่เราสรางขึ้นกอนจะอยูลางสุด และออบเจกตสุดทาย

จะอยูบนสุด ซึ่งเราสามารถที่จะเปลี่ยนระดับการซอนไดโดย
1. คลิกเลือกออบเจกตที่ตองการเปลี่ยนระดับการซอน
2. ไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Arrange แลวเลือก

นํามาไวหนาสุด
นํามาไวหนา 1 ลําดับ
นํามาไวหลัง 1 ลําดับ
นํามาไวหลังสุด

การรวมกลุมของออบเจกต สิ่งตาง ๆ ที่อยูบนหนากระดาษนั้น เราสามารถนํามาจัดรวมกลุมเปนอัน
เดียวกันได เพือเพิ่มความสะดวกในการจัดการ เชน การเคลื่อนยาย การหมุน หรือการยอ-ขยาย เรา
่
สามารถทําไดโดย
บน Tools Box แลวคลิกเลือกออบเจกตตาง ๆ โดยกดปุม
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer
Shift คางไวหรือลากใหครอบคลุมออบเจกตที่ตองการเลือกทั้งหมด
2. ไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Group หลังจากนี้ออบเจกตจะถูกรวมกันเปนหนึ่งเดียว แต
ถาหากตองการยกเลิกใหเลือกคําสั่ง Ungroup จากเมนู Element แทน
21
การตกแตงรูปภาพ
การบังบางสวนของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกเครื่องมือ Crop tool
บน Tools Box
2. คลิกที่รูปภาพแลวลาก handle (แทงสี่เหลี่ยมเล็กดํา) ของดานที่จะบัง

เมื่อรูปถูกบังไปแลว เรายังสามารถเลื่อนไปดูสวนที่ถูกบังอยูได โดยคลิกเลือกเครื่องมือ Crop tool
บน Tools Box คลิกปุมซายของเมาสคางไวในรูป จะปรากฏรูป ใหลากเมาสเพื่อขยับดู
สวนตาง ๆ ในรูปภาพ
การใช Mask หมายถึงการทําใหรูปทรง (เชน รูปเหลี่ยมหรือรูปวงกลม) กลายเปนกรอบสําหรับ
รูปภาพ ซึ่งกรอบนี้จะบังสวนของรูปภาพที่อยูนอกกรอบออกไปไมใหมองไมเห็น โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. สรางรูปทรงและรูปภาพกอน
2. ยายรูปทรงไปครอบรูปภาพ
3. ใช Pointer tool คลิกเลือกทั้งรูปภาพและรูปทรง (โดยกดปุม Shift คาง)
4. เลือกคําสั่ง Element > Mask

ถาตองการยกเลิกใหไปที่เมนู Element เลือก Unmask
22
Text Wrap เปนการจัดวางขอความรอบรูป เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยใหสื่อสิ่งพิมพของเราเตะตา
ผูอานไดเปนอยางดี
1. นํารูปภาพมาวางไวบนขอความ
2. คลิกที่รูปภาพ แลวไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Text Wrap
3. จะปรากฏหนาตาง Text Wrap เพื่อกําหนดคาตาง ๆ ประกอบไปดวย
Wrap option ใหเลือกแบบที่สอง
Text Flow ลักษณะการไหลของขอความ ใหเลือก
แบบที่สาม
Standoff in inches กําหนดระยะหางระหวาง
ขอความกับรูปภาพทั้ง 4 ดาน

4. เมื่อกําหนดคาตาง ๆ เรียบรอยใหกดปุม OK
23
การปรับขอความใหลัดเลาะตามรูป เราสามารถทําไดโดยหลังจากทําขั้นตอนของ Text Wrap ที่ผาน
มาแลว
1. ใหคลิกที่รูปจะปรากฏ handle 4 จุด ที่มุมของขอบเขต
Handle
เสนแนวขอบ

2. คลิกที่ handle จุดใดจุดหนึ่งคางไวแลวลากเพื่อปรับขอบเขต เพื่อใหขอความลัดเลาะตามรูป

อยางที่ตองการ

3. ในกรณีที่ตองการเพิ่มจุด handle ใหคลิกตามแนวเสนขอบเขต จะปรากฏจุด handle เพิ่มขึ้น
แตหากตองการลบใหคลิกจุด handle ที่ตองการลบคางไว แลวลากไปปลอยยัง handle
ขางเคียง
24
การใชงานเฟรม(Frame)
เฟรม (Frame) จะมีลักษณะดูเหมือนกับรูปทรงทั่ว ๆ ไป ยกเวน เสนตรง สามารถปรับแตงได
เหมือนกับรูปทรงทั้งหลาย ไมวาจะเปนสีพื้น มุมมน หรือรูปหลายเหลียม แตจะมีคณสมบัติ
่
ุ
พิเศษเพิ่มมาคือสามารถบรรจุเนื้อความหรือรูปภาพลงไปภายในได

การนําขอความหรือรูปภาพใสลงในเฟรม มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกขอความหรือรูปภาพทีตองการใส
่
2. กดปุม Shift คางไว แลวคลิกที่เฟรมที่นําขอความหรือรูปภาพไปใส

3. คลิกที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Attach Content

ขอความหรือรูปภาพที่ไดเลือกจะถูกใสลงภายในเฟรมดังภาพ

หากตองการนําขอความหรือรูปภาพออกจากเฟรม ใหคลิกที่เฟรมที่ตองการ แลวคลิกที่เมนู
Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Separate Content
25
การกําหนดคุณสมบัติของ Frame นอกจากการนําขอความหรือรูปภาพมาใสลงในเฟรมแลว
เรายังสามารถกําหนดระยะหางระหวางขอความกับเสนขอบของเฟรม การจัด Alignment ได

ระบุตําแหนงในแนวตั้ง
ระบุตําแหนงในแนวนอน

ระบุระยะหาง ระหวางขอความที่
นํามาใสลงในเฟรม

Clip Content to fit frame ระบุใหขนาดเฟรมคงที่เมื่อมีการนําขอความหรือรูปภาพมาใส แลว
จะมองไมเห็นสวนขอความหรือรูปภาพที่เกินกรอบเฟรม
Size frame to fit content ระบุใหปรับเปลี่ยนขนาดของเฟรมใหครอบพอดีขอความหรือ
รูปภาพ
Scale content to fit frame ระบุใหขนาดของเฟรมคงที่เมื่อนําขอความหรือรูปภาพมาใส แลว
ปรับเปลี่ยนขนาดของขอความหรือรูปภาพใหพอดีเขากรอบเฟรม
Maintain aspect ratio ระบุเพิ่มเติมวา ในการปรับเปลี่ยนขนาดของขอความหรือรูปภาพนัน
้
ใหคงอัตราสวนเดิมของรูปภาพเสมอ
การเปลี่ยนรูปแบบระหวางเฟรมกับรูปทรง เราสามารถที่จะเปลี่ยนเฟรมเปนรูปทรงไดโดยเมื่อ
คลิกเฟรมที่ตองการเปลี่ยนแลวใหไปทีเ่ มนู Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Change to
Graphic
26
Master Pages
Master Pages คือหนาที่ถูกสรางไวตางหากเพื่อเปนตนแบบ โดยที่เราสามารถกําหนดลักษณะตางๆ
ของหนาอื่น ๆ ใหมีลักษณะเหมือนกับหนาตนแบบ Master Pages ไดโดย
1. คลิกเลือกหนาที่ตองการใหมลักษณะเหมือนกับหนา Master Pages จาก Page Icon
ี
Page Icon

2. คลิกเลือก Master Page ที่ตองการใหหนาทีเ่ ลือกมีลักษณะเหมือนจาก Master Pages Palette

โดยปกติหนา Master Pages เริ่มแรกโปรแกรม PageMaker จะสรางไวใหหนึ่งหนาคือ
[Document Master] สําหรับหนากระดาษที่มีชื่อวา [None] ถาถูกคลิกเลือกหมายความวาจะ
ไมเลือกลักษณะตาง ๆ จากหนา Master Pages ใด ๆ
การออกแบบ แตกแตงและแกไข หนา Master Pages มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเลือกสวนของ Master Pages จากแถบดานลาง รูป คือหนา Mater Pages ของหนา
ซาย และรูป คือหนา Master Page ของหนาขวา
Master Pages

2. เนื่องจากหนา Master Pages สามารถสรางไดหลายๆ หนาอยางไมจํากัด ดังนั้นเราจึงตอง
เลือกหนา Master Pages ที่ตองการกอนจาก Master Pages Palette
3. เมื่อคลิกเลือกหนา Master Pages เขามาแลว เราจะสามารถออกแบบและตกแตงหนา
Master Pages ไดเหมือนกับหนาปกติทว ๆ ไป
ั่
สิ่งที่เราสามารถกําหนดในหนา Master Pages ประกอบดวย
Margin Guide, Column Guide และ Ruler Guide
ออบเจกตตาง ๆ ไมวาจะเปนรูปภาพ รูปทรง หรือขอความ
27
การใสเลขหนา สามารถทําไดโดยใชเครื่องมือ
ภายใน Tools Box คลิกบนตําแหนงทีตองการ
่
ใสเลขหนาภายในหนากระดาษ หลังจากนันกดปุม <Ctrl+Alt+P> พรอมกัน เลขหนาจะปรากฏบน
้
หนากระดาษตามลําดับที่แทจริง แตถาหากเราไมตองการใสลงไปทีละหนาเนื่องจากทําใหเสียเวลา
เราสามารถทําเหมือนกันในลักษณะดังกลาวบนหนา Master Pages เลขหนาก็จะปรากฏในทุก ๆ
หนาที่ใช Master Pages นั้น โดยจะปรากฏขอความ <LM> ในหนาซายและ <RM> ในหนาขวา
การสรางหนา Master Pages ใหม มีขั้นตอนดังนี้
1. กดปุม
ใบแถบดานลางของ Master Pages Palette
2. จะปรากฏหนาตางสําหรับกําหนดคุณสมบัติใหกับ Master Pages
เลือกสรางหนาคูหรือหนาเดี่ยว

