SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตPresentation Transcript
 1. เทคนิค การค้นหาข้อมูล ใน … อินเตอร์เนต รายวิชา ASI 403 ภาษาและเทคโนโลยีเพื่อ
การเรียนรู้ ภาคการศึกษาที่ ๑ / ๒๕๕๒ สถาบันอาศรมศิลป์
 2. การค้นหาข้อมูลในเวปไซต์ ปัญหาในการสืบค้น การวางแผนและกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
รูปแบบการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เนต เวปไซต์ค้นหาข้อมูล (Search Engine) ที่ได้รับความ
นิยม วิธีการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เนต เทคนิควิธีการในการใส่คาสืบค้น การบันทึกเวปเพจ
(Web Page) ที่สนใจเป็นไฟล์
 3. ระบบการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า เซิร์สเอ็นจิน (Search Engine) เป็นหัวใจสาคัญของการ
ค้นหาข้อมูล ที่จะทาให้การค้นหาข้อมูลซึ่งมีจานวนมากบนอินเทอร์เน็ตนั้นเกิดประโยชน์ใน
การเข้าถึงได้อย่างแท้จริง ระบบค้นหาที่นิยมใช้กันอยู่ในขณะนี้ เช่น
http://www.google.com http://www.google.co.th www . yahoo . com www .
altavista . com ฯลฯ ระบบค้นหายังมีอีกมาก แม้แต่เว็บเพ็จขององค์กรต่าง ๆ ก็มักจะมี
ระบบค้นหา เพื่อให้ผู้ต้องการข้อมูลภายในองค์กรจะได้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
 4. ไม่ทราบความต้องการที่แท้จริง และไม่ทราบว่าควรจะค้นหาข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลมี
เยอะแยะมากมาย หลายสิบหน้า หรือเป็นพันๆ แล้วจะเลือกอย่างไรให้ตรงประเด็นที่เรา
ต้องการมากที่สุด จะทาอย่างไร และควรใช้คาสืบค้นอย่างไร ? ที่จะได้ข้อมูลตรงประเด็นที่เรา
ต้องการมากที่สุด ?
 5. ๑ . รู้เป้ าหมายในการค้นหา เช่น ต้องการข้อมูลสารสนเทศเชิงวิชาการ เพื่อเป็นข้อมูลการ
เขียนบทความ ทารายงาน ทาการวิจัยเพื่อการศึกษาเป็นต้น ๒ . ต้องรู้ว่าต้องการค้นเรื่อง
อะไร ๓ . รู้แหล่งข้อมูลและฐานข้อมูลที่ต้องการสืบค้น ( URL :http://www. arsomsilp .
ac.th ) ๔ . การรู้จักเลือกเครื่องมือช่วยค้นที่เหมาะสมกับหัวข้อที่ต้องการ ๕ . กาหนดคาที่จะ
ใช้ค้น ( Query ) เช่นคาสาคัญหรือหัวเรื่อง ๖ . การพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล ๗ .
วิเคราะห์และประเมินผลลัพธ์ที่ได้ วิธีแก้ปัญหาในการสืบค้นข้อมูล
 6. เลือก Search Engine ที่ใช้ประจาไว้ใน “ Bookmarks” or “Favorite Places” ถ้าหัวเรื่อง
กว้างให้ใช้Subject Search เช่น Yahoo, LookSmart or Encyclopedia Britannica ถ้าเป็น
เรื่องเฉพาะหรือหัวข้อแคบให้ใช้ Keyword ค้นใน Infoseek, excite และ Savvy ค้นจาก
หลายๆฐานข้อมูลหรือค้นจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น AltaVista, HotBot or
NorthernLight ทาความเข้าใจกับเครื่องมือวิธีการสืบค้น ภาษา และ เทคนิคที่ใช้เพื่อไม่ให้
คาค้นกว้างเกินไป
 7. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
 8. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย จากการที่
เจ้าของเวปไซต์คัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็น
ประเภท สาหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะ ดูได้เลยใน Web
Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง
ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาด
ของ
 9. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine ผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า ๗๐ % จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้
หลักการทางานของ Search Engine คุณจะต้องพิมพ์คาสาคัญ ( Keyword) ซึ่งเป็นการ
อธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้น Search Engine ก็จะ
แสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา ( ระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง
โดยใช้Software ที่มีหน้าที่ควบคุมและจัดการ มีชื่อเรียกว่า Spiders ซึ่งการทางานของมันจะ
ใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยง ถึงกันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อ
ค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ
ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่
สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการ
ประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้น
มักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก
 10. Google http://www.google.com/ Yahoo http://www.yahoo.com/ AltaVista
http://www.altavista.com/ Excite http://www.excite.com/ HotBot
http://www.hotbot.com/ Infoseek http://www.infoseek.com/ Lycos
http://www.lycos.com/
 11. Siamguru http://www.siamguru.com ThaiFind http://www.thaifind.com Sanook
http://www.sanook.com Tuk – Tuk http://www.tuk-tuk.com/index-b.asp
Thailand2000 http://www.thailand 2000 .com
 12. การค้นหาข้อมูล ในเวิลด์ไวด์เว็บ ทาได้โดย การพิมพ์คา วลี หรือคาถาม ลงไปในช่องว่าง
แล้วคลิกที่ search ตัวอย่างเช่น เราต้องการทราบสภาพอากาศในกรุงเทพฯ ให้พิมพ์คาว่า
Bangkok weather หรือ what is the weather in Bangkok? ลงไป เมื่อคลิ๊กที่ search
โปรแกรมจะค้นหาข้อมูล ที่เกี่ยวกับสภาพอากาศในกรุงเทพฯให้ทันที
 13. ๑ ๒ การใช้เครื่องหมาย คาพูด “ ……………….” ถ้าเราต้องการค้นหาคาหรือวลีที่
เฉพาะเจาะจง และแน่ใจ ว่าคาหรือวลี นั้น เช่น " you are my sun shine "
ทาให้เราได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการมากกว่า การใช้ ตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ การค้นหา
ข้อมูลใน อินเตอร์เนต ให้ใช้ตัวอักษรตัวเล็กเท่านั้น เช่น ถ้าพิมพ์ว่า " Banana
" ก็จะได้ผลลัพธ์จากเวปไซต์เฉพาะที่สะกดว่า Banana เท่านั้น แต่ถ้าใช้ banana เรา
จะได้ผลลัพธ์ จากทุกเวปเพจ
 14. ๓ ๔ การใช้เครื่องหมายบวก และ ลบ กรณีที่ต้องการให้ผลลัพธ์ทั้งหมด มีคาที่เรา
ต้องการค้นหาอยู่ด้วย ให้ใส่ (+) ไปข้างหน้า เช่น ต้องการให้มีคาว่า phuket อยู่ในผลลัพธ์
ให้พิมพ์ beach diving sea + phuket แต่ถ้าต้องการให้ผลลัพธ์ไม่มีคา ที่ต้องการอยู่ ก็ให้ใส่ (
– ) ด้านหน้าคานั้น การใช้ Wildcards เราใช้เครื่องหมาย (*) เป็นตัวร่วม สาหรับค้นหาเวป
เพจ เพื่อให้ครอบคลุม ถึงคาที่เราต้องการในหลายๆรูปแบบ เช่น com* เป็นการบอกให้หาคา
ที่มีคาว่า com ขึ้นหน้าเป็นหลักส่วนด้านท้ายเป็นอะไรไม่สนใจ แต่หากนามาไว้ด้านหน้า เช่น
* tor จะเป็นการให้หาคาที่ลงท้ายด้วย tor เป็นหลัก
 15. ๕ การใช้ตัวเชื่อมทาง Logic มีอยู่ ๓ ตัวด้วยกันคือ AND เป็นการสั่งให้หาโดยจะต้องมี
คานั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น ! โดยไม่จาเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น food AND fruit เป็นต้น
OR เป็นการสั่งให้หาข้อมูล โดยจะต้องนาคาใดคาหนึ่งที่พิมพ์ลงไปแสดงออกมา NOT เป็น
การสั่งไม่ให้เลือกคานั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทา
การหาเวปที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น
 16. ๖ การระบุเงื่อนไขประเภทเอกสาร นามาใช้ในกรณีที่ต้องการเอกสารฉบับจริง หรือ
เอกสารฟอร์แมตต่างๆ ที่เผยแพร่ผ่านเวปไซต์ เช่น ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ e-Learning ที่อยู่
ในฟอร์แมต Microsoft PowerPoint วิธีการ คือระบุคาเฉพาะเพิ่มเติมในการสืบค้น คือ
filetype:ppt เช่น e-Learning filetype:ppt หรือต้องการให้การสืบค้นมีความเฉพาะเพิ่มขึ้น
เช่น e-learning site:nectec.or.th filetype:ppt นอกจากยังสามารถระบุฟอร์แมตเอกสาร
อื่นได้ เช่น doc สาหรับ Microsoft Word xls สาหรับ Microsoft Excel และ pdf สาหรับ
เอกสารในฟอร์แมต pdf
 17. ๗ การค้นหาคาในหน้าเวปเพจด้วย Web Browser ใช้ในกรณี ค้นหาข้อความที่ตรงกับ
ความต้องการภายในเวปเพจที่ได้เลือกไว้ ( สะดวกต่อการนั่งไล่ดูทีละบรรทัด จากข้อความที่มี
อยู่เต็มหน้าจอไปหมด ) วิธีการ นา mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทัดคาสั่ง
Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ จากนั้นใส่คาที่ต้องการค้นหาลงไปแล้ว
ก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหาคาดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคานั้นๆ
ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ
 18. พิมพ์คาสั่ง URL ไปที่ Webs ite ที่ต้องการ คลิกเมนู File คลิกคาสั่ง Save As เลือก
folder ที่จะใช้เก็บแฟ้ม คลิกคาสั่ง Save เครื่องจะเก็บเป็นไฟล์ชนิด HTML ถ้าต้องการเก็บ
เป็น Text File ให้เปลี่ยนชนิดเป็น .TXT
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจานวนมากมายอย่างนี้เราไม่
อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบ ได้ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่
เรียก ว่าSearch Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมี
มากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและ ถ้าเรา เปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และ
อาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้องพึ่งพา Search
Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน
เพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด
คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไป
ศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
การค้นหาข้อมูลมีกี่วิธี ?
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูล
ด้วย วิธีของSearch Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัด
แบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สาหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่
ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึก
ลงมาอีก ระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหน อันนี้ก็
ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อย
เพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึงประเภทย่อยที่คุณสนใจ แล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูล นั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากที่จะ
ดู สามารถClick ลงไป ยัง Link เพื่อขอเชื่อต่อทางไซต์ก็จะนาเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมา
แสดงผล ทันที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบ เรียงโดย
นาเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของรายชื่อที่แสดง
การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้
วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทางานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้Indexลักษณะของ
มันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาล ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป บน Internet ไม่มีการแสดง
ข้อมูลออกมาเป็นลาดับ ขั้นของความสาคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้นฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณ
จะต้องพิมพ์คาสาคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการ จะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้า
ไป จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและSite ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา
**** ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine
คาตอบก็ คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบ Index เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทา
ระบบฐาน ข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบ Search Engine นั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง
โดยใช้Software ที่ มี หน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่ง
เจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spidersการทางานข้องมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตาม
เครือข่าย ต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กันอยู่เต็มไปหมดใน Internetเพื่อค้นหา Website ที่ เกิดขึ้นมา
ใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Siteเดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูก
อัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐาน ข้อมูลของ
ตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหา
ด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูล
ที่ ค้นหามาได้อาจมีถึงเป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้าง หละที่อยากจะมานั้งค้นหาและอ่านดูที่จะ
เพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็นวันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่ คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้น
จิงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจะขอกล่าวในตอนหลัง
ประเภทของ Search Engine
Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภท
ของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูล
หรือเว็บไซต์ โดยวิธีการSearch นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้
วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บ
ข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ
1. Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสารวจ
มาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ
โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่ง อยู่ในรูปแบบของ
ข้อความที่อยู่ในคาสั่ง alt ซึ่งเป็นคาสั่งภายใน TAG คาสังข องรูปภาพ แต่จะไม่นาคาสั่ง
ของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคาสั่งในภาษาJAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหา
ของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ใน
การนาเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดใน
การจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คานึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร
แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี
2. Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ
วิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้
แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทาให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัด
หมวดหมู่แต่ละคนว่าจะ จัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search
Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนามาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การ
ค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หาก
เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search
Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
3. Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search
Engineประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการ
นี้จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคาประเภท Natural
Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึง
ข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย
หลักการค้นหาข้อมูลของ Search Enine
สาหรับหลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine แต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
ออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการ ต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหน แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีกลไกใน
การค้นหาที่ใกล้เคียงกันหากจะแตกต่างก็คงจะเป็นเรื่องประสิทธิภาพเสีย มากกว่า ว่าจะมีข้อมูล เก็บ
รวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนาเอาออก มาบริการให้กับผู้ใช้ได้ตรงตาม
ความต้องการหรือเปล่า ซึ่งลักษณะของปัจจัยที่ใช้ค้นหาโดยหลักๆจะมี ดังนี้
1. การค้นหาจากชื่อของตาแหน่ง URL ใน เว็บไซต์ต่างๆ
2. การค้นหาจากคาที่มีอยู่ใน Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ทางด้าน ซ้ายบนของ
หน้าต่างที่แสดง
3. การค้นหาจากคาสาคัญหรือคาสั่ง keyword (อยู่ใน tag คาสั่งใน html ที่มีชื่อว่า meta)
4. การค้นหาจากส่วนที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ site
5. ค้นหาคาในหน้าเว็บเพจด้วย Browser ซึ่งการค้นหาคาในหน้าเว็บเพจนั้นจะ ใช้สาหรับกรณีที่
คุณเข้าไปค้นหาข้อมูลที่เว็บ เพจใด เว็บเพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความปรากฏอยู่เต็มไปหมด จะนั่งไล่
ดูทีละบรรทัดคงไม่สะดวก ในลักษณะนี้เราใช้ใช้browser ช่วยค้นหาให้ ขึ้นแรกให้คุณ
นา mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทัดคาสั่ง Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl +
F ที่ keyboard ก็ได้จากนั้นใส่คาที่ต้องการค้นหาลงไปแล้วก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหา
คาดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคานั้นๆ ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อ
ได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ
***เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล
ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบ
เห็น หรือประสบอยู่เสมอๆ ก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้น
เพื่อ ความ สะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือ จากัดคา ที่ค้น หาให้
แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด ดังวิธีการต่อไปนี้
1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด(อย่าง ที่บอกไว้ตั้งแต่ตอนต้นว่า
มีอยู่ 2 แบบ) ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่จะ เห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการจะ
ค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่าง
ของ yahoo เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search
Engine
2. ใช้คามากกว่า 1 คาที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลง
และชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคาเดียวโดดๆ)
3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่นการค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็
น่าที่จะเลือกใช้Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็น ที่น่า
พอใจกว่า
4. ใส่เครื่องหมายคาพูดครอบคลุมกลุ่มคาที่ต้องการ เพื่อบอก กับ Search Engine ว่า
เรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคาในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลาดับที่เรา พิมพ์ทุกคา เช่น “free
shareware” เป็นต้น
5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มัน
ค้นหาคาดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัว อักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการ
อยากที่จะให้มันค้นหา คาตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน
6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วย ค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้
หาโดยจะต้องมีคานั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จาเป็นว่าจะ ต้องติดกัน เช่น phonelink AND
pager เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนาคาใดคาหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือก
คานั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทาการหาเว็บที่เกี่ยวข้อง
กับ food และ cheese แต่ ต้องไม่มี butter เป็นต้น
7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคา + หน้าคาที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นาหน้าคาที่ไม่ต้องการ
() ช่วยแยกกลุ่มคา เช่น (pentium+computer)cpu
8. ใช้ * เป็ นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคาที่มีคา ว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น
อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคาที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ
9.หลีก เลี่ยงการใช้ตัวเลข พยายามเลี่ยงการใช้คาค้นหาที่เป็นคาเดี่ยวๆ หรือเป็นคาที่มีตัวเลขปน
แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ คุณก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคาพูด (” “) ลงไปด้วย เช่น “windows 98″
10. หลีก เลี่ยงภาษาพูด หลีกเลี่ยงคาประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคาหรือ
ข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคาหรือวลี ที่มีความหมายรวม
ทั้งหมดไว้ Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยคุณได้มาก ใน
การบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทาให้คุณได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของคุณมาก
ขึ้น
11. อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คน
ส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้
งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไต์
แหล่งอ้างอิง
http://thana-za.exteen.com/20071123/search-engine-1
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/pa
ge04_2.htm
www2.udru.ac.th/~waraporn/myweb/Train/Internet.doc
http://www.yupparaj.ac.th/CAI/search/search_02-1.html
การทางานของอินเทอร์เน็ต
การทางานของอินเตอร์เน็ต
โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol เป็น ระเบียบวิธีการ
สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กันมาแต่เดิมในระบบปฏิบัติการ Unix ซึ่งมีการใช้งานอย่าง
กว้างขวางมาก จนถือเป็นมาตรฐานได้ จุดกาเนิดของโปรโตคอล TCP/IP นี้เริ่มขึ้นในราว พ.ศ. 2512
ที่กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ เมื่อพบปัญหาในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ
ของตน ซึ่งจะต้องมีการส่งข้อมูลระหว่างกัน และไปยังหน่วยงานภายนอกอื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัย
ห้องทดลองต่างๆ (ส่วนใหญ่มีเครื่องที่ใช้ระบบ Unix อยู่เป็นจานวนมาก) เนื่องจากแต่ละแห่งก็จะมี
ระบบคอมพิวเตอร์ของตนเองที่แตกต่างกันไป การต่อเชื่อมกันก็เป็นไปในลักษณะต่างคนต่างทาไม
เหมือนกัน ดังนั้นข่าวสารข้อมูลทั้งหลาย จึงถ่ายเทไปมาได้อย่างยากลาบากมาก กระทรวงกลาโหม
สหรัฐได้จัดตั้งหน่วยงาน Advanced Research Projects Agencies (ARPA) ขึ้นมา เพื่อหาทาง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผลลัพธ์ที่หน่วยงาน ARPA ได้จัดทาขึ้นคือ การกาหนดมาตรฐานในการ
สื่อสารข้อมูลและได้จัดตั้งเครือข่าย ARPANET ขึ้นโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP ต่อมาก็กลายมาเป็น
มาตรฐานจริงจัง ในราวปี พ.ศ. 2525 ความสัมพันธ์ระหว่าง TCP/IP กับระบบปฏิบัติการ Unix
เกิดขึ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่เบอร์คเลย ์์ ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการ Unix ซึ่งมีการ
ผนวกเข้ากับโปรโตคอล TCP/IP สาหรับใช้ในการสื่อสารระหว่างระบบออกมา และเผยแพร่ต่อไปยัง
หน่วยงานต่างๆ ทาให้การสื่อสารกันของเครื่องที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Unix มักจะต้อง ใช้โปรโตคอล
TCP/IP เสมอ และมีบทบาทเป็นสิ่งที่คู่กันต่อมาถึงปัจจุบัน
ใน ปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็
สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าส ์ู์่อินเตอร์เน็ตได้ วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้ง
ใช้งานซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับ
ระบบที่ใช้ซึ่งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกันในระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้อง
มีหมายเลขประจาตัวเอาไว้อ้างอิงให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้
คนอื่นเรียก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเราเรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า
“แอดเดรส IP” (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลข
ชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลา
เขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลข
แต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น 192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP
Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สาคัญคล้ายเบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซ้ากัน เพราะสามารถกาหนด
เป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า 4 พันล้านเลขหมาย แต่การกาหนดให้คอมพิวเตอร์มีเลขหมาย IP
Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข 1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ หากแต่จะมีการจัด แบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ
o ส่วนแรกเป็นหมายเลขของเครือข่าย (Network Number)
o ส่วน ที่สองเรียกว่าหมายเลขของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายนั้น (Host Number)
เพราะในเครือข่ายใดๆ อาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่ได้มากมาย ใน
เครือข่ายที่อยู่คนละระบบอาจมีหมายเลข Host ซ้ากันก็ได้ แต่เมื่อรวมกับหมายเลข
Network แล้ว จะได้เป็น IP Address ที่ไม่ซ้ากันเลย
ใน การจัดตั้งหรือกาหนดหมายเลข IP Address นี้ก็มีวิธีการกาหนดที่ชัดเจน และมีกฎเกณฑ์ที่รัดกุม
ผู้ใช้ที่อยากจัดตั้งโฮสต์คอมพิวเตอร์ เพื่อเชื่อมต่อเข้าอินเตอร์เน็ต และให้บริการต่างๆ สามารถขอ
หมายเลข IP Address ได้ที่หน่วยงาน Internet Network Information Center (InterNIC) ของ
องค์กร Network Solution Incorporated (NSI) ที่รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา แต่ถ้าผู้ใช้สมัครเข้า
เป็นสมาชิกขอ ใช้บริการอินเตอร์เน็ตจากบริษัทผู้ให้บริการ (Internet Service Provider) เรียกย่อๆ
ว่าหน่วยงาน ISPรายใดก็แล้วแต่ ก็ไม่ต้องติดต่อขอ IP Address เนื่องจากหน่วยงาน ISP เหล่านั้นจะ
กาหนดหมายเลข IP ให้ใช้หรือส่งค่า IP ชั่วคราวให้ใช้งาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบการขอใช้บริการที่จะ
กล่าวต่อไป
โครง สร้างของแอดเดรสที่ใช้ใน classต่างๆของเครือข่าย ซึ่งทั้งหมด ยาว 32 บิต IP Address นี้มีการ
จัดแบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 ระดับ (Class) แต่ที่ใช้งานในทั่วไปจะมีเพียง 3 ระดับคือ Class A, Class B,
Class C ซึ่งก็แบ่งตามขนาดความใหญ่ ของเครือข่ายนั่นเอง ถ้าเครือข่ายใดมีจานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร เชื่อมต่ออยู่มาก ก็จะมีหมายเลขอยู่ใน Class A ถ้ามีจานวนเครื่องต่ออยู่ลดหลั่นกันลง
มาก็จะอยู่ใน Class B และ Class C ตามลาดับ หมายเลข IP ของ Class A มีตัวแรกเป็น 0 และ
หมายเลขของเครือข่าย (Network Number) ขนาด 7 บิต และ มีหมายเลขของเครื่องคอมพิวเตอร์
(Host Number) ขนาด 24 บิต ทาให้ในหนึ่งเครือข่ายของ Class A สามารถมีคอมพิวเตอร ์์
เชื่อมต่ออยู่ในเครือข่ายได้ถึง 224= 16 ล้านเครื่อง เหมาะสาหรับองค์กร หรือบริษัทยักษ์ใหญ่ แต่ใน
Class A นี้ จะมีหมายเลข เครือข่ายได้ 128 ตัวเท่านั้นทั่วโลก ซึ่งหมายความว่าจะมีเครือข่ายยักษ์
ใหญ่แบบนี้ได้เพียง 128 เครือข่ายเท่านั้น สาหรับ Class B จะมีหมายเลขเครือข่ายแบบ 14 บิต และ
หมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ 16 บิต (ส่วนอีก 2 บิตที่เหลือบังคับว่าต้องขึ้นต้นด้วย 102) ดังนั้น
จึงสามารถมีจานวนเครือข่ายที่อยู่ใน Class B ได้มากกว่า Class A คือมีได้ถึง 214 = กว่า 16,000
เครือข่าย และก็สามารถมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันในเครือข่าย Class B แต่ละเครือข่ายได้ถึง
216 หรือมากกว่า 65,000 เครื่อง สุดท้ายคือ Class C ซึ่งมีหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ 8 บิต
และมีหมายเลขเครือข่ายแบบ 21 บิต ส่วนสามบิตแรกบังคับว่าต้องเป็น 1102 ดังนั้นใน แต่ละ
เครือข่าย Class C จะมีจานวนเครื่องต่อเชื่อมได้เพียงไม่เกิน 254 เครื่องในแต่ละเครือข่าย (28 =
256 แต่หมายเลข 0 และ 255 จะไม่ถูกใช้งาน จึงเหลือเพียง 254) ดังนั้นวิธีการสังเกตได้ง่ายๆ ว่า
เราเชื่อมต่ออยู่ที่เครือข่าย Class ใดก็สามารถดูได้จาก IP Address ในส่วนหน้า (ส่วน Network
Address) โดย
Class A จะมี Network address ตั้งแต่ 0 ถึง 127 (บิตแรกเป็น 0 เสมอ)
Class B จะมี Network address ตั้งแต่ 128 ถึง 191 (เพราะขึ้นต้นด้วย 102 เท่านั้น)
Class C จะมี Network address ตั้งแต่ 192 ถึง 223 (เพราะขึ้นต้นด้วย 1102 เท่านั้น)
เช่น ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในอินเตอร์เน็ตมีหมายเลข IP ดังนี้ 181.11.82.22 ตัวเลข 181.11 แสดง
ว่าเป็นเครือข่ายใน Class B ซึ่งหมายเลขเครือข่ายเต็มๆ จะใช้ 2 ส่วนแรกคือ 181.11 และมี
หมายเลขคอมพิวเตอร์คือ 82.22 หรือถ้ามี IP Address เป็น 192.131.10.101 ทาให้ทราบว่าเครื่อง
คอมพิวเตอร์นั้นเชื่อมต่ออยู่ใน Class C มีหมายเลขเครือข่ายคือ 3 ส่วนแรก ได้แก่ 192.131.10
และหมายเลขประจา เครื่องคือ 101 เป็นต้น
เราทราบแล้วว่าการ ติดต่อกันในอินเตอร์เน็ตซึ่งใช้โปรโตคอล TCP/IP คุยกัน โดยจะต้องมีหมายเลข
IP ในการอ้างอิงเสมอ แต่หมายเลข IP นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้อง
จดจา ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจานวนมากขึ้น การจดจาหมายเลข IP ดูจะเป็นเรื่องยาก และอาจ
สับสนจาผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่หมายเลข IP น่าจะสะดวก
ในการจดจามากกว่า เช่น หมายเลข IP คือ 203.78.105.4 แทนที่ด้วยชื่อ thaigoodview.com
ผู้ใช้บริการสามารถ จดจาชื่อ thaigoodview.com ได้แม่นยากว่า นอกจากนี้ในกรณีเครื่องเสีย หรือ
ต้องการเปลี่ยนแปลงเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ จากเครื่องที่มีหมายเลข IP 203.78.105.4
เป็น 203.78.104.9 ผู้ดูแลระบบจะจัดการ แก้ไขฐานข้อมูลให้เครื่องใหม่มีชื่อแทนที่เครื่อง เดิมได้
ทันที โดยไม่ต้องโยกย้ายฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ส่วนในมุมมองของผู้ใช้ ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไรทั้งสิ้น ยังคง
สามารถใช้งานได้เหมือนเดิม
สาหรับเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ได้มีการพัฒนากลไกการแทนที่ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการกับ
หมายเลข IP หรือ name-to-IP Address ขึ้นมาใช้งานและเรียกกลไกนี้ว่า Domain Name System
(DNS) โดยมีการจัดเก็บฐานข้อมูลชื่อและหมายเลข IP เป็นลาดับชั้น (hierachical structure) อยู่ใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่พิเศษที่เรียกว่า Domain Name Server หรือ Name Server โครงสร้าง
ของฐานข้อมูล Domain Name นี้ ในระดับบนสุดจะมีความหมายบอกถึง ประเภทขององค์กร หรือ
ชื่อประเทศที่เครือข่ายตั้งอยู่ ชื่อ Domain ในชั้นบนสุดเหล่านี้จะใช้ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ก็ได้แต่
นิยมใช้อักษรตัวเล็ก โดยมีการกาหนดมาจากหน่วยงานที่เรียกว่า InterNIC (Internet Network
Information Center) จากระดับบนสุดก็จะมีระดับล่างๆ ลงมาซึ่งใช้แทนความหมายต่างๆ แล้วแต่ผู้
จัดตั้งจะ กาหนดขึ้น เช่น ตั้งตามชื่อคณะ หรือภาควิชาในมหาวิทยาลัย ตั้งตามชื่อฝ่ายหรือแผนกใน
บริษัท เป็นต้น แต่ละระดับจะถูกแบ่งคั่นด้วยเครื่องหมายจุดเสมอ การดูระดับจากบนลงล่างให้ดูจาก
ด้านขวามาซ้าย เช่นชื่อ Domain คือ support.skynet.com จะได้ว่า com จะเป็นชื่อ Domain ใน
ระดับบนสุด ถัดจากจุดตั้งต้น หรือรากของโครงสร้าง (root) ระดับที่สองคือชื่อ skynet และระดับ
ล่างสุดคือ support หมายความว่า ชื่อ Domain นี้ แทนที่หน่วยงาน support ของบริษัทชื่อ skynet
และเป็นบริษัทเอกชน ดังแสดงโครงสร้างลาดับชั้นของ Domian Name ที่ชื่อ Support.skynet.com
ในการกาหนดหรือ ตั้งชื่อแทนหมายเลข IP นี้จะต้องลงทะเบียนและขอใช้ที่หน่วยงาน InterNIC
เสียก่อน ถ้าได้รับอนุญาตและลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว จะมีการจัดเก็บเพิ่มฐานข้อมูล name-to-IP
address เพื่อให้ผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตสามารถ อ้างอิงเข้ามาใช้บริการได้ เหมือนกับการขอจด
ทะเบียนตั้งชื่อบริษัท ที่ต้องมีผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลเป็นนายทะเบียนและคอยตรวจ ดูว่าชื่อนั้น
จะซ้ากับคนอื่นหรือไม่ ถ้าไม่มีปัญหาก็อนุญาตให้ใช้ได้ ชื่อ Domain Name นี้จะมีความยาวทั้งหมด
ไม่เกิน 255 ตัวอักษร แต่ไม่มีข้อจากัดในเรื่องระดับชั้น ดังนั้นในชื่อหนึ่งๆ อาจมีหลายระดับได้ตาม
ต้องการ และข้อสังเกตที่สาคัญก็คือชื่อ และจุดเหล่านี้ไม่เกี่ยวกับจุดใน ตัวเลขที่เป็น IP Address แต่
อย่างใด ขบวนการหรือกลไกในการแปลงชื่อ Domain กลับเป็นหมายเลข IP หรือ Name Mapping
นี้อยู่ที่การ จัดการฐานข้อมูล Domain Name แบบกระจาย โดยจะเริ่มจากเมื่อมีโปรแกรมอ้างถึงชื่อ
โดเมนบนเครื่องหนึ่ง ก็จะมีการสอบถามไปที่ฐานข้อมูล ในเครื่องที่ทาหน้าที่เป็น Name Server (ซึ่ง
อาจเป็นเครื่องเดียวกันนั้นเองหรือคนละเครื่องก็ได้ และอาจมี Name Server ได้หลายเครื่องด้วย
ขึ้นกับว่าจะตั้งไว้ให้รู้จัก Name Server เครื่องใดบ้าง) เครื่องที่เป็น Name Server ก็จะเรียกดูใน
ฐานข้อมูลและถ้าพบชื่อที่ต้องการก็จะจัดการแปลงชื่อ Domain เป็นหมายเลข IP ที่ถูกต้องให้ ระบบ
Name Server นี้จะมีติดตั้งกระจายไปในหลายเครื่องบนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เนื่องจากอย่าง
น้อยหน่วยงาน ISP หนึ่งๆ ก็จะต้องจัดตั้งระบบดังกล่าวขึ้นมา เพื่อคอยดูแลจัดการฐานข้อมูล
Domain Name ของเครือข่ายตนเอง ดังนั้นถ้า Name Server เครื่องหนึ่งไม่มีข้อมูลหรือไม่รู้จัก
Domain Name ที่ถูกถามมาก็อาจจะไปขอข้อมูลจาก Name Server เครื่องอื่นๆ ที่ตนรู้จักจนกว่า
จะพบ หรือจนกว่าจะทั่วแล้วไม่ปรากฏว่ามีเครื่องไหนรู้จักเลย กรณีนี้ก็จะตอบไปว่าไม่รู้จัก (หรือถ้ามี
Name Server บางเครื่องที่รู้จักชื่อนั้นแต่ขณะนั้น เกิดขัดข้องอยู่ก็จะได้คาตอบว่าไม่มีเครื่องใดรู้จัก
เช่นกัน)ความ สามารถของ Domain Name System ที่ทาหน้าที่แปลงระบบชื่อให้เป็นหมายเลข IP
นี้ ได้ถูกนามาใช้กว้างขวางมากขึ้น โดยรวมไปถึงการกาหนดชื่อผู้ใช้ในระบบได้อีกด้วย กฎเกณฑ์ใน
การกาหนดก็ไม่ยุ่งยาก โดยชื่อผู้ใช้จะมีรูปแบบดังนี้ ชื่อ_user @ ชื่อ_subdomain.
ชื่อ_Subdomain… [...] . ชื่อ_Domain ชื่อ_user จะเป็นตัวอักษรแทนชื่อเฉพาะใดๆ เช่น ชื่อผู้ใช้คน
หนึ่งที่จะรับหรือส่ง E-mail ท้ายชื่อ user นี้จะมีเครื่องหมาย @ ซึ่งอ่านว่า “แอท” หมายถึง “อยู่ที่
เครื่อง…” แบ่งคั่นออกจากส่วนที่เหลือ ชื่อ_Subdomain เป็นส่วนย่อยที่จะใช้ขยายให้ทราบถึงกลุ่ม
ต่างๆ ใน domain นั้น เช่น กรณีที่บริษัทมีหลายหน่วยงาน จึงจัดเป็นกลุ่มๆ ตั้งชื่อไว้อยู่ใน
subdomain ต่างๆ ซึ่งในที่หนึ่งๆ อาจจะมี subdomain หลายระดับก็ได้และชื่อ subdomain ตัว
สุดท้ายมักเป็นชื่อโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้รายนั้นใช้อยู่นั่นเอง ชื่อ_Domain ตามปกติชื่อ domain
จะอยู่ทางด้านขวาสุดของชื่อ DNS ใช้สาหรับระบุประเภทของกิจกรรมของเครือข่ายนั้นๆ เวลาที่มี
การติดต่อกัน เช่น ในการส่ง E-mail ชื่อดังกล่าวนี้ก็จะใช้เป็นตัวอ้างอิงเสมือนชื่อและที่อยู่ของผู้ใช้
ราย นั้นๆ หรือเรียกว่าเป็น E-mail address นั่นเอง
https://sites.google.com/site/phaschira/home/kar-thangan-khxng-xintexrnet
Edit
อินเทอร์เน็ตคืออะไร และความหมายของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตคืออะไร
อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ กลุ่มเครือข่ายย่อย ๆ ของคอมพิวเตอร์
จานวนมากที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่อสาร (Protocol)
เดียวกัน จนเป็นสังคมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งคอมพิวเตอร์
ที่อยู่ในเครือข่ายแต่ละเครื่อง สามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ กัน
เช่น ตัวอักษร ภาพ เสียง รวมทั้งสามารถสืบค้นข้อมูลข่ายสารจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
บนอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว
ประวัติและความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่างประเทศมหาอานาจ(สหรัฐอเมริกา)
กับรัสเซียเนื่องจากกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาในขณะนั้นได้เกิดแนวคิดที่ต้องการ
ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยคอมพิวเตอร์สามารถสั่งการและทางานได้
ด้วยตัวเอง โดยไม่จาเป็นต้องมีผู้คอยควบคุมดูแล หากมีการโจมตีด้วยระเบิดปรมาณูหรือขีปนาวุธ
นิวเคลียร เข้ามาถล่มจุดยุทธศาสตร์ที่เมืองใดเมืองหนึ่ง อาจทาให้ระบบคอมพิวเตอร์บางส่วน
ถูกทาลายไปแต่ส่วนที่เหลือจะต้องสามารถปฏิบัติงานได้ซึ่งเป้ าหมายนี้เองจึงได้เกิดโครงการวิจัย
และพัฒนาระบบ เครือข่ายดังกล่าวขึ้น เรียกว่า ARPA(Advanced Research Projects Agency)
และได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดได้กลายมาเป็นเครือข่ายที่มีชื่อว่า “อินเทอร์เน็ต”
(Internet)
ในปัจจุบัน

