SlideShare a Scribd company logo
1. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกาหนด
ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการ
และเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1.1 ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories)
ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง
(Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการ
เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนี้
1.1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories)
1) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning
Theories)
อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และสิ่ง
เร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้องมักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็น
ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องอารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่
1.1) Ivan P. Pavlov
รูปภาพที่ 1 Ivan P. Pavlov
จากรูปภาพที่ 1 Ivan P. Pavlov นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย (1849 -
1936) ได้ทาการทดลองเพื่อศึกษาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมโยงระหว่างการตอบสนองต่อสิ่งเร้าตาม
ธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus = UCS) และสิ่งเร้า ที่เป็นกลาง (Neutral
Stimulus) จนเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าที่เป็นกลางให้กลายเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned
Stimulus = CS) และการตอบสนองที่ไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Response = UCR) เป็นการ
ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (Conditioned Response = CR) ลาดับขั้นตอนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นดังนี้
1) ก่อนการวางเงื่อนไข
UCS (อาหาร)  UCR (น้าลายไหล)
สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (เสียงกระดิ่ง)  น้าลายไม่ไหล
2) ขณะวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร)  UCR (น้าลายไหล)
3) หลังการวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง)  CR (น้าลายไหล)
หลักการเกิดการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวาง
เงื่อนไข (CR) เกิดจากการนาเอาสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) มาเข้าคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCS) ซ้า
กันหลายๆ ครั้ง ต่อมาเพียงแต่ให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียวก็มีผลทาให้เกิดการตอบสนองใน
แบบเดียวกัน
ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ ๔
ประการ คือ
1) การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR นานๆ โดย
ไม่ให้ UCS เลย การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป
2) การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery ) เมื่อเกิด
การดับสูญของการตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให้ CS จะเกิด
CR โดยอัตโนมัติ
3) การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization) หลังจากเกิดการ
ตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนอง
แบบเดียวกัน
4) การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่
แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข จะมีการจาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมีการตอบสนองที่แตกต่างกัน
1.2) John B. Watson
รูปภาพที่ 2 John B. Watson
รูปภาพที่ 2 John B. Watson นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 -
1958) ได้ทาการทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ์กับเด็กชายอายุประมาณ 11 เดือน โดยใช้หลักการ
เดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้ ดังนี้
วัตสัน ได้ทาการทดลองโดยให้เด็กคนหนึ่งเล่นกับหนูขาว และขณะที่เด็ก
กาลังจะจับหนูขาว ก็ทาเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้ หลังจากนั้นเด็กจะกลัวและร้องไห้เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมา
ทดลองให้นาหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้ จากนั้นเด็กก็จะค่อย ๆ หายกลัวหนูขาว
จากการทดลองดังกล่าว วัตสันสรุปเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ ดังนี้
1) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่
วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้น
ควบคู่กันไปอย่างสม่าเสมอ
2) เมื่อสามารถทาให้เกิดพฤติกรรมใด ๆ ได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้
หายไปได้
ลักษณะของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1. การตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้า หรือสิ่งเร้าเป็นตัวดึงการตอบสนองมา
2. การตอบสนองเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่ได้จงใจ
3. ให้ตัวเสริมแรงก่อน แล้วผู้เรียนจึงจะตอบสนอง เช่น ให้ผงเนื้อก่อนจึงจะ
มีน้าลายไหล
4. รางวัลหรือตัวเสริมแรงไม่มีความจาเป็นต่อการวางเงื่อนไข
5. ไม่ต้องทาอะไรกับผู้เรียน เพียงแต่คอยจนกระทั่งมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจึงจะ
เกิดพฤติกรรม
6. เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาสะท้อนและอารมณ์ ซึ่งมีระบบประสาทอัตโนมัติ
เข้าไปเกี่ยวข้องในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน
1.ครูสามารถนาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้มาทาความเข้าใจพฤติกรรม
ของผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านดีและไม่ดี รวมทั้งเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่
เรียน กิจกรรม หรือครูผู้สอน เพราะเขาอาจได้รับการวางเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ก็เป็นได้
2.ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อ
เนื้อหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน
3.ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียน
ได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการ
ใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึ้น กรณีที่ผู้เรียนเกิดความเครียด และวิตก
กังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ผ่อนคลายความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม
2) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning Theory )
2.1) B.F. Skinner
รูปภาพที่ 3 B.F. Skinner
จากรูปภาพที่ 3 B.F. Skinner การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิด
จากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการตอบสนอง
มากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญ
ต่อการเสริมแรง(Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า
อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ
ทั้งทางบวกและทางลบ
ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์ (Skinner's Operant
Conditioning Theory) B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ทาการทดลองด้านจิตวิทยา
การศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทา (Operant Behavior)
สกินเนอร์ได้แบ่งพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ 2 แบบ คือ
1) Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดย
อัตโนมัติ หรือเป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริบตา
น้าลายไหล หรือการเกิดอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ
2) Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กาหนด หรือ
เลือกที่จะแสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจาวัน เช่น กิน นอน พูด
เดิน ทางาน ขับรถ ฯลฯ.
การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็น
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement)
ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการ
ตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ
แผนภูมิที่ 2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา
จากแผนภูมิที่ 2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา มีการนาหลักการมา
ประยุกต์ใช้ คือ
1. การเสริมแรงและการลงโทษ
1.1 การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทาให้อัตราการ
ตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่
เหมาะสม การเสริมแรงมี 2 ทาง ได้แก่
1) การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement )
เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น
2) การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)
เป็นการนาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น
1.2 การลงโทษ (Punishment) คือ การทาให้อัตราการ
ตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมลดลง การลงโทษมี 2 ทาง ได้แก่
1) การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็น
การให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ไม่พึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
2) การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็นการ
นาสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรือสิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
2. การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม
2.1 การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เป็นการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและการลงโทษ
การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เป็นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการ
เสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ
3. บทเรียนสาเร็จรูป (Programmed Instruction)
เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึ้น
ประกอบด้วย เนื้อหา กิจกรรม คาถามและ คาเฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ Skinner คือ
เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรม จบ 1 บท จะมีคาถามยั่วยุให้ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคา
เฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก
1.1.2 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories)
1) ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory)
1.1) Edward L. Thorndike
รูปภาพที่ 4 Edward L. Thorndike
จากรูปภาพที่ 4 Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นักจิตวิทยา
การศึกษาชาวอเมริกัน ผู้ได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา" ขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทาในสิ่งก่อให้เกิด
ความพึงพอใจและจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้ไม่พึงพอใจ" จากการทดลองกับแมวเขาสรุปหลักการเรียนรู้ได้ว่า เมื่อ
เผชิญกับปัญหาสิ่งมีชีวิตจะเกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก (Trial and Error) นอกจากนี้
เขายังให้ความสาคัญกับการเสริมแรงว่าเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นกฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความสาคัญคือ ผลแห่งปฏิกิริยา
ตอบสนองใดที่เป็นที่น่าพอใจ อินทรีย์ย่อมกระทาปฏิกิริยานั้นซ้าอีกและผลของปฏิกิริยาใดไม่เป็นที่พอใจ
บุคคลจะหลีกเลี่ยงไม่ทาปฏิกิริยานั้นซ้าอีก
2. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) มีใจความสาคัญ ๓ ประเด็น
2.1 ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วได้เรียน อินทรีย์จะเกิดความ
พอใจ
2.2 ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วไม่ได้เรียนจะเกิดความราคาญใจ
2.3 ถ้าอินทรีย์ไม่พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วถูกบังคับให้เรียนจะเกิดความ
ราคาญใจ
3. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความสาคัญคือ พฤติกรรม
ใดที่ได้มีโอกาสกระทาซ้าบ่อยๆ และมีการปรับปรุงอยู่เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชานิชานาญ สิ่ง
ใดที่ทอดทิ้งไปนานย่อมกระทาได้ไม่ดีเหมือนเดิมหรืออาจทาให้ลืมได้
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้
1. การสอนในชั้นเรียนครูควรกาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน จัดแบ่งเนื้อหา
เป็นลาดับเรียงจากง่ายไปยาก เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจติดตามบทเรียนอย่างต่อเนื่อง เนื้อหาที่เรียนควรมี
ประโยชน์ต่อชีวิตประจาวันของผู้เรียน
2. ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะ
เพียงพอและไม่ตกอยู่ในสภาวะบางอย่าง เช่น ป่วย เหนื่อย ง่วง หรือ หิว จะทาให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้
3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว แต่ไม่
ควรให้ทาซ้าซากจนเกิดความเมื่อยล้าและเบื่อหน่าย
4. ครูควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพึงพอใจและรู้สึกประสบผลสาเร็จในการทา
กิจกรรม โดยครูต้องแจ้งผลการทากิจกรรมให้ทราบ หากผู้เรียนทาได้ดีควรชมเชยหรือให้รางวัล หากมี
ข้อบกพร่องต้องชี้แจงเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
2) ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory)
2.1) Edwin R. Guthrie
รูปภาพที่ 5 Edwin R. Guthrie
จากรูปภาพที่ 5 Edwin R. Guthrie นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้
กล่าวย้าถึงความสาคัญของความใกล้ชิดต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ถ้ามีการเชื่อมโยงอย่าง
ใกล้ชิดและแนบแน่นเพียงครั้งเดียวก็สามารถเกิดการเรียนรู้ได้ (One Trial Learning ) เช่น ประสบการณ์
ชีวิตที่วิกฤตหรือรุนแรงบางอย่าง ได้แก่ การประสบอุบัติเหตุที่รุนแรง การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ฯลฯ
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้น
ภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรม
หรือการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการ
ตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการ
รับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม
1.2 ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories)
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลใน
ระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนอง
ใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่ง
หมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยง
กับประสบการณ์เดิม
1.2.1 ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory)
นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ชาวเยอรมัน ประกอบด้วย Max
Wertheimer, Wolfgang Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยวกับการรับรู้ (Perception ) การ
เชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่ นาไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ปัญหา (Insight)
องค์ประกอบของการเรียนรู้ มี 2 ส่วน คือ
1) การรับรู้ (Perception) เป็นกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มา
กระทบประสาทสัมผัส ซึ่งจะเน้นความสาคัญของการรับรู้เป็นส่วนรวมที่สมบูรณ์มากกว่าการรับรู้ส่วนย่อยทีละ
ส่วน
2) การหยั่งเห็น (Insight) เป็นการรู้แจ้ง เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามา
ทันทีทันใดขณะที่บุคคลกาลังเผชิญปัญหาและจัดระบบการรับรู้ ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใช้คาว่า Aha '
experience
หลักของการหยั่งเห็นสรุปได้ดังนี้
1) การหยั่งเห็นขึ้นอยู่กับสภาพปัญหา การหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นได้ง่ายถ้ามีการรับรู้
องค์ประกอบของปัญหาที่สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับขั้นตอนเหตุการณ์ หรือ
สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพยายามหาคาตอบ
2) คาตอบที่เกิดขึ้นในใจถือว่าเป็นการหยั่งเห็น ถ้าสามารถแก้ปัญหาได้บุคคลจะ
นามาใช้ในโอกาสต่อไปอีก
3) คาตอบหรือการหยั่งเห็นที่เกิดขึ้นสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
1.2.2 ทฤษฎีสนามของเลวิน
รูปภาพที่ 6 Kurt Lewin
จากรูปภาพที่ 6 Kurt Lewin นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947) แนวคิดเกี่ยวกับการ
เรียนรู้เช่นเดียวกับกลุ่มเกสตัลท์ ที่ว่าการเรียนรู้ เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู้ และกระบวนการคิด
เพื่อการแก้ไขปัญหาแต่เขาได้นาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ เขาเชื่อว่า
พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการ
จะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ
Lewin กาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนิด คือ
1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
2) สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เป็นโลกแห่งการ
รับรู้ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก หมายถึง Life
space นั่นเองLife space ของบุคคลเป็นสิ่งเฉพาะตัว ความสาคัญที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน คือ ครู
ต้องหาวิธีทาให้ตัวครูเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนให้ได้
การนาหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ใช้
1) ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดง
ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น
2) เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน โดยใช้แนวทางต่อไปนี้
2.1) เน้นความแตกต่าง
2.2) กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล
2.3) กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม
2.4) กระตุ้นให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
2.5) กาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น
3) การกาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน เนื้อหามีความ
สอดคล้องต่อเนื่องกัน
4) คานึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียน พยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความ
สนใจของผู้เรียนมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ผู้เรียนนาไปใช้ประโยชน์ได้ และควรจัดโอกาสให้ผู้เรียนรู้สึกประสบ
ความสาเร็จด้วย
5) บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอด จะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนมี
ความศรัทธาและครูจะสามารถเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนได้
1.2.3 ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Learning Theory)
รูปภาพที่ 7 Albert Bandura
จากรูปภาพที่ 7 Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้พัฒนา
ทฤษฎีนี้ขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า "ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning
Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม" ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้น
หลักการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) เกิดจากการที่บุคคลสังเกตการกระทาของผู้อื่นแล้ว
พยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั้น ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมทางสังคมเราสามารถพบได้ใน
ชีวิตประจาวัน เช่น การออกเสียง การขับรถยนต์ การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เป็นต้น
ขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต
1) ขั้นให้ความสนใจ (Attention Phase) ถ้าไม่มีขั้นตอนนี้ การเรียนรู้อาจจะไม่
เกิดขึ้น เป็นขั้นตอน ที่ผู้เรียนให้ความสนใจต่อตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง และ
คุณลักษณะเด่นของตัวแบบจะเป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ
2) ขั้นจา (Retention Phase) เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ จะบันทึกสิ่ง