ชื่อ Master Page
ระบุ Margin Guide

ระบุ Column Guide

3. กดปุม OK เพื่อสราง Master Page ใหม
การลบหนา Mater Pages สามารถทําไดโดยกดปุม
ในแถบดานลางของ Master Pages Palette
หลังจากคลิกเลือกชื่อ Master Pages ที่ตองการออกลบจาก Master Pages Palette แลว
28
การใชงาน Sort Pages
การสลับลําดับหนา
ในกรณีที่เราไดจัดเรียงหนาหนังสือไวเรียบรอยแลวแตเกิดตองการสลับลําดับของบางหนา
เสียใหม โปรแกรม PageMaker ไดเตรียมคําสั่งและการทํางานที่อํานวยความสะดวกทีเ่ รียกวา
Sort Pages โดยมีขั้นตอนของการทํางานดังนี้
1. ไปที่เมนู Layout แลวเลือกคําสั่ง Sort Pages…
2. ปรากฏหนาตาง Sort Pages ขึ้นมา ในหนาตางมีภาพยอ (Thumbnail) ของแตละหนาพรอมทั้ง
เลขหนาทางดานลางของภาพ ใหเราคลิกเมาส คางไวตรงหนาที่เราตองการสลับลําดับ ถา
หนาที่เราเลือกเปนหนาคู การสลับลําดับจะไปดวยกันเปนคู แตถาเราตองการสลับลําดับเฉพาะ
หนาเพียงหนาเดียวไมตองการใหไปเปนคู ใหกดปุม <Ctrl> คางไวกอนที่จะคลิกเมาสเลือกหนา
3. ลาก Mouse เพื่อยายหนาไปยังตําแหนงใหม โปรดสังเกตขีดแนวดิ่งที่ปรากฏซึ่งบงบอก
ตําแหนงทีหนาจะถูกแทรกลงไป ถาเราตองการแทรกหนาลงไปอยูระหวางหนาคู ใหเรากดปุม
่
<Ctrl> คางไวระหวางลากเมาสดวย

4. เมื่อปลอยเมาสจะมีการสลับลําดับหนาเกิดขึ้นในหนาตาง Sort Pages โดยดูจากภาพยอที่มีการ
ยายตําแหนง สังเกตวาเลขหนาทางดานลางของบางภาพมีเพิ่มเปน 2 ตัว ซึ่งเลขหนาตัวแรกนั้น
คือเลขหนาปจจุบันหลังจากการสลับลําดับหนาครั้งลาสุดที่ถูกสลับใหม สวนเลขหนาตัวหลัง
นั้นคือเลขหนาเดิม

5. กดปุม OK
29
การใชทํางานคําสั่งตาง ๆ บน Sort Pages นอกเหนือจากการสลับลําดับหนาแลว Sort Pages ยังมี
คําสั่งการทํางานอื่น ๆ ดังนี้
ขยายขนาดภาพยอ (Thumbnail) เพื่อใหเห็นรายละเอียดในแตละหนาไดมากขึน
้
ปุม
ปุม
ยอนาดขนาดภาพยอ (Thumbnail) เพื่อใหเห็นหนาตางๆ ไดเปนจํานวนมากขึ้น
ปุม
หากกดปุมหนาจะปรากฏหนาตาง Options สําหรับกําหนดคุณสมบัติของ

หนาตาง ๆ ดังนี้

Double-sided เลือกเพื่อกําหนดใหรูปเลมเปนแบบพิมพสองหนา ถาไมเลือกก็จะเปน
รูปเลมแบบพิมพหนาเดียว
Facing pages เพื่อใหเห็นหนากระดาษบนหนาจอทีละสองหนา ถาไมเลือกจะเห็นทีละ
หนา
Show Detailed thumbnails เพื่อใหแสดงรายละเอียดภายในหนากระดาษ ถาไมเลือกทุกๆ
หนาจะเปนสีทึบ
Do not move elements ทําใหออบเจกตตางๆ ในหนาจะอยูคงที่แมมีการเปลี่ยนรูปเลมจาก

การคลิกเลือก Double-sided แตถาไมเลือกออบเจกตตางๆ จะปรับเปลี่ยนตําแหนงไปตาม
ลักษณะรูปเลมที่เปลี่ยนไป
30
การพิมพออกทางเครื่องพิมพ
การออกผลงานทางเครื่องพิมพ
ในการออกผลงานทางเครื่องพิมพทั่วไปไมวาจะเปนเครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser) หรือ
เครื่องพิมพสีแบบอิงคเจ็ต (InkJet) คุณภาพของงานจะขึนอยูกับความละเอียดของเครื่องพิมพที่เรา
้
ใชเปนหลัก โดยทัวไปงานที่มีคุณภาพดีควรเลือกใชเครืองพิมพที่มีความละเอียดไมนอยกวา 600 จุด
่
่
ตอนิ้ว (dpi) หนาสื่อสิ่งพิมพที่ถูกพิมพออกมาบนกระดาษจะถูกสงไปยังโรงพิมพเพื่อทําการถาย
ฟลมและจัดทําเปนเพลท (แมแบบที่ใชในการพิมพ) เพื่อพิมพดวยเครื่องพิมพของโรงพิมพตอไป
การกําหนดเครื่องพิมพ
เราควรกําหนดเครื่องพิมพทเี่ ราจะใชไวตั้งแตตนกอนที่จะเริ่มจัดหนาสิงพิมพ ทั้งนี้เพราะ
่
หากเรามากําหนดทีหลัง โปรแกรมจะตองทําการจัดหนาสิ่งพิมพทั้งหมดใหมอีกครั้งเพือใหเหมาะ
่
กับเครื่องพิมพนั้น ๆ ซึ่งจะทําใหเสียเวลาตองมาตรวจดูการจัดหนาอีกครั้ง
การกําหนดเครื่องพิมพ จะกําหนดไดตั้งแตเริ่มสรางสิ่งพิมพใหมจากคําสั่ง File แลวเลือก
คําสั่ง New หรือ File แลวเลือกคําสั่ง Document Setup
เริ่มสั่งพิมพ
1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Print หรือคลิกที่ไอคอน
2. กําหนดสวนตาง ๆ
3. เมื่อเรียบรอยแลวคลิกที่ปุม print เพื่อเริ่มพิมพ

บน Tools Box

Collate เรียงหนาเปนชุดๆ เมือพิมพหลายชุด
่
Reverse พิมพจากหนาทายไปหนาแรก
่
Proof พิมพเพือตรวจพรูฟ
เลือกเครื่องพิมพ
พิมพกี่
พิมพหนาไหนบาง

พิมพทุกหนา หรือเฉพาะหนาคู หรือหนาคี่

แนววางกระดาษ
31
การออกผลงานทางเครื่องยิงฟลม
เพื่องานที่มีคณภาพสูง ปจจุบันจึงนิยมออกผลงานทางเครื่องยิงฟลม (Imagesetter) โดยเรา
ุ
จะสงไฟลงานของเราไปยังศูนยยิงฟลม เพือยิงจากไฟลลงบนฟลมโดยตรง (โดยไมตองพิมพลงบน
่