More Related Content

What's hot

การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นitte55112
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตthepvista
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11niramon_gam
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1Walaiporn Fear
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9Chanoknun Kosolwattanakul
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทtrevnis
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043Ann Oan
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 

What's hot (19)

การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นการใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
การใืช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
Ma word
Ma wordMa word
Ma word
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1การสืบค้นข้อมูล1
การสืบค้นข้อมูล1
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล   9
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล 9
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
Google Search & Youtube
Google Search & YoutubeGoogle Search & Youtube
Google Search & Youtube
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ทการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเน็ท
 
53010210043
5301021004353010210043
53010210043
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 

Viewers also liked

TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)SAKANAN ANANTASOOK
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1จ๊อบ พชร
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogleเทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGooglekikkok
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ Saranporn Rungrueang
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานFair Kung Nattaput
 

Viewers also liked (10)

TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนชั้นม.6/1
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogleเทคนิคการสืบค้นบนGoogle
เทคนิคการสืบค้นบนGoogle
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองานความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
ความหมายและองค์ประกอบการนำเสนองาน
 
Verb to_..
Verb  to_..Verb  to_..
Verb to_..
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 

Similar to เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11ratiporn555
 
Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search EngineMrsZippy
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...Thanakorn Sirikit
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตJitty Charming
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docxKhemjira_P
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33Khemjira_P
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33Ploymnr
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นThunyaluck
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นpenelopene
 

Similar to เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (20)

Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11หน่วยที่ 11
หน่วยที่ 11
 
Unit 2 searching for the information
Unit 2 searching for the informationUnit 2 searching for the information
Unit 2 searching for the information
 
Search Engine
Search  EngineSearch  Engine
Search Engine
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
การใช้งาน Google
การใช้งาน  Googleการใช้งาน  Google
การใช้งาน Google
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิท...
 