ที่สังเกตได้ไว้ในระบบความจาของตนเอง ซึ่งมักจะจดจาไว้เป็นจินตภาพเกี่ยวกับขั้นตอนการแสดงพฤติกรรม
3) ขั้นปฏิบัติ (Reproduction Phase) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรม
ตามตัวแบบ ซึ่งจะส่งผลให้มีการตรวจสอบการเรียนรู้ที่ได้จดจาไว้
4) ขั้นจูงใจ (Motivation Phase) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นแสดงผลของการกระทา
(Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถ้าผลที่ตัวแบบเคยได้รับ (Vicarious Consequence)
เป็นไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยากแสดงพฤติกรรมตามแบบ ถ้า
เป็นไปในทางลบ (Vicarious Punishment) ผู้เรียนก็มักจะงดเว้นการแสดงพฤติกรรมนั้นๆ
หลักพื้นฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี 3 ประการ คือ
1) กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทั้งกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจ
ของผู้เรียน
2) การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ 3 ประการ ระหว่าง ตัว
บุคคล (Person) สิ่งแวดล้อม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลต่อกันและกัน
3) ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้วอาจไม่มี
การแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระทา (Consequence) ด้านบวก เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดง
พฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการกระทาด้านลบ อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ
การนาหลักการมาประยุกต์ใช้
1) ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอว่า
การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม
2) การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของทฤษฎี
ปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดง
พฤติกรรมเลียนแบบ ความผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจา แต่
ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว
3) ตัวแบบในชั้นเรียนไม่ควรจากัดไว้ที่ครูเท่านั้น ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็นตัวแบบ
ได้ในบางกรณี โดยธรรมชาติเพื่อนในชั้นเรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบสูงอยู่แล้ว ครูควรพยายามใช้
ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและเลียนแบบเพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
Decode Ac
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
Wiparat Khangate
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
jiko2505
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
thitinanmim115
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
krupeem
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Charuni Samat
 

What's hot (20)

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
team00428
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
kungcomedu
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
poms0077
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
nan1799
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Sarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Prakul Jatakavon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
team00428
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

ทฤษฎีการเรียนรู้

  • 1. 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning) ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกาหนด ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการ และเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1.1 ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories) ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนี้ 1.1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories) 1) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories) อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และสิ่ง เร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้องมักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็น ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องอารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสาคัญของทฤษฎีนี้ ได้แก่ 1.1) Ivan P. Pavlov รูปภาพที่ 1 Ivan P. Pavlov จากรูปภาพที่ 1 Ivan P. Pavlov นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย (1849 - 1936) ได้ทาการทดลองเพื่อศึกษาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมโยงระหว่างการตอบสนองต่อสิ่งเร้าตาม ธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus = UCS) และสิ่งเร้า ที่เป็นกลาง (Neutral Stimulus) จนเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าที่เป็นกลางให้กลายเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus = CS) และการตอบสนองที่ไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Response = UCR) เป็นการ ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (Conditioned Response = CR) ลาดับขั้นตอนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นดังนี้