กระดาษแลวคอยนําไปถายฟลมอีกครั้ง) ทําใหงานทีไดมความละเอียดสูง คมชัด และสวยงาม ถึงแม
่ ี
จะมีคาใชจายสูงกวาปกติแตก็ใหผลคุมคา โดยมีสิ่งที่ควรรูดังนี้
การยิงฟลมงานพิมพแบบสีเดียวหรือขาว-ดํานั้น รูปภาพทั้งหมดจะตองถูกจัดเก็บไวเปน
ไฟล TIFF ในแบบ RGB หรือ CMYK หรือ Grayscale ก็ได การยิงฟลมงานพิมพแบบ 4 สี
นั้น รูปภาพทั้งหมดจะตองถูกจัดเก็บไวเปนไฟล TIFF ในแบบ CMYK เทานั้น (หากเปน
ไฟล TIFF ในแบบ RGB จะออกเปนรูปขาว-ดํา)
ทุกไฟลตองถูกเชื่อมโยงไวกับหนาสิ่งพิมพเรียบรอยแลว
งานพิมพ 4 สีแตละหนา จะถูกยิงแยกสีออกเปนฟลม 4 แผน ไดแก ฟลมสําหรับพิมพสีฟา
(Cyan), แดง(Magenta), เหลือง (Yellow) และดํา (Black)
การสงงานไปยิงฟลมนี้ เราควรเตรียมงานของเราใหพรอม และควรพิมพออกทางกระดาษ
ปกติเพื่อตรวจดูกอน จากนันจึงสงไปยังศูนยยิงฟลมเพื่อนําไปดําเนินการตอไป
้
------------------------------------------------แบบฝกหัด โปรแกรม Adobe PageMaker 7
จงสรางไฟลสื่อสิ่งพิมพใหสวยงาม โดยมีขอกําหนดดังตอไปนี้
1. สรางสื่อสิ่งพิมพ ชนิดหนาคู ขนาดกระดาษ A4 จํานวน 3 หนา
2. กําหนด Margin Guide : Inside, Outside 0.25 นิ้ว, Top 0.75 นิ้วและBottom 0.5 นิ้ว
3. Output Resolution 300 dpi
4. หนาเอกสารหนาที่ 1, 2 แบงเปน 2 Column สําหรับหนาที่ 3 แบงเปน 3 Column
5. นําไฟลภาพและขอความมาใสใหเหมือนรูปตัวอยางในแตละหนา
6. ใช Ruler Guide เพื่อชวยการจัดวาง Object
7. ผสมสีใหมชื่อวา Dark Blue โดยกําหนดระบบสีเปน RGB ซึ่งมีคาดังนี้ R = 0, G = 0, B = 128 และมีชนิด
ของสีเปนแบบ Spot
8. หนาแรกประกอบดวย
• สวน Head Line ประกอบดวยสองขอความซึ่งนํามา Group เขาดวยกัน โดยใชสีคนละสี (สีดํา Tint
100%และสี Cyan Tint 20%) โดยทั้งสองขอความใชคําวา Travel Today ใชชนิดตัวอักษร Times New
Roman มีขนาด 72
• ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content1.doc แบงเปน 3 สวน
- สวนแรกเปนเนื้อความใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 18 ระยะบรรทัดแรกกําหนด
0.25in และมีการทํา Drop cap จํานวน 2 บรรทัดที่ตัวอักษร W
32
สวนที่สองเปนหัวขอ Highlights ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 24 กําหนดเปน
ตัวหนาและตัวเอียง สี Magenta จัดขอความใหอยูกึ่งกลาง
- สวนที่สามเปนเนื้อความใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 21 ระยะบรรทัดแรกกําหนด
0.25in กั้นหนาและกั้นหลังกําหนด 0.125 in สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา สี
Dark Blue
• Object รูปทรงสี่เหลี่ยมสี Cyan Tint 20%
• รูปภาพประกอบ
9. หนาที่สองประกอบดวย
• สวน Head Line ใชคําวา Phuket Beach and Island ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 24
กําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง
• ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content 2.doc ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 14
สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา สี Dark Blue กําหนดกั้นหนาและกั้นหลังกําหนด 0.125 in
• Object รูปทรงสี่เหลี่ยมสี Cyan Tint 20%
• รูปภาพ Text Wrap (ใช Crop tool และการ Transform ชวยในการปรับขนาด) จํานวน 2 ภาพ
หนาที่สามประกอบดวย
• Frame รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมมนดานบนกําหนดขนาด Stroke 6 pt สี Stroke ใช Magenta และสี Fill ใช
Cyan Tint 20% บรรจุขอความ Travel Information ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 34
สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง
• Frame รูปทรงสี่เหลี่ยมกําหนดขนาด Stroke 4 pt สี Stroke ใช Magenta Tint 70% และสี Fill ใช
Magenta Tint 30% กําหนดใหใช Text Wrap สําหรับขอความที่บรรจุ Cut มาจากไฟล content3.doc ใช
ชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 20 สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา จัดขอความใหอยู
กึ่งกลาง
• ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content3.doc ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 18
สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง สี Magenta
• มีการใช Mask ระหวางรูปภาพกับ Object รูปทรงวงกลมและใช Text Wrap
11. หนา Mater Page ประกอบดวยรูปทรง รูปภาพและตัวอักษรวางซอนกันดังนี้
• ขอความ Handbook for Tourist TODAY ใชชนิดตัวอักษร Verdana มีขนาด 16 กําหนดเปนตัวเอียง
• เลขหนาใชชนิดตัวอักษร Verdana มีขนาด 16
12. นอกเหนือจากขอกําหนดที่มีใหสามารถปรับแตงสื่อสิ่งพิมพไดตามความเหมาะสม
-

More Related Content

Similar to การใช้

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
beauten
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
beauten
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
Suthida23
 
คู่มือ Microsoft Word 2007
คู่มือ Microsoft Word 2007คู่มือ Microsoft Word 2007
คู่มือ Microsoft Word 2007
lemonleafgreen
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือcartoon656
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5natnardtaya
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aom08
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือKaRn Tik Tok
 
งานคอม5
งานคอม5งานคอม5
งานคอม5AKii Fam
 
Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01Aekapoj Poosathan
 

Similar to การใช้ (20)

ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
5.5
5.55.5
5.5
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
คู่มือ Microsoft Word 2007
คู่มือ Microsoft Word 2007คู่มือ Microsoft Word 2007
คู่มือ Microsoft Word 2007
 
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือโครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
K5
K5K5
K5
 