Internetsearch
InternetsearchInternetsearch
Internetsearch
 
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต
การบริการบนอินเตอร์เน็ต
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช-ม.5-1-เลขที่-33
 
Ict
IctIct
Ict
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 
เทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้นเทคนิคการสืบค้น
เทคนิคการสืบค้น
 

เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

  • 1. เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เทคนิคการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตPresentation Transcript  1. เทคนิค การค้นหาข้อมูล ใน … อินเตอร์เนต รายวิชา ASI 403 ภาษาและเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนรู้ ภาคการศึกษาที่ ๑ / ๒๕๕๒ สถาบันอาศรมศิลป์  2. การค้นหาข้อมูลในเวปไซต์ ปัญหาในการสืบค้น การวางแผนและกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล รูปแบบการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เนต เวปไซต์ค้นหาข้อมูล (Search Engine) ที่ได้รับความ นิยม วิธีการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เนต เทคนิควิธีการในการใส่คาสืบค้น การบันทึกเวปเพจ (Web Page) ที่สนใจเป็นไฟล์  3. ระบบการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า เซิร์สเอ็นจิน (Search Engine) เป็นหัวใจสาคัญของการ ค้นหาข้อมูล ที่จะทาให้การค้นหาข้อมูลซึ่งมีจานวนมากบนอินเทอร์เน็ตนั้นเกิดประโยชน์ใน การเข้าถึงได้อย่างแท้จริง ระบบค้นหาที่นิยมใช้กันอยู่ในขณะนี้ เช่น http://www.google.com http://www.google.co.th www . yahoo . com www . altavista . com ฯลฯ ระบบค้นหายังมีอีกมาก แม้แต่เว็บเพ็จขององค์กรต่าง ๆ ก็มักจะมี ระบบค้นหา เพื่อให้ผู้ต้องการข้อมูลภายในองค์กรจะได้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว  4. ไม่ทราบความต้องการที่แท้จริง และไม่ทราบว่าควรจะค้นหาข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลมี เยอะแยะมากมาย หลายสิบหน้า หรือเป็นพันๆ แล้วจะเลือกอย่างไรให้ตรงประเด็นที่เรา ต้องการมากที่สุด จะทาอย่างไร และควรใช้คาสืบค้นอย่างไร ? ที่จะได้ข้อมูลตรงประเด็นที่เรา ต้องการมากที่สุด ?  5. ๑ . รู้เป้ าหมายในการค้นหา เช่น ต้องการข้อมูลสารสนเทศเชิงวิชาการ เพื่อเป็นข้อมูลการ เขียนบทความ ทารายงาน ทาการวิจัยเพื่อการศึกษาเป็นต้น ๒ . ต้องรู้ว่าต้องการค้นเรื่อง อะไร ๓ . รู้แหล่งข้อมูลและฐานข้อมูลที่ต้องการสืบค้น ( URL :http://www. arsomsilp . ac.th ) ๔ . การรู้จักเลือกเครื่องมือช่วยค้นที่เหมาะสมกับหัวข้อที่ต้องการ ๕ . กาหนดคาที่จะ ใช้ค้น ( Query ) เช่นคาสาคัญหรือหัวเรื่อง ๖ . การพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล ๗ . วิเคราะห์และประเมินผลลัพธ์ที่ได้ วิธีแก้ปัญหาในการสืบค้นข้อมูล  6. เลือก Search Engine ที่ใช้ประจาไว้ใน “ Bookmarks” or “Favorite Places” ถ้าหัวเรื่อง กว้างให้ใช้Subject Search เช่น Yahoo, LookSmart or Encyclopedia Britannica ถ้าเป็น เรื่องเฉพาะหรือหัวข้อแคบให้ใช้ Keyword ค้นใน Infoseek, excite และ Savvy ค้นจาก หลายๆฐานข้อมูลหรือค้นจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น AltaVista, HotBot or
  • 2. NorthernLight ทาความเข้าใจกับเครื่องมือวิธีการสืบค้น ภาษา และ เทคนิคที่ใช้เพื่อไม่ให้ คาค้นกว้างเกินไป  7. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory การค้นหาในรูปแบบ Search Engine  8. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย จากการที่ เจ้าของเวปไซต์คัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็น ประเภท สาหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะ ดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาด ของ  9. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine ผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า ๗๐ % จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทางานของ Search Engine คุณจะต้องพิมพ์คาสาคัญ ( Keyword) ซึ่งเป็นการ อธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้น Search Engine ก็จะ แสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา ( ระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง โดยใช้Software ที่มีหน้าที่ควบคุมและจัดการ มีชื่อเรียกว่า Spiders ซึ่งการทางานของมันจะ ใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยง ถึงกันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อ ค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่ สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการ ประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้น มักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก  10. Google http://www.google.com/ Yahoo http://www.yahoo.com/ AltaVista http://www.altavista.com/ Excite http://www.excite.com/ HotBot http://www.hotbot.com/ Infoseek http://www.infoseek.com/ Lycos http://www.lycos.com/  11. Siamguru http://www.siamguru.com ThaiFind http://www.thaifind.com Sanook http://www.sanook.com Tuk – Tuk http://www.tuk-tuk.com/index-b.asp Thailand2000 http://www.thailand 2000 .com  12. การค้นหาข้อมูล ในเวิลด์ไวด์เว็บ ทาได้โดย การพิมพ์คา วลี หรือคาถาม ลงไปในช่องว่าง แล้วคลิกที่ search ตัวอย่างเช่น เราต้องการทราบสภาพอากาศในกรุงเทพฯ ให้พิมพ์คาว่า
  • 3. Bangkok weather หรือ what is the weather in Bangkok? ลงไป เมื่อคลิ๊กที่ search โปรแกรมจะค้นหาข้อมูล ที่เกี่ยวกับสภาพอากาศในกรุงเทพฯให้ทันที  13. ๑ ๒ การใช้เครื่องหมาย คาพูด “ ……………….” ถ้าเราต้องการค้นหาคาหรือวลีที่ เฉพาะเจาะจง และแน่ใจ ว่าคาหรือวลี นั้น เช่น " you are my sun shine " ทาให้เราได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการมากกว่า การใช้ ตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ การค้นหา ข้อมูลใน อินเตอร์เนต ให้ใช้ตัวอักษรตัวเล็กเท่านั้น เช่น ถ้าพิมพ์ว่า " Banana " ก็จะได้ผลลัพธ์จากเวปไซต์เฉพาะที่สะกดว่า Banana เท่านั้น แต่ถ้าใช้ banana เรา จะได้ผลลัพธ์ จากทุกเวปเพจ  14. ๓ ๔ การใช้เครื่องหมายบวก และ ลบ กรณีที่ต้องการให้ผลลัพธ์ทั้งหมด มีคาที่เรา ต้องการค้นหาอยู่ด้วย ให้ใส่ (+) ไปข้างหน้า เช่น ต้องการให้มีคาว่า phuket อยู่ในผลลัพธ์ ให้พิมพ์ beach diving sea + phuket แต่ถ้าต้องการให้ผลลัพธ์ไม่มีคา ที่ต้องการอยู่ ก็ให้ใส่ ( – ) ด้านหน้าคานั้น การใช้ Wildcards เราใช้เครื่องหมาย (*) เป็นตัวร่วม สาหรับค้นหาเวป เพจ เพื่อให้ครอบคลุม ถึงคาที่เราต้องการในหลายๆรูปแบบ เช่น com* เป็นการบอกให้หาคา ที่มีคาว่า com ขึ้นหน้าเป็นหลักส่วนด้านท้ายเป็นอะไรไม่สนใจ แต่หากนามาไว้ด้านหน้า เช่น * tor จะเป็นการให้หาคาที่ลงท้ายด้วย tor เป็นหลัก  15. ๕ การใช้ตัวเชื่อมทาง Logic มีอยู่ ๓ ตัวด้วยกันคือ AND เป็นการสั่งให้หาโดยจะต้องมี คานั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น ! โดยไม่จาเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น food AND fruit เป็นต้น OR เป็นการสั่งให้หาข้อมูล โดยจะต้องนาคาใดคาหนึ่งที่พิมพ์ลงไปแสดงออกมา NOT เป็น การสั่งไม่ให้เลือกคานั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทา การหาเวปที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น  16. ๖ การระบุเงื่อนไขประเภทเอกสาร นามาใช้ในกรณีที่ต้องการเอกสารฉบับจริง หรือ เอกสารฟอร์แมตต่างๆ ที่เผยแพร่ผ่านเวปไซต์ เช่น ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ e-Learning ที่อยู่ ในฟอร์แมต Microsoft PowerPoint วิธีการ คือระบุคาเฉพาะเพิ่มเติมในการสืบค้น คือ filetype:ppt เช่น e-Learning filetype:ppt หรือต้องการให้การสืบค้นมีความเฉพาะเพิ่มขึ้น เช่น e-learning site:nectec.or.th filetype:ppt นอกจากยังสามารถระบุฟอร์แมตเอกสาร อื่นได้ เช่น doc สาหรับ Microsoft Word xls สาหรับ Microsoft Excel และ pdf สาหรับ เอกสารในฟอร์แมต pdf  17. ๗ การค้นหาคาในหน้าเวปเพจด้วย Web Browser ใช้ในกรณี ค้นหาข้อความที่ตรงกับ ความต้องการภายในเวปเพจที่ได้เลือกไว้ ( สะดวกต่อการนั่งไล่ดูทีละบรรทัด จากข้อความที่มี อยู่เต็มหน้าจอไปหมด ) วิธีการ นา mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทัดคาสั่ง
  • 4. Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ จากนั้นใส่คาที่ต้องการค้นหาลงไปแล้ว ก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหาคาดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคานั้นๆ ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ  18. พิมพ์คาสั่ง URL ไปที่ Webs ite ที่ต้องการ คลิกเมนู File คลิกคาสั่ง Save As เลือก folder ที่จะใช้เก็บแฟ้ม คลิกคาสั่ง Save เครื่องจะเก็บเป็นไฟล์ชนิด HTML ถ้าต้องการเก็บ เป็น Text File ให้เปลี่ยนชนิดเป็น .TXT การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจานวนมากมายอย่างนี้เราไม่ อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบ ได้ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่ เรียก ว่าSearch Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมี มากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและ ถ้าเรา เปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และ อาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้องพึ่งพา Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน เพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้ อน คาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไป ศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที การค้นหาข้อมูลมีกี่วิธี ? 1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory 2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูล ด้วย วิธีของSearch Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัด แบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สาหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึก ลงมาอีก ระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหน อันนี้ก็
  • 5. ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อย เพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึงประเภทย่อยที่คุณสนใจ แล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูล นั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากที่จะ ดู สามารถClick ลงไป ยัง Link เพื่อขอเชื่อต่อทางไซต์ก็จะนาเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมา แสดงผล ทันที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบ เรียงโดย นาเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของรายชื่อที่แสดง การค้นหาในรูปแบบ Search Engine วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้ วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทางานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้Indexลักษณะของ มันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาล ที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป บน Internet ไม่มีการแสดง ข้อมูลออกมาเป็นลาดับ ขั้นของความสาคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้นฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณ จะต้องพิมพ์คาสาคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการ จะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้า ไป จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและSite ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา **** ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine คาตอบก็ คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบ Index เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทา ระบบฐาน ข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบ Search Engine นั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้าง โดยใช้Software ที่ มี หน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่ง เจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spidersการทางานข้องมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตาม เครือข่าย ต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กันอยู่เต็มไปหมดใน Internetเพื่อค้นหา Website ที่ เกิดขึ้นมา ใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Siteเดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูก อัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนาเอาข้อมูลทั้งหมดที่สารวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐาน ข้อมูลของ ตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหา ด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูล ที่ ค้นหามาได้อาจมีถึงเป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้าง หละที่อยากจะมานั้งค้นหาและอ่านดูที่จะ เพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็นวันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่ คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้น จิงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจะขอกล่าวในตอนหลัง
  • 6. ประเภทของ Search Engine Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไปตามประเภท ของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์นามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูล หรือเว็บไซต์ โดยวิธีการSearch นั้น อย่างน้อยคุณจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้ วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บ ข้อมูลต่างกันไป ที่นี้เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ 1. Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสารวจ มาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่ง อยู่ในรูปแบบของ ข้อความที่อยู่ในคาสั่ง alt ซึ่งเป็นคาสั่งภายใน TAG คาสังข องรูปภาพ แต่จะไม่นาคาสั่ง ของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคาสั่งในภาษาJAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหา ของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ใน การนาเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดใน การจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คานึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี 2. Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้ แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึ่งทาให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัด หมวดหมู่แต่ละคนว่าจะ จัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนามาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การ ค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หาก เราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพจที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้คุณ
  • 7. 3. Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engineประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการ นี้จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคาประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึง ข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย หลักการค้นหาข้อมูลของ Search Enine สาหรับหลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine แต่ละตัวจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน ออกไป ขึ้นอยู่กับว่าทางศูนย์บริการ ต้องการจะเก็บข้อมูลแบบไหน แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีกลไกใน การค้นหาที่ใกล้เคียงกันหากจะแตกต่างก็คงจะเป็นเรื่องประสิทธิภาพเสีย มากกว่า ว่าจะมีข้อมูล เก็บ รวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนาเอาออก มาบริการให้กับผู้ใช้ได้ตรงตาม ความต้องการหรือเปล่า ซึ่งลักษณะของปัจจัยที่ใช้ค้นหาโดยหลักๆจะมี ดังนี้ 1. การค้นหาจากชื่อของตาแหน่ง URL ใน เว็บไซต์ต่างๆ 2. การค้นหาจากคาที่มีอยู่ใน Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ทางด้าน ซ้ายบนของ หน้าต่างที่แสดง 3. การค้นหาจากคาสาคัญหรือคาสั่ง keyword (อยู่ใน tag คาสั่งใน html ที่มีชื่อว่า meta) 4. การค้นหาจากส่วนที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ site 5. ค้นหาคาในหน้าเว็บเพจด้วย Browser ซึ่งการค้นหาคาในหน้าเว็บเพจนั้นจะ ใช้สาหรับกรณีที่ คุณเข้าไปค้นหาข้อมูลที่เว็บ เพจใด เว็บเพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความปรากฏอยู่เต็มไปหมด จะนั่งไล่ ดูทีละบรรทัดคงไม่สะดวก ในลักษณะนี้เราใช้ใช้browser ช่วยค้นหาให้ ขึ้นแรกให้คุณ นา mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทัดคาสั่ง Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้จากนั้นใส่คาที่ต้องการค้นหาลงไปแล้วก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหา คาดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคานั้นๆ ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อ ได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ ***เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล
  • 8. ในการค้นหาข้อมูลด้วย Search Engine ส่วนใหญ่แล้วปัญหาที่ผู้ใช้งานทั่วไปมักจะพบ เห็น หรือประสบอยู่เสมอๆ ก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมูลที่ค้นหาได้มีขนาดมากจนเกินไป ดังนั้น เพื่อ ความ สะดวกในการใช้งานคุณจึงน่าที่จะเรียนรู้เทคนิคต่างๆเพื่อช่วยลดหรือ จากัดคา ที่ค้น หาให้ แคบลงและตรงประเด็นกับเรามากที่สุด ดังวิธีการต่อไปนี้ 1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด(อย่าง ที่บอกไว้ตั้งแต่ตอนต้นว่า มีอยู่ 2 แบบ) ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่จะ เห็นว่า เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการจะ ค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูลแบบ Index อย่าง ของ yahoo เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่มหาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 2. ใช้คามากกว่า 1 คาที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลง และชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคาเดียวโดดๆ) 3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่นการค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็ น่าที่จะเลือกใช้Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็น ที่น่า พอใจกว่า 4. ใส่เครื่องหมายคาพูดครอบคลุมกลุ่มคาที่ต้องการ เพื่อบอก กับ Search Engine ว่า เรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคาในกลุ่มนั้นครบและตรงตามลาดับที่เรา พิมพ์ทุกคา เช่น “free shareware” เป็นต้น 5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มัน ค้นหาคาดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัว อักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการ อยากที่จะให้มันค้นหา คาตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน 6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วย ค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ - AND สั่งให้ หาโดยจะต้องมีคานั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จาเป็นว่าจะ ต้องติดกัน เช่น phonelink AND pager เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนาคาใดคาหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง - NOT สั่งไม่ให้เลือก คานั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทาการหาเว็บที่เกี่ยวข้อง กับ food และ cheese แต่ ต้องไม่มี butter เป็นต้น 7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคา + หน้าคาที่ต้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้นาหน้าคาที่ไม่ต้องการ () ช่วยแยกกลุ่มคา เช่น (pentium+computer)cpu 8. ใช้ * เป็ นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคาที่มีคา ว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *tor เป็นการให้หาคาที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ
  • 9. 9.หลีก เลี่ยงการใช้ตัวเลข พยายามเลี่ยงการใช้คาค้นหาที่เป็นคาเดี่ยวๆ หรือเป็นคาที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ คุณก็อย่าลืมใส่เครื่องหมายคาพูด (” “) ลงไปด้วย เช่น “windows 98″ 10. หลีก เลี่ยงภาษาพูด หลีกเลี่ยงคาประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคาหรือ ข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคาหรือวลี ที่มีความหมายรวม ทั้งหมดไว้ Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้ Advanced Search เพราะจะมีส่วนช่วยคุณได้มาก ใน การบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะทาให้คุณได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับความต้องการของคุณมาก ขึ้น 11. อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอยช่วยเหลือคุณ แต่คน ส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้ งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไต์ แหล่งอ้างอิง http://thana-za.exteen.com/20071123/search-engine-1 http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/pa ge04_2.htm www2.udru.ac.th/~waraporn/myweb/Train/Internet.doc http://www.yupparaj.ac.th/CAI/search/search_02-1.html การทางานของอินเทอร์เน็ต การทางานของอินเตอร์เน็ต โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol เป็น ระเบียบวิธีการ สื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กันมาแต่เดิมในระบบปฏิบัติการ Unix ซึ่งมีการใช้งานอย่าง กว้างขวางมาก จนถือเป็นมาตรฐานได้ จุดกาเนิดของโปรโตคอล TCP/IP นี้เริ่มขึ้นในราว พ.ศ. 2512 ที่กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ เมื่อพบปัญหาในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ ของตน ซึ่งจะต้องมีการส่งข้อมูลระหว่างกัน และไปยังหน่วยงานภายนอกอื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัย ห้องทดลองต่างๆ (ส่วนใหญ่มีเครื่องที่ใช้ระบบ Unix อยู่เป็นจานวนมาก) เนื่องจากแต่ละแห่งก็จะมี
  • 10. ระบบคอมพิวเตอร์ของตนเองที่แตกต่างกันไป การต่อเชื่อมกันก็เป็นไปในลักษณะต่างคนต่างทาไม เหมือนกัน ดังนั้นข่าวสารข้อมูลทั้งหลาย จึงถ่ายเทไปมาได้อย่างยากลาบากมาก กระทรวงกลาโหม สหรัฐได้จัดตั้งหน่วยงาน Advanced Research Projects Agencies (ARPA) ขึ้นมา เพื่อหาทาง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผลลัพธ์ที่หน่วยงาน ARPA ได้จัดทาขึ้นคือ การกาหนดมาตรฐานในการ สื่อสารข้อมูลและได้จัดตั้งเครือข่าย ARPANET ขึ้นโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP ต่อมาก็กลายมาเป็น มาตรฐานจริงจัง ในราวปี พ.ศ. 2525 ความสัมพันธ์ระหว่าง TCP/IP กับระบบปฏิบัติการ Unix เกิดขึ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่เบอร์คเลย ์์ ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการ Unix ซึ่งมีการ ผนวกเข้ากับโปรโตคอล TCP/IP สาหรับใช้ในการสื่อสารระหว่างระบบออกมา และเผยแพร่ต่อไปยัง หน่วยงานต่างๆ ทาให้การสื่อสารกันของเครื่องที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Unix มักจะต้อง ใช้โปรโตคอล TCP/IP เสมอ และมีบทบาทเป็นสิ่งที่คู่กันต่อมาถึงปัจจุบัน ใน ปัจจุบันนี้ ไม่ว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของผู้ใช้จะเป็นแบบใดก็ตาม เช่น พีซีหรือแมคอินทอช ก็ สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพื่อต่อเชื่อมเข้าส ์ู์่อินเตอร์เน็ตได้ วิธีการก็คือเพียงแต่ติดตั้ง ใช้งานซอฟต์แวร์โปรโตคอล TCP/IP เท่านั้น ส่วนวิธีการและโปรแกรมที่ติดตั้ง จะแตกต่างกันขึ้นกับ ระบบที่ใช้ซึ่งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื่อสารกันในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่มีโปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานนี้ เครื่องอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ จะต้อง มีหมายเลขประจาตัวเอาไว้อ้างอิงให้เครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชื่อให้ คนอื่นเรียก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเราเรียกว่า IP Address หรือหมายเลข IP หรือบางทีก็เรียกว่า “แอดเดรส IP” (IP ในที่นี้ก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นั่นเอง) ซึ่งถูกจัดเป็นตัวเลข ชุดหนึ่งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุดนี้จะมีตัวเลขถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลา เขียนก็แปลงให้เป็นเลขฐานสิบ ก่อนเพื่อความง่ายแล้วเขียนโดยคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด ดังนั้นในตัวเลข แต่ละส่วนนี้จึงมีค่าได้ตั้งแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านั้น เช่น 192.10.1.101 เป็นต้น ตัวเลข IP Address ชุดนี้จะเป็นสิ่งที่สาคัญคล้ายเบอร์โทรศัพท์ที่เรามีใช้อยู่และไม่ซ้ากัน เพราะสามารถกาหนด เป็นตัวเลขได้รวมทั้งสิ้นกว่า 4 พันล้านเลขหมาย แต่การกาหนดให้คอมพิวเตอร์มีเลขหมาย IP Address นี้ไม่ได้เริ่มต้นจากหมายเลข 1 และนับขึ้นไปเรื่อยๆ หากแต่จะมีการจัด แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ o ส่วนแรกเป็นหมายเลขของเครือข่าย (Network Number) o ส่วน ที่สองเรียกว่าหมายเลขของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายนั้น (Host Number) เพราะในเครือข่ายใดๆ อาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่ได้มากมาย ใน เครือข่ายที่อยู่คนละระบบอาจมีหมายเลข Host ซ้ากันก็ได้ แต่เมื่อรวมกับหมายเลข
  • 11. Network แล้ว จะได้เป็น IP Address ที่ไม่ซ้ากันเลย ใน การจัดตั้งหรือกาหนดหมายเลข IP Address นี้ก็มีวิธีการกาหนดที่ชัดเจน และมีกฎเกณฑ์ที่รัดกุม ผู้ใช้ที่อยากจัดตั้งโฮสต์คอมพิวเตอร์ เพื่อเชื่อมต่อเข้าอินเตอร์เน็ต และให้บริการต่างๆ สามารถขอ หมายเลข IP Address ได้ที่หน่วยงาน Internet Network Information Center (InterNIC) ของ องค์กร Network Solution Incorporated (NSI) ที่รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา แต่ถ้าผู้ใช้สมัครเข้า เป็นสมาชิกขอ ใช้บริการอินเตอร์เน็ตจากบริษัทผู้ให้บริการ (Internet Service Provider) เรียกย่อๆ ว่าหน่วยงาน ISPรายใดก็แล้วแต่ ก็ไม่ต้องติดต่อขอ IP Address เนื่องจากหน่วยงาน ISP เหล่านั้นจะ กาหนดหมายเลข IP ให้ใช้หรือส่งค่า IP ชั่วคราวให้ใช้งาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแบบการขอใช้บริการที่จะ กล่าวต่อไป โครง สร้างของแอดเดรสที่ใช้ใน classต่างๆของเครือข่าย ซึ่งทั้งหมด ยาว 32 บิต IP Address นี้มีการ จัดแบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 ระดับ (Class) แต่ที่ใช้งานในทั่วไปจะมีเพียง 3 ระดับคือ Class A, Class B, Class C ซึ่งก็แบ่งตามขนาดความใหญ่ ของเครือข่ายนั่นเอง ถ้าเครือข่ายใดมีจานวนเครื่อง คอมพิวเตอร เชื่อมต่ออยู่มาก ก็จะมีหมายเลขอยู่ใน Class A ถ้ามีจานวนเครื่องต่ออยู่ลดหลั่นกันลง มาก็จะอยู่ใน Class B และ Class C ตามลาดับ หมายเลข IP ของ Class A มีตัวแรกเป็น 0 และ หมายเลขของเครือข่าย (Network Number) ขนาด 7 บิต และ มีหมายเลขของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Host Number) ขนาด 24 บิต ทาให้ในหนึ่งเครือข่ายของ Class A สามารถมีคอมพิวเตอร ์์ เชื่อมต่ออยู่ในเครือข่ายได้ถึง 224= 16 ล้านเครื่อง เหมาะสาหรับองค์กร หรือบริษัทยักษ์ใหญ่ แต่ใน Class A นี้ จะมีหมายเลข เครือข่ายได้ 128 ตัวเท่านั้นทั่วโลก ซึ่งหมายความว่าจะมีเครือข่ายยักษ์ ใหญ่แบบนี้ได้เพียง 128 เครือข่ายเท่านั้น สาหรับ Class B จะมีหมายเลขเครือข่ายแบบ 14 บิต และ หมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ 16 บิต (ส่วนอีก 2 บิตที่เหลือบังคับว่าต้องขึ้นต้นด้วย 102) ดังนั้น จึงสามารถมีจานวนเครือข่ายที่อยู่ใน Class B ได้มากกว่า Class A คือมีได้ถึง 214 = กว่า 16,000 เครือข่าย และก็สามารถมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกันในเครือข่าย Class B แต่ละเครือข่ายได้ถึง 216 หรือมากกว่า 65,000 เครื่อง สุดท้ายคือ Class C ซึ่งมีหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ 8 บิต และมีหมายเลขเครือข่ายแบบ 21 บิต ส่วนสามบิตแรกบังคับว่าต้องเป็น 1102 ดังนั้นใน แต่ละ เครือข่าย Class C จะมีจานวนเครื่องต่อเชื่อมได้เพียงไม่เกิน 254 เครื่องในแต่ละเครือข่าย (28 = 256 แต่หมายเลข 0 และ 255 จะไม่ถูกใช้งาน จึงเหลือเพียง 254) ดังนั้นวิธีการสังเกตได้ง่ายๆ ว่า เราเชื่อมต่ออยู่ที่เครือข่าย Class ใดก็สามารถดูได้จาก IP Address ในส่วนหน้า (ส่วน Network Address) โดย