K5
K5K5
K5
 
K5
K5K5
K5
 
K5
K5K5
K5
 
งานคอม5
งานคอม5งานคอม5
งานคอม5
 
Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01
 

การใช้

  • 1. เอกสารประกอบการอบรม โปรแกรม Adobe PageMaker 7.0 โครงการอบรมคอมพิวเตอรหลักสูตร “ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับงานออกแบบสิ่งพิมพและจัดทําเว็บเพจ” มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • 2. สารบัญ หนา แนะนําโปรแกรม Adobe PageMaker 7.0 ....................................................................................1 การสรางสื่อสิงพิมพและการตั้งคา Document Setup ...................................................................2 ่ การใชงาน Zero point และเสนไกดชนิดตาง ๆ .............................................................................4 การทํางานกับขอความ...................................................................................................................8 การพิมพขอความ...............................................................................................................8 การดึงขอความจากไฟลของโปรแกรมอื่น ........................................................................11 การใช Story Editor .........................................................................................................13 การใชงาน Color Palette ............................................................................................................14 การใชงาน Pictures Palette ........................................................................................................16 การทํางานกับออบเจกต ...............................................................................................................18 การสรางออบเจกตจากเสนและรูปทรงตาง ......................................................................18 การปรับขนาด การหมุน การบิด การกลับ และการล็อกออบเจกต ....................................19 การเปลี่ยนระดับการซอนและการรวมกลุมของออบเจกต................................................20 การตกแตงรูปภาพ.......................................................................................................................21 การบังบางสวนของรูปภาพ..............................................................................................21 การใช Mask.....................................................................................................................21 Text Wrap.......................................................................................................................22 การใชงานเฟรม(Frame) .............................................................................................................24 Master Pages .............................................................................................................................26 การใชงาน Sort Pages.................................................................................................................28 การพิมพออกทางเครื่องพิมพ ......................................................................................................30
  • 3. 1 แนะนําโปรแกรม Adobe PageMaker 7 PageMaker เปนโปรแกรมทีชวยในการจัดหนาเอกสารเพื่อผลิตเปนสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ เชน ่ หนังสือ ใบปลิว แผนพับ เปนตน โดยสามารถจัดการกับสิ่งพิมพที่มีเนื้อความรวมกับภาพประกอบ ไดเปนอยางดี ผลงานที่ออกมามีคุณภาพสูงสามารถสงเขาโรงพิมพเพื่อนําไปทําแมแบบเพื่อพิมพได ทันที สวนประกอบตาง ๆ ของ โปรแกรม PageMaker Menu Bar ToolBar Colors Palette Tools Box พื้นที่หนากระดาษ Control Palette Master Page Page Icon Menu Bar คือสวนที่แสดงชือเมนูคําสั่งตางๆ ใหเราเรียกใชงาน ่ พื้นที่หนากระดาษ คือสวนทีจะถูกพิมพออก โดยเราจะนําออบเจกตตาง ๆ มาจัดเรียงไวบนสวนนี้ ่ ToolBar เปนแถบเครื่องมือไวใหเราเรียกคําสั่งตาง ๆ ผานรูปภาพเล็ก ๆ ที่เรียกวาไอคอน (Icon) เพื่อใหเราสามารถใชงานไดงายยิ่งขึ้น Tools Box เปรียบเหมือนกลองเครื่องมือที่รวบรวมเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชในการจัดทําสื่อสิงพิมพ Colors Palette เปน Palette ที่ใชสําหรับกําหนดสีใหกับตัวอักษรหรือวัตถุตาง ๆ Control Palette สําหรับกําหนดคุณสมบัตตางๆ (คุณสมบัติจะเปลี่ยนตามเครื่องมือที่เราเลือก) ิ Master Page หนาตนแบบ Page Icon สําหรับไปยังหนาที่ตองการ
  • 4. 2 การเปด-ปด Palette คลิกที่เมนู Window แลวเลือกคําสัง ่ Show …. สําหรับเรียก Palette ใหปรากฏ Hide …. สําหรับซอน Palette การเปด-ปด Tools Box คลิกที่เมนู Window แลวเลือกคําสั่ง Show Tools เพื่อเปดใชกลองเครื่องมือ Tools Box Hide Tools เพื่อปดกลองเครื่องมือ Tools Box การเปด-ปด ToolBar คลิกที่เมนู Utilities เลือกคําสั่ง Plug-ins แลวเลือก Show/Hide ToolBar การสรางสื่อสิงพิมพและการตั้งคา Document Setup ่ เมื่อเปดโปรแกรม PageMaker เราจะสามารถเริ่มสรางสิ่งพิมพไดดังนี้ 1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง New 2. กําหนดคาตาง ๆ ของ Document Setupใหกับสื่อสิ่งพิมพ กําหนดขนาดเอง เลือกขนาดกระดาษ เลือกแนววางกระดาษ สิ่งพิมพเปนหนังสือที่มีหนาคู-คี่ แสดงหนาคูหนาคี่พรอมกัน จํานวนหนา กําหนดเลขหนาเริ่มตน กําหนดขอบเขตของหนา ความละเอียดของงานเมื่อพิมพออก เลือกเครื่องพิมพที่จะใชพิมพ 3. หลังจากกําหนดคาตาง ๆ เรียบรอยแลว ใหคลิกปุม OK เพื่อสรางไฟลสื่อสิ่งพิมพ
  • 5. 3 การเพิ่มหนา 1. คลิกที่เมนู Layout เลือกคําสั่ง Insert Pages จะปรากฏหนาตางเพื่อกําหนดคาในการเพิ่ม หนาดังนี้ เลือกวาจะเพิ่มไวกอนหนาหรือถัดจากหนาขณะนั้น จํานวนหนาที่ตองการเพิ่ม 2. หลังจากกําหนดคาแลว ใหคลิกปุม Insert การลดหนา 1. คลิกที่เมนู Layout เลือกคําสั่ง Remove Pages จะปรากฏหนาตางเพื่อกําหนดคาในการลด หนาดังนี้ ระบุวาจะเริ่มตัดที่หนาใด ระบุวาจะตัดไปถึงหนาใด 2. หลังจากกําหนดคา แลวใหคลิกปุม OK การเลื่อนไปยังหนาตาง ๆ ทําไดโดยคลิกที่ Icon Page ตรงแถบดานลางของโปรแกรมในหนาที่ ตองการ การบันทึกไฟลสื่อสิ่งพิมพ 1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Save 2. เลือก Folder ที่จะจัดเก็บไฟล 3. พิมพชื่อไฟลตามตองการ แลวกด ปุม Save เพื่อบันทึกไฟล (นามสกุลไฟลของโปรแกรม PageMaker 7 คือ .pmd)
  • 6. 4 การเปดไฟลสอสิ่งพิมพ ื่ 1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Open 2. เลือก Folder ที่จะจัดเก็บไฟลนั้น 3. เลือกชื่อไฟลที่ตองการ แลวคลิก ปุม Open การใชงาน Zero point และเสนไกดชนิดตาง ๆ Zero point คือจุดที่เลขศูนยไมบรรทัดตามแนวนอนและแนวตั้งมาบรรจบกัน จะชวยในการ เลื่อนแถบหนวยวัดบนไมบรรทัดทั้งในแนวตั้งและแนวนอนใหเหมาะสมกับการทํางาน โดย เมื่อเริ่มสรางไฟลใหม ถากําหนดใหเปนหนาเดี่ยว Zero point จะอยูทหัวมุมบนซายของ ี่ กระดาษพอดี สวนหนาใหมที่เปนหนาคู (กําหนด Double-Sided ไวในสวน Document Setup) จะมี Zero point อยูตรงดานบนของกึ่งกลางที่สองหนาบรรจบกัน การยาย Zero point เราสามารถทําไดโดย 1. คลิกที่มุมบนซายใตเมนูคางไว 2. ลากเมาสไปปลอยลงตรงตําแหนงที่ตองการใหเปน Zero point ใหม 3. จุดศูนยกลางของไมบรรทัดทั้งสองแนวจะเปลี่ยนมาอยู ณ ตําแหนง Zero point ใหม
  • 7. 5 เสนไกด คือเสนบนหนาเอกสารที่เราใชเปนแนวในการจัดวางออบเจกตตาง ๆ เสนไกดจะปรากฏ เฉพาะบนหนาจอเทานั้นโดยจะไมถูกพิมพออกมาทางเครื่องพิมพ ชนิดของเสนไกดมี 3 ชนิดดังนี้ 1. เสนไกดของระยะเวนจากขอบกระดาษ (Margin Guide) เสนไกดชนิดนี้จะปรากฏเปนกรอบสี่เหลียมสี ่ ในแตละหนา ซึ่งสามารถกําหนดระยะของเสนไกด ไดในสวน Margins ของ Document Setup โดยให เราระบุระยะทีเ่ สนไกดเวนจากขอบกระดาษเขามา ตรงที่ Margins โดยที่ Inside, Outside (หรือ Left, Right กรณีที่ตวเลือก Options เราไมไดเลือก ั Double Side), Top และ Bottom คือระยะจากขอบ ซาย ขวา บนและลางตามลําดับ 2. เสนไกดของคอลัมน (Column Guide) คือเสนไกดทใชแบงหนาออกเปนหลาย ๆ คอลัมน โดยใหมีชองวางระหวางคอลัมนเทา ๆ ี่ กัน ขั้นตอนการสรางเสนไกดคอลัมนมีดังตอไปนี้ 2.1 จากเมนู Layout เลือกคําสั่ง Column Guide 2.2 จะปรากฏหนาตางสําหรับใสคาตาง ๆ ดังนี้ Number of column จํานวนคอลัมนใน 1 หนา Space between columns ระยะหางระหวางคอลัมน Set left and right pages separately การกําหนดเสนไกดของคอลัมนในหนาซาย-ขวา ของหนาคูแยกตางหางจากกัน (เฉพาะเมื่อหนาเอกสารเปนแบบ Double-Sided เทานัน) ้ Adjust layout กําหนดใหจัดออบเจกตที่มีอยูในหนาใหเขาแนวคอลัมนที่กําหนดใหม นี้ (มีผลเฉพาะกับออบเจกตที่เดิมถูกจัดอยูในคอลัมนอยูแลวเทานัน)   ้ 2.3 คลิกปุม OK เพื่อสราง Column Guide
  • 8. 6 3. เสนไกดจากไมบรรทัด (Ruler Guide) คือเสนไกดที่เราสามารถหยิบออกมาจากไมบรรทัดทั้งแนวนอนและแนวตั้งไดตลอดเวลา อยางไมจํากัด โดยมีวิธีการดังนี้ คลิกคางไวที่ไมบรรทัด ลากเมาสแลวปลอยที่ตําแหนงที่ตองการ การยกเลิกเสนไกดจากไมบรรทัด ใหคลิกเสนไกดที่ตองการลบออกคางไว แลวลากกลับไปที่ ไมบรรทัด จากนั้นจึงปลอยเมาส รูปตัวอยางแสดงเสนไกดชนิดตาง ๆ ในหนาสิ่งพิมพ Ruler Guide Margin Guide Ruler Guide Ruler Guide Margin Guide Margin Guide Column Guide Margin Guide
  • 9. 7 การซอนและแสดงเสนไกดทงหมด สําหรับการซอนเสนไกด ั้ สามารถทําไดโดยคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Hide Guides เสนไกดบนหนาจอจะหายไป ถาตองการใหแสดงเสนไกด อีกครั้ง ใหคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Show Guides การจัดออบเจกตเขาชิดเสนไกด เมื่อเวลาเราลากออบเจกตใด ๆ เขา ใกลเสนไกดแลว ออบเจกตนั้นจะเคลื่อนเขาไปชิดเสนไกดโดย อัตโนมัติ สามารถทําไดโดยคลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Snap to Guides การล็อคเสนไกด หากเราไมตองการใหเสนไกดใด ๆ สามารถเคลื่อนยายตําแหนงไปจากเดิมได ให คลิกเลือกเมนู View แลวเลือกคําสั่ง Lock Guides จะปรากฏเครื่องหมายถูกหนาคําสัง แตหาก ่ ตองการใหเสนไกดสามารถเคลื่อนยายตําแหนงได ใหคลิกที่ Lock Guides อีกครั้ง เพื่อไมใหมี เครื่องหมายถูกปรากฏ การปรับขนาดมุมมองการดูสื่อสิ่งพิมพ เราสามารถที่จะยอหรือขยายมุมมองของสวนตาง ๆ ใน ที่อยูภายใน Tools Box หลังจากที่เราคลิกเลือก ชิ้นงานไดโดยใชเครื่องมือ Zoom Tool เครื่องมือนี้แลว ใหนําเมาสไปคลิกที่ตําแหนงของสวนทีตองการขยาย แตหากตองการยอใหกดปุม ่ Ctrl คางไวดวย นอกจากการใช Zoom Tool แลวเรายังสามารถใชวิธีคลิกไปที่เมนู View แลว  เลือกใชงานในกลุมคําสั่ง Zoom ซึ่งจะสามารถเรียกใชจาก ไดเชนเดียวกันดังภาพ ขยายขึ้นทีละระดับ ยอลงทีละระดับ ขนาดจริง ปรับขนาดใหดูไดทั้งหนา ยอ-ขยายเปนเปอรเซ็นต Icon บน ToolBar การเลื่อนไปยังตําแหนงอืนภายในชิ้นงาน ใหคลิกเครื่องมือ Hand Tool ่ แลวคลิกที่ตาแหนง ํ ภายในชิ้นงานเพื่อการจับยึดคางไว หลังจากนั้นลากเมาสเพื่อเลื่อนไปยังตําแหนงทีตองการ ่
  • 10. 8 การทํางานกับขอความ การพิมพขอความ เราสามารถพิมพขอความไดโดยคลิกเลือกเครื่องมือ Text tool ภายใน Tools Box หลังจากนั้น Cursor จะเปลี่ยนเปนรูป ที่เรียกวา I-beam ใหคลิก I-beam บนพื้นที่หนากระดาษ แลวทําการพิมพขอความ นอกจากนี้แลวเรายังสามารถลาก I-beam คางตามแนวเสนทแยงมุมเพื่อ กําหนดกรอบการพิมพตามที่เราตองการได วิธีที่ 1 คลิกที่ตําแหนงที่ตองการพิมพขอความ วิธีที่ 2 คลิกที่ตําแหนงที่ตองการคางไวแลวลากออกเพื่อ กําหนดกรอบการพิมพ การกําหนดลักษณะตัวอักษร หลังจากเราพิมพขอความเสร็จเรียบรอยแลว หากตองการเปลี่ยน ลักษณะตัวอักษรเชน เพิ่มขนาดตัวอักษร เปลี่ยนชนิดตัวอักษร ปรับตัวหนาตัวเอียง เปนตน ใหปาย ขอความหรือตัวอักษรที่ตองการดวย I-beam หลังจากนันเราจึงกําหนดลักษณะใหกบตัวอักษรดวย ้ ั Control Palette (ตองมั่นใจวาคลิกเลือกทีปุม ใน Control Palette แลว) ่ Font Size Type Style Tracking Leading Baseline Shift Horizontal Scale Font เปลี่ยนฟอนต Size เปลี่ยนขนาดตัวอักษร Kerning
  • 11. 9 Type Style เปลี่ยนลักษณะตัวอักษร ประกอบไปดวย ตัวปกติ ตัวหนา ตัว เอียง ตัวขีดเสนใต เปลี่ยนสีตัวอักษรเปนสีขาว ตัวขีดเสนครอม ตัวพิมพแบบเล็ก ตัวพิมพใหญ ตัว ยก และตัวหอย เรียงตามลําดับ Leading ปรับเปลี่ยนระยะชองวางระหวางบรรทัด มีหนวยเปน point Horizontal Scale ปรับเปลี่ยนความกวางของตัวอักษรจากความกวางปกติ 100% เปน 5%-250% Tracking ปรับเปลี่ยนชองวางระหวางตัวอักษรในขอความ Kerning ปรับเปลี่ยนชองวางระหวางตัวอักษรบางคูเปนพิเศษ Baseline Shift ปรับเสนฐานสําหรับการเลื่อนระดับตัวอักษร(ตัวเลขบวกเลื่อนขึ้น เลขลบเลื่อนลง) Drop cap คือการทําใหตวอักษรตัวแรกของยอหนามีขนาดใหญขึ้นโดยจะขยายกินเนื้อที่ของ ั บรรทัดถัด ๆ ไปลงมา มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกตัวอักษรที่ตองการใหเปนตัวอักษรตัวแรกของยอหนา 2. คลิกที่เมนู Utilities เลือกกลุมคําสั่ง Plug-ins แลวเลือกคําสั่ง Drop cap *** หากตองการเปลี่ยนแปลงคําสั่ง Plug-ins Drop cap ควรใชคําสั่ง Remove ของ Plug-ins Drop cap เพื่อทําใหตวอักษรตัวแรกของยอหนานันมีขนาดปกติกอนเสมอ ั ้
  • 12. 10 สัญลักษณบนที่จับของขอความ มีความสําคัญและแตกตางกันดังนี้ สัญลักษณที่จับวาง หากปรากฏบนที่จับดานบนของขอความ จะบอกถึงจุดเริ่มตนของเนื้อความนั้น แตหากปรากฏตรงที่ จับดานลางของขอความ จะบอกถึงจุดสุดทายของขอความ นั้น สัญลักษณหัวลูกศรลงสีแดง จะปรากฏเฉพาะในสวนของที่จับ ดานลางของสวนสุดทายของเนื้อความเทานั้น โดยจะแสดงวา ยังมี ขอความตอจากนี้อีก แตยังไมไดแสดงออกมา สัญลักษณบวก จะบอกใหทราบวา ขอความที่อยูกอนหนาและถัดจากทีจับที่มีสัญลักษณบวกนีเ้ ปน ่ ขอความที่ตอเนื่องกันอยู การเคลื่อนยายขอความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 3. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer บน Tools Box 4. คลิก ณ ตําแหนงใด ๆ บนขอความคางไวแลวลากไปยังตําแหนงทีตองการ ่ การปรับขนาดขอความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer บน Tools Box 2. คลิกที่ขอความ จะปรากฏจุดตรงมุมทั้ง 4 ของขอความ ใหคลิกเลือกจุดใดจุดหนึ่งแลวลาก ออกเพื่อปรับขนาดของขอความ การแยกสวนของเนื้อความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ บน Tools Box 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer 2. คลิกเมาสจับที่สัญลักษณที่จบวางดานลาง ั 3. ลากขึ้นเพื่อปรับพื้นที่ขอความที่ตองการแบง
  • 13. 11 4. ปลอยแลว ที่จบดานลางจะเปนรูปสัญลักษณบวก ใหคลิกที่สัญลักษณบวก ั 5. Cursor จะเปลียนเปนรูป หลังจากนี้ใหคลิกที่ตําแหนงทีตองการลงบนหนากระดาษเพื่อ ่ ่ แสดงขอความที่ยังไมไดแสดงออกมา ณ ตําแหนงใหม การดึงขอความจากไฟลของโปรแกรมอื่น โปรแกรม PageMaker สามารถดึงขอมูลจากไฟลประเภท Text File เพื่อนํามาสรางขอความไดโดย 1. กดปุม จาก Tools Bar หรือคลิกที่เมนู File แลวเลือกคําสั่ง Place 2. จะปรากฏหนาตางเพื่อใหเราเลือกไฟลที่ตองการ 3. เมื่อเลือกไฟลแลวใหกดปุม Open 4. Cursor จะเปลียนเปนรูป ใหคลิกลงบนตําแหนงภายในหนากระดาษที่ตองการวาง ่ ขอความ *** คําสั่ง Place นอกจากจะสามารถดึงขอมูลจากไฟลประเภท Text File ไดแลวยังสามารถดึง ไฟลรูปภาพ ซึงอาจเปนไฟล .jpg, .gif, .bmp, .wmf, .gif เขามาใชงานไดอีกดวย ่