  • 12. Class A จะมี Network address ตั้งแต่ 0 ถึง 127 (บิตแรกเป็น 0 เสมอ) Class B จะมี Network address ตั้งแต่ 128 ถึง 191 (เพราะขึ้นต้นด้วย 102 เท่านั้น) Class C จะมี Network address ตั้งแต่ 192 ถึง 223 (เพราะขึ้นต้นด้วย 1102 เท่านั้น) เช่น ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในอินเตอร์เน็ตมีหมายเลข IP ดังนี้ 181.11.82.22 ตัวเลข 181.11 แสดง ว่าเป็นเครือข่ายใน Class B ซึ่งหมายเลขเครือข่ายเต็มๆ จะใช้ 2 ส่วนแรกคือ 181.11 และมี หมายเลขคอมพิวเตอร์คือ 82.22 หรือถ้ามี IP Address เป็น 192.131.10.101 ทาให้ทราบว่าเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นเชื่อมต่ออยู่ใน Class C มีหมายเลขเครือข่ายคือ 3 ส่วนแรก ได้แก่ 192.131.10 และหมายเลขประจา เครื่องคือ 101 เป็นต้น เราทราบแล้วว่าการ ติดต่อกันในอินเตอร์เน็ตซึ่งใช้โปรโตคอล TCP/IP คุยกัน โดยจะต้องมีหมายเลข IP ในการอ้างอิงเสมอ แต่หมายเลข IP นี้ถึงแม้จะจัดแบ่งเป็นส่วนๆ แล้วก็ยังมีอุปสรรคในการที่ต้อง จดจา ถ้าเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายมีจานวนมากขึ้น การจดจาหมายเลข IP ดูจะเป็นเรื่องยาก และอาจ สับสนจาผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมาแทนที่หมายเลข IP น่าจะสะดวก ในการจดจามากกว่า เช่น หมายเลข IP คือ 203.78.105.4 แทนที่ด้วยชื่อ thaigoodview.com ผู้ใช้บริการสามารถ จดจาชื่อ thaigoodview.com ได้แม่นยากว่า นอกจากนี้ในกรณีเครื่องเสีย หรือ ต้องการเปลี่ยนแปลงเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ จากเครื่องที่มีหมายเลข IP 203.78.105.4 เป็น 203.78.104.9 ผู้ดูแลระบบจะจัดการ แก้ไขฐานข้อมูลให้เครื่องใหม่มีชื่อแทนที่เครื่อง เดิมได้ ทันที โดยไม่ต้องโยกย้ายฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ส่วนในมุมมองของผู้ใช้ ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไรทั้งสิ้น ยังคง สามารถใช้งานได้เหมือนเดิม สาหรับเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ได้มีการพัฒนากลไกการแทนที่ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการกับ หมายเลข IP หรือ name-to-IP Address ขึ้นมาใช้งานและเรียกกลไกนี้ว่า Domain Name System (DNS) โดยมีการจัดเก็บฐานข้อมูลชื่อและหมายเลข IP เป็นลาดับชั้น (hierachical structure) อยู่ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่พิเศษที่เรียกว่า Domain Name Server หรือ Name Server โครงสร้าง ของฐานข้อมูล Domain Name นี้ ในระดับบนสุดจะมีความหมายบอกถึง ประเภทขององค์กร หรือ ชื่อประเทศที่เครือข่ายตั้งอยู่ ชื่อ Domain ในชั้นบนสุดเหล่านี้จะใช้ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ก็ได้แต่ นิยมใช้อักษรตัวเล็ก โดยมีการกาหนดมาจากหน่วยงานที่เรียกว่า InterNIC (Internet Network Information Center) จากระดับบนสุดก็จะมีระดับล่างๆ ลงมาซึ่งใช้แทนความหมายต่างๆ แล้วแต่ผู้ จัดตั้งจะ กาหนดขึ้น เช่น ตั้งตามชื่อคณะ หรือภาควิชาในมหาวิทยาลัย ตั้งตามชื่อฝ่ายหรือแผนกใน
  • 13. บริษัท เป็นต้น แต่ละระดับจะถูกแบ่งคั่นด้วยเครื่องหมายจุดเสมอ การดูระดับจากบนลงล่างให้ดูจาก ด้านขวามาซ้าย เช่นชื่อ Domain คือ support.skynet.com จะได้ว่า com จะเป็นชื่อ Domain ใน ระดับบนสุด ถัดจากจุดตั้งต้น หรือรากของโครงสร้าง (root) ระดับที่สองคือชื่อ skynet และระดับ ล่างสุดคือ support หมายความว่า ชื่อ Domain นี้ แทนที่หน่วยงาน support ของบริษัทชื่อ skynet และเป็นบริษัทเอกชน ดังแสดงโครงสร้างลาดับชั้นของ Domian Name ที่ชื่อ Support.skynet.com ในการกาหนดหรือ ตั้งชื่อแทนหมายเลข IP นี้จะต้องลงทะเบียนและขอใช้ที่หน่วยงาน InterNIC เสียก่อน ถ้าได้รับอนุญาตและลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว จะมีการจัดเก็บเพิ่มฐานข้อมูล name-to-IP address เพื่อให้ผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตสามารถ อ้างอิงเข้ามาใช้บริการได้ เหมือนกับการขอจด ทะเบียนตั้งชื่อบริษัท ที่ต้องมีผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลเป็นนายทะเบียนและคอยตรวจ ดูว่าชื่อนั้น จะซ้ากับคนอื่นหรือไม่ ถ้าไม่มีปัญหาก็อนุญาตให้ใช้ได้ ชื่อ Domain Name นี้จะมีความยาวทั้งหมด ไม่เกิน 255 ตัวอักษร แต่ไม่มีข้อจากัดในเรื่องระดับชั้น ดังนั้นในชื่อหนึ่งๆ อาจมีหลายระดับได้ตาม ต้องการ และข้อสังเกตที่สาคัญก็คือชื่อ และจุดเหล่านี้ไม่เกี่ยวกับจุดใน ตัวเลขที่เป็น IP Address แต่ อย่างใด ขบวนการหรือกลไกในการแปลงชื่อ Domain กลับเป็นหมายเลข IP หรือ Name Mapping นี้อยู่ที่การ จัดการฐานข้อมูล Domain Name แบบกระจาย โดยจะเริ่มจากเมื่อมีโปรแกรมอ้างถึงชื่อ โดเมนบนเครื่องหนึ่ง ก็จะมีการสอบถามไปที่ฐานข้อมูล ในเครื่องที่ทาหน้าที่เป็น Name Server (ซึ่ง อาจเป็นเครื่องเดียวกันนั้นเองหรือคนละเครื่องก็ได้ และอาจมี Name Server ได้หลายเครื่องด้วย ขึ้นกับว่าจะตั้งไว้ให้รู้จัก Name Server เครื่องใดบ้าง) เครื่องที่เป็น Name Server ก็จะเรียกดูใน ฐานข้อมูลและถ้าพบชื่อที่ต้องการก็จะจัดการแปลงชื่อ Domain เป็นหมายเลข IP ที่ถูกต้องให้ ระบบ Name Server นี้จะมีติดตั้งกระจายไปในหลายเครื่องบนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เนื่องจากอย่าง น้อยหน่วยงาน ISP หนึ่งๆ ก็จะต้องจัดตั้งระบบดังกล่าวขึ้นมา เพื่อคอยดูแลจัดการฐานข้อมูล Domain Name ของเครือข่ายตนเอง ดังนั้นถ้า Name Server เครื่องหนึ่งไม่มีข้อมูลหรือไม่รู้จัก Domain Name ที่ถูกถามมาก็อาจจะไปขอข้อมูลจาก Name Server เครื่องอื่นๆ ที่ตนรู้จักจนกว่า จะพบ หรือจนกว่าจะทั่วแล้วไม่ปรากฏว่ามีเครื่องไหนรู้จักเลย กรณีนี้ก็จะตอบไปว่าไม่รู้จัก (หรือถ้ามี Name Server บางเครื่องที่รู้จักชื่อนั้นแต่ขณะนั้น เกิดขัดข้องอยู่ก็จะได้คาตอบว่าไม่มีเครื่องใดรู้จัก เช่นกัน)ความ สามารถของ Domain Name System ที่ทาหน้าที่แปลงระบบชื่อให้เป็นหมายเลข IP นี้ ได้ถูกนามาใช้กว้างขวางมากขึ้น โดยรวมไปถึงการกาหนดชื่อผู้ใช้ในระบบได้อีกด้วย กฎเกณฑ์ใน การกาหนดก็ไม่ยุ่งยาก โดยชื่อผู้ใช้จะมีรูปแบบดังนี้ ชื่อ_user @ ชื่อ_subdomain. ชื่อ_Subdomain… [...] . ชื่อ_Domain ชื่อ_user จะเป็นตัวอักษรแทนชื่อเฉพาะใดๆ เช่น ชื่อผู้ใช้คน หนึ่งที่จะรับหรือส่ง E-mail ท้ายชื่อ user นี้จะมีเครื่องหมาย @ ซึ่งอ่านว่า “แอท” หมายถึง “อยู่ที่
  • 14. เครื่อง…” แบ่งคั่นออกจากส่วนที่เหลือ ชื่อ_Subdomain เป็นส่วนย่อยที่จะใช้ขยายให้ทราบถึงกลุ่ม ต่างๆ ใน domain นั้น เช่น กรณีที่บริษัทมีหลายหน่วยงาน จึงจัดเป็นกลุ่มๆ ตั้งชื่อไว้อยู่ใน subdomain ต่างๆ ซึ่งในที่หนึ่งๆ อาจจะมี subdomain หลายระดับก็ได้และชื่อ subdomain ตัว สุดท้ายมักเป็นชื่อโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้รายนั้นใช้อยู่นั่นเอง ชื่อ_Domain ตามปกติชื่อ domain จะอยู่ทางด้านขวาสุดของชื่อ DNS ใช้สาหรับระบุประเภทของกิจกรรมของเครือข่ายนั้นๆ เวลาที่มี การติดต่อกัน เช่น ในการส่ง E-mail ชื่อดังกล่าวนี้ก็จะใช้เป็นตัวอ้างอิงเสมือนชื่อและที่อยู่ของผู้ใช้ ราย นั้นๆ หรือเรียกว่าเป็น E-mail address นั่นเอง https://sites.google.com/site/phaschira/home/kar-thangan-khxng-xintexrnet Edit อินเทอร์เน็ตคืออะไร และความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตคืออะไร อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ กลุ่มเครือข่ายย่อย ๆ ของคอมพิวเตอร์ จานวนมากที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันภายใต้มาตรฐานการสื่อสาร (Protocol) เดียวกัน จนเป็นสังคมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ซึ่งคอมพิวเตอร์ ที่อยู่ในเครือข่ายแต่ละเครื่อง สามารถรับส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น ตัวอักษร ภาพ เสียง รวมทั้งสามารถสืบค้นข้อมูลข่ายสารจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว
  • 15. ประวัติและความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ต เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่างประเทศมหาอานาจ(สหรัฐอเมริกา) กับรัสเซียเนื่องจากกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาในขณะนั้นได้เกิดแนวคิดที่ต้องการ ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยคอมพิวเตอร์สามารถสั่งการและทางานได้ ด้วยตัวเอง โดยไม่จาเป็นต้องมีผู้คอยควบคุมดูแล หากมีการโจมตีด้วยระเบิดปรมาณูหรือขีปนาวุธ นิวเคลียร เข้ามาถล่มจุดยุทธศาสตร์ที่เมืองใดเมืองหนึ่ง อาจทาให้ระบบคอมพิวเตอร์บางส่วน ถูกทาลายไปแต่ส่วนที่เหลือจะต้องสามารถปฏิบัติงานได้ซึ่งเป้ าหมายนี้เองจึงได้เกิดโครงการวิจัย และพัฒนาระบบ เครือข่ายดังกล่าวขึ้น เรียกว่า ARPA(Advanced Research Projects Agency) และได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว จนในที่สุดได้กลายมาเป็นเครือข่ายที่มีชื่อว่า “อินเทอร์เน็ต” (Internet) ในปัจจุบัน