  • 14. 12 การไหลของขอความ โดยปกติเมื่อคลิกเลือกตําแหนงเพือวางขอความแลว ขอความจะไหลลง ่ เฉพาะคอลัมนนั้น ทําใหขอความที่มีความยาวเกินความยาวของคอลัมน จะไมสามารถแสดง ขอความออกมาไดหมด จึงตองคลิกที่สัญลักษณรูปลูกศรลง เพื่อกําหนดตําแหนงใหมในการไหล ของขอความตอไป แตถาหากเราตองการใหขอความไหลไปเรื่อย ๆ จนครบทั้งหมดแบบ อัตโนมัตินั้น สามารถทําไดโดยคลิกเมนู Layout แลวคลิกใหมี เครื่องหมายถูกหนาคําสั่ง Autoflow หลังจากนี้ Cursor จากเดิมที่เปน ่ รูป ก็จะเปลียนเปนรูป ตามไปดวย ใหคลิก ณ ตําแหนงที่ ตองการ ขอความจะไหลตอเนื่องจนครบทังหมด ้ การจัดยอหนาภายในขอความ ใหปายขอความหรือตัวอักษรที่ตองการดวย I-beam หลังจากนั้นเรา จะสามารถจัดยอหนาดวย Control Palette (ตองมั่นใจวาคลิกเลือกที่ปุม ใน Control Palette แลว) ไดดังนี้ ระยะบรรทัดแรก ระยะหางยอหนากอน ระยะหางระหวางตัวอักษร การจัดวางขอความ กั้นหนา กั้นหลัง ระยะหางยอหนาหลัง
  • 15. 13 การใช Story Editor นอกจากการพิมพและแกไขขอความในหนาสิ่งพิมพโดยใชเครื่องมือ Text Tool แลว โปรแกรม PageMaker ยังมีสวนของ Story Editor ซึ่งเปนโปรแกรมประมวลผลคํา ไวใหเราใชพมพและแกไขขอความโดยเฉพาะ ซึ่ง Story Editor จะมีเครื่องมือชวยเหลือตาง ๆ เชน ิ การคนหาและแทนที่คํา สําหรับวิธีการเรียกใชงาน คือคลิกเลือกขอความที่ตองการแกไขแลวไปที่ เมนู Edit แลวเลือกคําสั่ง Edit Story การคนหาและแทนที่คํา มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกขอความที่ตองการคนหาหรือแกไข แลวไปที่เมนู Edit เลือกคําสั่ง Edit Story 2. ไปที่เมนู Utilities เลือกคําสั่ง Change จะปรากฏหนาตางดังภาพ คําที่ตองการคนหา คําที่ตองการแทนที่ 3. กดปุม Find เมื่อพบจะแสดงใหทราบ โดยคําๆ นั้นจะมีสทึบปาย ี 4. ถาตองการแทนที่คําที่กําหนด ใหคลิกที่ปม Change หรือปุม Change all ในกรณีที่ตองการ ุ  แทนที่ทุกคําทีมี ่ *** ในกรณีทขอความไมสามารถอานภาษาไทยได ใหเปลี่ยนชนิด Font ของ Story Editor โดย ี่ ไปที่เมนู File > Preferences > General > More… แลวแกไขชนิด Font ที่สนับสนุนภาษาไทย เชน Font ตระกูล UPCในสวน Story Editor
  • 16. 14 การใชงาน Color Palette ระบบสีในการพิมพ ในโปรแกรม PageMaker จะมีระบบสีใชได 3 ระบบดวยกันคือ • ระบบสี RGB เปนสีในแบบปรากฏบนจอภาพ ซึ่งเกิดจากการยิงลําแสง 3 สี ไดแก สีแดง (Red) สีเขียว(Green) และสีฟา(Blue) มาผสมเปนสีตาง ๆ • ระบบสี CMYK เปนสีที่ใชในระบบการพิมพของโรงพิมพประกอบดวยสี 4 สี ไดแก สีฟา (Cyan) สีแดง(Magenta) สีเหลือง(Yellow) และสีดํา(BlacK) • ระบบสี HLS เปนสีที่วางอยูบนรากฐานการรับรูสีของมนุษย ซึ่งประกอบดวย 3 สวนคือ  Hue (H) เปนสีที่สะทอนจากวัตถุเขาตาเราตามหลักการมองเห็นวัตถุ Lighting (L) เปนสวนที่กําหนดความมืด-ความสวางของสี Saturation (S) เปนปริมาณสีของสีนั้น การใสสีใหกับขอความและรูปทรง ลากเมาสปายขอความหรือคลิกที่รูปทรงที่ตองการใสสี แลวคลิก เลือกสีที่ตองการใน Color Palette สําหรับการใสสีใหกับรูปทรงจะมีการกําหนดสีสองสวนคือ สี เสนและสีพื้น ทั้งสีเสนและสีพื้น สีพื้นในรูป สีเสนรอบรูป การปรับความเขมของสี เราสามารถปรับไดโดยคลิกที่รปทรงที่ตองการปรับ หลังจากนั้นเลือก ู เปอรเซ็นตความเขมของสีในสวนของ Tint การกําหนดสีขึ้นใหม มีขั้นตอนดังนี้ ในแถบดานลางของ Color Palette 1. คลิกปุม
  • 17. 15 2. ตั้งชื่อสี และกําหนดคาตาง ๆ ใหกับสีในหนาตาง Color Options ชื่อสี ชนิดของสี ระบบสี ผสมคาสี สีแบบ สําเร็จรูป ชนิดของสี คือกําหนดใหพิมพสีเหมาะกับชิ้นงานนั้น ๆ มีดวยกัน 3 ลักษณะ Spot color คือสีเฉพาะที่ถูกผสมไวเพื่อนําไปพิมพเปนสีนนโดยตรงแทนการใช ั้ การผสมสีจากการพิมพในแบบ 4 สี (CMYK) โดยเราจะตองทําเพลทสําหรับสีนั้น ๆ เพื่อ ใชในงานพิมพโดยเฉพาะ เหมาะกับการพิมพสีพื้นๆ พิมพสี 1 สีหรือ 2 สี เชน สีในโบรชัวร หรือใบปลิว Process color คือสีที่เกิดจากพิมพในแบบผสมแมสีหลัก CMYK เหมาะกับการ พิมพรูปถายสีลงในเอกสาร พิมพโทนสีเนือ พิมพสีตางๆ กันจํานวนมาก ้ Tint คือการปรับคาความเขมของสี 3. คลิกปุม OK เพื่อสรางสีขึ้นใหม การใชสีแบบสําเร็จรูป ในการกําหนดสีใหมนอกจากเราจะผสมสีเองแลว เรายังสามารถเลือกสีแบบ สําเร็จรูปในสวน Libraries ของ Color Options ไดอีกดวย การปรับเปลี่ยนสี ดับเบิ้ลคลิกสีที่ตองการปรับเปลี่ยนจาก Color Palette จากนั้นจะปรากฏหนาตาง Color Options เชนเดียวกับการกําหนดสีขนใหม ซึ่งเราสามารถปรับเปลี่ยนคาตาง ๆ ไดใหมภายใน ึ้ หนาตางนี้ การเอาสีที่ไมตองการออก คลิกเลือกสีที่ตองการลบแลวคลิกปุม Palette ในแถบดานลางของ Color
  • 18. 16 การใชงาน Pictures Palette การดึงรูปภาพจาก Pictures Palette มาใชงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่เมนู Window>Plug-in Palettes> Show Picture Palette เพื่อเปด Picture Palette 2. ระบุของชนิด (Type) และหมวดหมู (Category) ของ รูปภาพที่ตองการ 3. เมื่อพบรูปภาพที่ตองการแลวดับเบิ้ลที่รูปภาพ 4. Cursor จะเปลียนเปนรูป หลังจากนั้นใหคลิกลง ่ บนตําแหนงเพื่อวางภาพ การเพิ่มรูปภาพลงใน Pictures Palette มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกหมวดหมู (Category) ที่จะเพิ่มรูปภาพบน Picture Palette ในแถบดานลางของ Pictures Palette 2. คลิกที่รูป 3. จะปรากฏหนาตาง Open เราใหระบุ Folder แลวเลือกไฟลรูปภาพที่ตองการเพิ่ม 4. กดปุม Open เพื่อเพิ่มรูปภาพ การลบรูปภาพออกจาก Pictures Palette มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกรูปภาพที่ตองการลบใน Picture Palette ในแถบดานลางของ Pictures Palette เพื่อลบรูปภาพ 2. กดปุม
  • 19. 17 การเพิ่มหมวดหมู (Category) ของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกรูปสามเหลี่ยมดานขางของ Picture Palette 2. จะปรากฏหนาตาง New Category ใหระบุชอของหมวดหมู(Category) ใหม แลวกดปุม OK ื่  การลบหมวดหมูของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกชื่อหมวดหมู (Category) ที่ตองการลบใน Picture Palette 2. คลิกรูปสามเหลี่ยมดานขางของ Picture Palette แลวเลือกคําสั่ง Delete Category 3. จะปรากฏขอความเตือน Are You Sure? ขึ้นมาใหกดปุม Yes เพื่อยืนยันการลบ
  • 20. 18 การทํางานกับออบเจกต การสรางออบเจกตจากเสนและรูปทรงตาง ๆ ภายใน Tools Box ไดจัดเตรียมเครื่องมือไวใหเราวาด เสนและรูปทรง เพื่อใชตกแตงเนื้อความใหนาดูยิ่งขึนซึ่งมีดังตอไปนี้ ้ Line Tool ใชวาดเสนตรง หากตองการเสนตรงในแนวดิ่ง แนวนอน หรือเอียง 45 องศา ใหกดปุม Shift คางไว  ขณะวาดเสนตรง Constrained line Tool ใชวาดเสนตรงเฉพาะในแนวดิ่ง แนวนอน และเอียง 45 องศา Rectangle tool ใชวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก หากตองการสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหกดปุม Shift คางไวขณะลากเพื่อวาดรูป และถาตองการเลือกรูปแบบของมุมรูปสี่เหลี่ยม สามารถเลือกไดจากคําสั่ง Rounded Corners จาก เมนู Element Ellipse tool ใชวาดวงกลมหรือวงรี หากตองการวาดวงกลม ใหกดปุม Shift คางไวขณะที่ลากเพือวาดรูป  ่ Polygon tool ใชวาดรูปหลายเหลี่ยม โดยปกติจะเปนรูปหกเหลี่ยม หากตองการรูปหลายเหลี่ยมดานเทา ใหกดปุม  Shift คางไวขณะทีวาดรูป แตถาตองการเปลี่ยนจํานวนดานของรูปหลายเหลี่ยม เมื่อวาดแลวใหไปที่ ่ เมนู Element แลวเลือกคําสัง Polygon Settings ่
  • 21. 19 การปรับความหนาของเสนและการใสสี มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่รูปทรงที่วาดไว 2. จากเมนู Element เลือกคําสั่ง Stroke เพื่อปรับขนาดเสนขอบ Fill เพื่อใสลวดลาย Fill and Stoke เพื่อปรับขนาดเสน ลวดลายและสีพรอมกัน การปรับขนาด การหมุน การบิด การกลับ และการล็อกออบเจกต ปุม Apply ตําแหนงในแนวนอน X และแนวตั้ง Y Proxy เปนจุดที่ ตองการปรับตําแหนง หรือทราบคาตาง ๆ เพื่อปรับขนาดโดย ยังคงสัดสวนเดิม ความกวาง W และ ความสูง Y กลับรูปแนวนอน หมุนรูปตามองศา บิดรูปตามองศา กลับรูปแนวตั้ง นอกจากนี้ภายใน Tools Box ยังมีเครื่องมือ Rotate tool ชวยในการหมุนออบเจกตไดอีกดวย โดยหลังจากคลิกเลือกเครื่องมือนี้แลวใหคลิกที่ออบเจกตที่ตองการหมุนเพื่อกําหนดจุดหมุนคางไว แลวลากเมาสออกเพื่อทําการหมุนออบเจกต ถาหากเรากดปุม Shift คางไวดวยขณะลากเมาส จะเปน  การหมุนไปทีละ 45 องศา จุดหมุน หมุนออบเจกต
  • 22. 20 การเปลี่ยนระดับการซอน โดยปกติออบเจกตที่เราสรางขึ้นกอนจะอยูลางสุด และออบเจกตสุดทาย  จะอยูบนสุด ซึ่งเราสามารถที่จะเปลี่ยนระดับการซอนไดโดย 1. คลิกเลือกออบเจกตที่ตองการเปลี่ยนระดับการซอน 2. ไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Arrange แลวเลือก นํามาไวหนาสุด นํามาไวหนา 1 ลําดับ นํามาไวหลัง 1 ลําดับ นํามาไวหลังสุด การรวมกลุมของออบเจกต สิ่งตาง ๆ ที่อยูบนหนากระดาษนั้น เราสามารถนํามาจัดรวมกลุมเปนอัน เดียวกันได เพือเพิ่มความสะดวกในการจัดการ เชน การเคลื่อนยาย การหมุน หรือการยอ-ขยาย เรา ่ สามารถทําไดโดย บน Tools Box แลวคลิกเลือกออบเจกตตาง ๆ โดยกดปุม 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Pointer Shift คางไวหรือลากใหครอบคลุมออบเจกตที่ตองการเลือกทั้งหมด 2. ไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Group หลังจากนี้ออบเจกตจะถูกรวมกันเปนหนึ่งเดียว แต ถาหากตองการยกเลิกใหเลือกคําสั่ง Ungroup จากเมนู Element แทน
  • 23. 21 การตกแตงรูปภาพ การบังบางสวนของรูปภาพ มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกเครื่องมือ Crop tool บน Tools Box 2. คลิกที่รูปภาพแลวลาก handle (แทงสี่เหลี่ยมเล็กดํา) ของดานที่จะบัง เมื่อรูปถูกบังไปแลว เรายังสามารถเลื่อนไปดูสวนที่ถูกบังอยูได โดยคลิกเลือกเครื่องมือ Crop tool บน Tools Box คลิกปุมซายของเมาสคางไวในรูป จะปรากฏรูป ใหลากเมาสเพื่อขยับดู สวนตาง ๆ ในรูปภาพ การใช Mask หมายถึงการทําใหรูปทรง (เชน รูปเหลี่ยมหรือรูปวงกลม) กลายเปนกรอบสําหรับ รูปภาพ ซึ่งกรอบนี้จะบังสวนของรูปภาพที่อยูนอกกรอบออกไปไมใหมองไมเห็น โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. สรางรูปทรงและรูปภาพกอน 2. ยายรูปทรงไปครอบรูปภาพ 3. ใช Pointer tool คลิกเลือกทั้งรูปภาพและรูปทรง (โดยกดปุม Shift คาง) 4. เลือกคําสั่ง Element > Mask ถาตองการยกเลิกใหไปที่เมนู Element เลือก Unmask
  • 24. 22 Text Wrap เปนการจัดวางขอความรอบรูป เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยใหสื่อสิ่งพิมพของเราเตะตา ผูอานไดเปนอยางดี 1. นํารูปภาพมาวางไวบนขอความ 2. คลิกที่รูปภาพ แลวไปที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Text Wrap 3. จะปรากฏหนาตาง Text Wrap เพื่อกําหนดคาตาง ๆ ประกอบไปดวย Wrap option ใหเลือกแบบที่สอง Text Flow ลักษณะการไหลของขอความ ใหเลือก แบบที่สาม Standoff in inches กําหนดระยะหางระหวาง ขอความกับรูปภาพทั้ง 4 ดาน 4. เมื่อกําหนดคาตาง ๆ เรียบรอยใหกดปุม OK
  • 25. 23 การปรับขอความใหลัดเลาะตามรูป เราสามารถทําไดโดยหลังจากทําขั้นตอนของ Text Wrap ที่ผาน มาแลว 1. ใหคลิกที่รูปจะปรากฏ handle 4 จุด ที่มุมของขอบเขต Handle เสนแนวขอบ 2. คลิกที่ handle จุดใดจุดหนึ่งคางไวแลวลากเพื่อปรับขอบเขต เพื่อใหขอความลัดเลาะตามรูป  อยางที่ตองการ 3. ในกรณีที่ตองการเพิ่มจุด handle ใหคลิกตามแนวเสนขอบเขต จะปรากฏจุด handle เพิ่มขึ้น แตหากตองการลบใหคลิกจุด handle ที่ตองการลบคางไว แลวลากไปปลอยยัง handle ขางเคียง
  • 26. 24 การใชงานเฟรม(Frame) เฟรม (Frame) จะมีลักษณะดูเหมือนกับรูปทรงทั่ว ๆ ไป ยกเวน เสนตรง สามารถปรับแตงได เหมือนกับรูปทรงทั้งหลาย ไมวาจะเปนสีพื้น มุมมน หรือรูปหลายเหลียม แตจะมีคณสมบัติ ่ ุ พิเศษเพิ่มมาคือสามารถบรรจุเนื้อความหรือรูปภาพลงไปภายในได การนําขอความหรือรูปภาพใสลงในเฟรม มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกขอความหรือรูปภาพทีตองการใส ่ 2. กดปุม Shift คางไว แลวคลิกที่เฟรมที่นําขอความหรือรูปภาพไปใส 3. คลิกที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Attach Content ขอความหรือรูปภาพที่ไดเลือกจะถูกใสลงภายในเฟรมดังภาพ หากตองการนําขอความหรือรูปภาพออกจากเฟรม ใหคลิกที่เฟรมที่ตองการ แลวคลิกที่เมนู Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Separate Content
  • 27. 25 การกําหนดคุณสมบัติของ Frame นอกจากการนําขอความหรือรูปภาพมาใสลงในเฟรมแลว เรายังสามารถกําหนดระยะหางระหวางขอความกับเสนขอบของเฟรม การจัด Alignment ได ระบุตําแหนงในแนวตั้ง ระบุตําแหนงในแนวนอน ระบุระยะหาง ระหวางขอความที่ นํามาใสลงในเฟรม Clip Content to fit frame ระบุใหขนาดเฟรมคงที่เมื่อมีการนําขอความหรือรูปภาพมาใส แลว จะมองไมเห็นสวนขอความหรือรูปภาพที่เกินกรอบเฟรม Size frame to fit content ระบุใหปรับเปลี่ยนขนาดของเฟรมใหครอบพอดีขอความหรือ รูปภาพ Scale content to fit frame ระบุใหขนาดของเฟรมคงที่เมื่อนําขอความหรือรูปภาพมาใส แลว ปรับเปลี่ยนขนาดของขอความหรือรูปภาพใหพอดีเขากรอบเฟรม Maintain aspect ratio ระบุเพิ่มเติมวา ในการปรับเปลี่ยนขนาดของขอความหรือรูปภาพนัน ้ ใหคงอัตราสวนเดิมของรูปภาพเสมอ การเปลี่ยนรูปแบบระหวางเฟรมกับรูปทรง เราสามารถที่จะเปลี่ยนเฟรมเปนรูปทรงไดโดยเมื่อ คลิกเฟรมที่ตองการเปลี่ยนแลวใหไปทีเ่ มนู Element เลือกคําสั่ง Frame แลวเลือก Change to Graphic
  • 28. 26 Master Pages Master Pages คือหนาที่ถูกสรางไวตางหากเพื่อเปนตนแบบ โดยที่เราสามารถกําหนดลักษณะตางๆ ของหนาอื่น ๆ ใหมีลักษณะเหมือนกับหนาตนแบบ Master Pages ไดโดย 1. คลิกเลือกหนาที่ตองการใหมลักษณะเหมือนกับหนา Master Pages จาก Page Icon ี Page Icon 2. คลิกเลือก Master Page ที่ตองการใหหนาทีเ่ ลือกมีลักษณะเหมือนจาก Master Pages Palette โดยปกติหนา Master Pages เริ่มแรกโปรแกรม PageMaker จะสรางไวใหหนึ่งหนาคือ [Document Master] สําหรับหนากระดาษที่มีชื่อวา [None] ถาถูกคลิกเลือกหมายความวาจะ ไมเลือกลักษณะตาง ๆ จากหนา Master Pages ใด ๆ การออกแบบ แตกแตงและแกไข หนา Master Pages มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเลือกสวนของ Master Pages จากแถบดานลาง รูป คือหนา Mater Pages ของหนา ซาย และรูป คือหนา Master Page ของหนาขวา Master Pages 2. เนื่องจากหนา Master Pages สามารถสรางไดหลายๆ หนาอยางไมจํากัด ดังนั้นเราจึงตอง เลือกหนา Master Pages ที่ตองการกอนจาก Master Pages Palette 3. เมื่อคลิกเลือกหนา Master Pages เขามาแลว เราจะสามารถออกแบบและตกแตงหนา Master Pages ไดเหมือนกับหนาปกติทว ๆ ไป ั่ สิ่งที่เราสามารถกําหนดในหนา Master Pages ประกอบดวย Margin Guide, Column Guide และ Ruler Guide ออบเจกตตาง ๆ ไมวาจะเปนรูปภาพ รูปทรง หรือขอความ
  • 29. 27 การใสเลขหนา สามารถทําไดโดยใชเครื่องมือ ภายใน Tools Box คลิกบนตําแหนงทีตองการ ่ ใสเลขหนาภายในหนากระดาษ หลังจากนันกดปุม <Ctrl+Alt+P> พรอมกัน เลขหนาจะปรากฏบน ้ หนากระดาษตามลําดับที่แทจริง แตถาหากเราไมตองการใสลงไปทีละหนาเนื่องจากทําใหเสียเวลา เราสามารถทําเหมือนกันในลักษณะดังกลาวบนหนา Master Pages เลขหนาก็จะปรากฏในทุก ๆ หนาที่ใช Master Pages นั้น โดยจะปรากฏขอความ <LM> ในหนาซายและ <RM> ในหนาขวา การสรางหนา Master Pages ใหม มีขั้นตอนดังนี้ 1. กดปุม ใบแถบดานลางของ Master Pages Palette 2. จะปรากฏหนาตางสําหรับกําหนดคุณสมบัติใหกับ Master Pages เลือกสรางหนาคูหรือหนาเดี่ยว ชื่อ Master Page ระบุ Margin Guide ระบุ Column Guide 3. กดปุม OK เพื่อสราง Master Page ใหม การลบหนา Mater Pages สามารถทําไดโดยกดปุม ในแถบดานลางของ Master Pages Palette หลังจากคลิกเลือกชื่อ Master Pages ที่ตองการออกลบจาก Master Pages Palette แลว
  • 30. 28 การใชงาน Sort Pages การสลับลําดับหนา ในกรณีที่เราไดจัดเรียงหนาหนังสือไวเรียบรอยแลวแตเกิดตองการสลับลําดับของบางหนา เสียใหม โปรแกรม PageMaker ไดเตรียมคําสั่งและการทํางานที่อํานวยความสะดวกทีเ่ รียกวา Sort Pages โดยมีขั้นตอนของการทํางานดังนี้ 1. ไปที่เมนู Layout แลวเลือกคําสั่ง Sort Pages… 2. ปรากฏหนาตาง Sort Pages ขึ้นมา ในหนาตางมีภาพยอ (Thumbnail) ของแตละหนาพรอมทั้ง เลขหนาทางดานลางของภาพ ใหเราคลิกเมาส คางไวตรงหนาที่เราตองการสลับลําดับ ถา หนาที่เราเลือกเปนหนาคู การสลับลําดับจะไปดวยกันเปนคู แตถาเราตองการสลับลําดับเฉพาะ หนาเพียงหนาเดียวไมตองการใหไปเปนคู ใหกดปุม <Ctrl> คางไวกอนที่จะคลิกเมาสเลือกหนา 3. ลาก Mouse เพื่อยายหนาไปยังตําแหนงใหม โปรดสังเกตขีดแนวดิ่งที่ปรากฏซึ่งบงบอก ตําแหนงทีหนาจะถูกแทรกลงไป ถาเราตองการแทรกหนาลงไปอยูระหวางหนาคู ใหเรากดปุม ่ <Ctrl> คางไวระหวางลากเมาสดวย 4. เมื่อปลอยเมาสจะมีการสลับลําดับหนาเกิดขึ้นในหนาตาง Sort Pages โดยดูจากภาพยอที่มีการ ยายตําแหนง สังเกตวาเลขหนาทางดานลางของบางภาพมีเพิ่มเปน 2 ตัว ซึ่งเลขหนาตัวแรกนั้น คือเลขหนาปจจุบันหลังจากการสลับลําดับหนาครั้งลาสุดที่ถูกสลับใหม สวนเลขหนาตัวหลัง นั้นคือเลขหนาเดิม 5. กดปุม OK
  • 31. 29 การใชทํางานคําสั่งตาง ๆ บน Sort Pages นอกเหนือจากการสลับลําดับหนาแลว Sort Pages ยังมี คําสั่งการทํางานอื่น ๆ ดังนี้ ขยายขนาดภาพยอ (Thumbnail) เพื่อใหเห็นรายละเอียดในแตละหนาไดมากขึน ้ ปุม ปุม ยอนาดขนาดภาพยอ (Thumbnail) เพื่อใหเห็นหนาตางๆ ไดเปนจํานวนมากขึ้น ปุม หากกดปุมหนาจะปรากฏหนาตาง Options สําหรับกําหนดคุณสมบัติของ  หนาตาง ๆ ดังนี้ Double-sided เลือกเพื่อกําหนดใหรูปเลมเปนแบบพิมพสองหนา ถาไมเลือกก็จะเปน รูปเลมแบบพิมพหนาเดียว Facing pages เพื่อใหเห็นหนากระดาษบนหนาจอทีละสองหนา ถาไมเลือกจะเห็นทีละ หนา Show Detailed thumbnails เพื่อใหแสดงรายละเอียดภายในหนากระดาษ ถาไมเลือกทุกๆ หนาจะเปนสีทึบ Do not move elements ทําใหออบเจกตตางๆ ในหนาจะอยูคงที่แมมีการเปลี่ยนรูปเลมจาก  การคลิกเลือก Double-sided แตถาไมเลือกออบเจกตตางๆ จะปรับเปลี่ยนตําแหนงไปตาม ลักษณะรูปเลมที่เปลี่ยนไป
  • 32. 30 การพิมพออกทางเครื่องพิมพ การออกผลงานทางเครื่องพิมพ ในการออกผลงานทางเครื่องพิมพทั่วไปไมวาจะเปนเครื่องพิมพแบบเลเซอร (Laser) หรือ เครื่องพิมพสีแบบอิงคเจ็ต (InkJet) คุณภาพของงานจะขึนอยูกับความละเอียดของเครื่องพิมพที่เรา ้ ใชเปนหลัก โดยทัวไปงานที่มีคุณภาพดีควรเลือกใชเครืองพิมพที่มีความละเอียดไมนอยกวา 600 จุด ่ ่ ตอนิ้ว (dpi) หนาสื่อสิ่งพิมพที่ถูกพิมพออกมาบนกระดาษจะถูกสงไปยังโรงพิมพเพื่อทําการถาย ฟลมและจัดทําเปนเพลท (แมแบบที่ใชในการพิมพ) เพื่อพิมพดวยเครื่องพิมพของโรงพิมพตอไป การกําหนดเครื่องพิมพ เราควรกําหนดเครื่องพิมพทเี่ ราจะใชไวตั้งแตตนกอนที่จะเริ่มจัดหนาสิงพิมพ ทั้งนี้เพราะ ่ หากเรามากําหนดทีหลัง โปรแกรมจะตองทําการจัดหนาสิ่งพิมพทั้งหมดใหมอีกครั้งเพือใหเหมาะ ่ กับเครื่องพิมพนั้น ๆ ซึ่งจะทําใหเสียเวลาตองมาตรวจดูการจัดหนาอีกครั้ง การกําหนดเครื่องพิมพ จะกําหนดไดตั้งแตเริ่มสรางสิ่งพิมพใหมจากคําสั่ง File แลวเลือก คําสั่ง New หรือ File แลวเลือกคําสั่ง Document Setup เริ่มสั่งพิมพ 1. จากเมนู File เลือกคําสั่ง Print หรือคลิกที่ไอคอน 2. กําหนดสวนตาง ๆ 3. เมื่อเรียบรอยแลวคลิกที่ปุม print เพื่อเริ่มพิมพ บน Tools Box Collate เรียงหนาเปนชุดๆ เมือพิมพหลายชุด ่ Reverse พิมพจากหนาทายไปหนาแรก ่ Proof พิมพเพือตรวจพรูฟ เลือกเครื่องพิมพ พิมพกี่ พิมพหนาไหนบาง พิมพทุกหนา หรือเฉพาะหนาคู หรือหนาคี่ แนววางกระดาษ
  • 33. 31 การออกผลงานทางเครื่องยิงฟลม เพื่องานที่มีคณภาพสูง ปจจุบันจึงนิยมออกผลงานทางเครื่องยิงฟลม (Imagesetter) โดยเรา ุ จะสงไฟลงานของเราไปยังศูนยยิงฟลม เพือยิงจากไฟลลงบนฟลมโดยตรง (โดยไมตองพิมพลงบน ่  กระดาษแลวคอยนําไปถายฟลมอีกครั้ง) ทําใหงานทีไดมความละเอียดสูง คมชัด และสวยงาม ถึงแม ่ ี จะมีคาใชจายสูงกวาปกติแตก็ใหผลคุมคา โดยมีสิ่งที่ควรรูดังนี้ การยิงฟลมงานพิมพแบบสีเดียวหรือขาว-ดํานั้น รูปภาพทั้งหมดจะตองถูกจัดเก็บไวเปน ไฟล TIFF ในแบบ RGB หรือ CMYK หรือ Grayscale ก็ได การยิงฟลมงานพิมพแบบ 4 สี นั้น รูปภาพทั้งหมดจะตองถูกจัดเก็บไวเปนไฟล TIFF ในแบบ CMYK เทานั้น (หากเปน ไฟล TIFF ในแบบ RGB จะออกเปนรูปขาว-ดํา) ทุกไฟลตองถูกเชื่อมโยงไวกับหนาสิ่งพิมพเรียบรอยแลว งานพิมพ 4 สีแตละหนา จะถูกยิงแยกสีออกเปนฟลม 4 แผน ไดแก ฟลมสําหรับพิมพสีฟา (Cyan), แดง(Magenta), เหลือง (Yellow) และดํา (Black) การสงงานไปยิงฟลมนี้ เราควรเตรียมงานของเราใหพรอม และควรพิมพออกทางกระดาษ ปกติเพื่อตรวจดูกอน จากนันจึงสงไปยังศูนยยิงฟลมเพื่อนําไปดําเนินการตอไป ้ ------------------------------------------------แบบฝกหัด โปรแกรม Adobe PageMaker 7 จงสรางไฟลสื่อสิ่งพิมพใหสวยงาม โดยมีขอกําหนดดังตอไปนี้ 1. สรางสื่อสิ่งพิมพ ชนิดหนาคู ขนาดกระดาษ A4 จํานวน 3 หนา 2. กําหนด Margin Guide : Inside, Outside 0.25 นิ้ว, Top 0.75 นิ้วและBottom 0.5 นิ้ว 3. Output Resolution 300 dpi 4. หนาเอกสารหนาที่ 1, 2 แบงเปน 2 Column สําหรับหนาที่ 3 แบงเปน 3 Column 5. นําไฟลภาพและขอความมาใสใหเหมือนรูปตัวอยางในแตละหนา 6. ใช Ruler Guide เพื่อชวยการจัดวาง Object 7. ผสมสีใหมชื่อวา Dark Blue โดยกําหนดระบบสีเปน RGB ซึ่งมีคาดังนี้ R = 0, G = 0, B = 128 และมีชนิด ของสีเปนแบบ Spot 8. หนาแรกประกอบดวย • สวน Head Line ประกอบดวยสองขอความซึ่งนํามา Group เขาดวยกัน โดยใชสีคนละสี (สีดํา Tint 100%และสี Cyan Tint 20%) โดยทั้งสองขอความใชคําวา Travel Today ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 72 • ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content1.doc แบงเปน 3 สวน - สวนแรกเปนเนื้อความใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 18 ระยะบรรทัดแรกกําหนด 0.25in และมีการทํา Drop cap จํานวน 2 บรรทัดที่ตัวอักษร W
  • 34. 32 สวนที่สองเปนหัวขอ Highlights ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 24 กําหนดเปน ตัวหนาและตัวเอียง สี Magenta จัดขอความใหอยูกึ่งกลาง - สวนที่สามเปนเนื้อความใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 21 ระยะบรรทัดแรกกําหนด 0.25in กั้นหนาและกั้นหลังกําหนด 0.125 in สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา สี Dark Blue • Object รูปทรงสี่เหลี่ยมสี Cyan Tint 20% • รูปภาพประกอบ 9. หนาที่สองประกอบดวย • สวน Head Line ใชคําวา Phuket Beach and Island ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 24 กําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง • ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content 2.doc ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 14 สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา สี Dark Blue กําหนดกั้นหนาและกั้นหลังกําหนด 0.125 in • Object รูปทรงสี่เหลี่ยมสี Cyan Tint 20% • รูปภาพ Text Wrap (ใช Crop tool และการ Transform ชวยในการปรับขนาด) จํานวน 2 ภาพ หนาที่สามประกอบดวย • Frame รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมมนดานบนกําหนดขนาด Stroke 6 pt สี Stroke ใช Magenta และสี Fill ใช Cyan Tint 20% บรรจุขอความ Travel Information ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 34 สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง • Frame รูปทรงสี่เหลี่ยมกําหนดขนาด Stroke 4 pt สี Stroke ใช Magenta Tint 70% และสี Fill ใช Magenta Tint 30% กําหนดใหใช Text Wrap สําหรับขอความที่บรรจุ Cut มาจากไฟล content3.doc ใช ชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 20 สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนา จัดขอความใหอยู กึ่งกลาง • ขอความที่เปนเนื้อหานํามาจากไฟล content3.doc ใชชนิดตัวอักษร Times New Roman มีขนาด 18 สําหรับหัวขอกําหนดเปนตัวหนาและตัวเอียง สี Magenta • มีการใช Mask ระหวางรูปภาพกับ Object รูปทรงวงกลมและใช Text Wrap 11. หนา Mater Page ประกอบดวยรูปทรง รูปภาพและตัวอักษรวางซอนกันดังนี้ • ขอความ Handbook for Tourist TODAY ใชชนิดตัวอักษร Verdana มีขนาด 16 กําหนดเปนตัวเอียง • เลขหนาใชชนิดตัวอักษร Verdana มีขนาด 16 12. นอกเหนือจากขอกําหนดที่มีใหสามารถปรับแตงสื่อสิ่งพิมพไดตามความเหมาะสม -