  • 2. 1) ก่อนการวางเงื่อนไข UCS (อาหาร)  UCR (น้าลายไหล) สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (เสียงกระดิ่ง)  น้าลายไม่ไหล 2) ขณะวางเงื่อนไข CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร)  UCR (น้าลายไหล) 3) หลังการวางเงื่อนไข CS (เสียงกระดิ่ง)  CR (น้าลายไหล) หลักการเกิดการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวาง เงื่อนไข (CR) เกิดจากการนาเอาสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) มาเข้าคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCS) ซ้า กันหลายๆ ครั้ง ต่อมาเพียงแต่ให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียวก็มีผลทาให้เกิดการตอบสนองใน แบบเดียวกัน ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ ๔ ประการ คือ 1) การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR นานๆ โดย ไม่ให้ UCS เลย การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป 2) การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery ) เมื่อเกิด การดับสูญของการตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให้ CS จะเกิด CR โดยอัตโนมัติ 3) การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization) หลังจากเกิดการ ตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนอง แบบเดียวกัน 4) การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่ แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข จะมีการจาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมีการตอบสนองที่แตกต่างกัน 1.2) John B. Watson รูปภาพที่ 2 John B. Watson
  • 3. รูปภาพที่ 2 John B. Watson นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ได้ทาการทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ์กับเด็กชายอายุประมาณ 11 เดือน โดยใช้หลักการ เดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้ ดังนี้ วัตสัน ได้ทาการทดลองโดยให้เด็กคนหนึ่งเล่นกับหนูขาว และขณะที่เด็ก กาลังจะจับหนูขาว ก็ทาเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้ หลังจากนั้นเด็กจะกลัวและร้องไห้เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมา ทดลองให้นาหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้ จากนั้นเด็กก็จะค่อย ๆ หายกลัวหนูขาว จากการทดลองดังกล่าว วัตสันสรุปเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ ดังนี้ 1) พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่ วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้น ควบคู่กันไปอย่างสม่าเสมอ 2) เมื่อสามารถทาให้เกิดพฤติกรรมใด ๆ ได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้ หายไปได้ ลักษณะของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค 1. การตอบสนองเกิดจากสิ่งเร้า หรือสิ่งเร้าเป็นตัวดึงการตอบสนองมา 2. การตอบสนองเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่ได้จงใจ 3. ให้ตัวเสริมแรงก่อน แล้วผู้เรียนจึงจะตอบสนอง เช่น ให้ผงเนื้อก่อนจึงจะ มีน้าลายไหล 4. รางวัลหรือตัวเสริมแรงไม่มีความจาเป็นต่อการวางเงื่อนไข 5. ไม่ต้องทาอะไรกับผู้เรียน เพียงแต่คอยจนกระทั่งมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจึงจะ เกิดพฤติกรรม 6. เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาสะท้อนและอารมณ์ ซึ่งมีระบบประสาทอัตโนมัติ เข้าไปเกี่ยวข้องในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน 1.ครูสามารถนาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้มาทาความเข้าใจพฤติกรรม ของผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทั้งด้านดีและไม่ดี รวมทั้งเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่ เรียน กิจกรรม หรือครูผู้สอน เพราะเขาอาจได้รับการวางเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ก็เป็นได้ 2.ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อ เนื้อหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน 3.ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียน ได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการ ใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึ้น กรณีที่ผู้เรียนเกิดความเครียด และวิตก กังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ผ่อนคลายความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม
  • 4. 2) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning Theory ) 2.1) B.F. Skinner รูปภาพที่ 3 B.F. Skinner จากรูปภาพที่ 3 B.F. Skinner การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิด จากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการตอบสนอง มากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญ ต่อการเสริมแรง(Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์ (Skinner's Operant Conditioning Theory) B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ทาการทดลองด้านจิตวิทยา การศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทา (Operant Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่งพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ 2 แบบ คือ 1) Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดย อัตโนมัติ หรือเป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริบตา น้าลายไหล หรือการเกิดอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ 2) Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กาหนด หรือ เลือกที่จะแสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจาวัน เช่น กิน นอน พูด เดิน ทางาน ขับรถ ฯลฯ. การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็น ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการ ตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ
  • 5. แผนภูมิที่ 2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา จากแผนภูมิที่ 2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา มีการนาหลักการมา ประยุกต์ใช้ คือ 1. การเสริมแรงและการลงโทษ 1.1 การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทาให้อัตราการ ตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่ เหมาะสม การเสริมแรงมี 2 ทาง ได้แก่ 1) การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น 2) การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เป็นการนาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น 1.2 การลงโทษ (Punishment) คือ การทาให้อัตราการ ตอบสนองหรือความถี่ของการแสดงพฤติกรรมลดลง การลงโทษมี 2 ทาง ได้แก่ 1) การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็น การให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ไม่พึงพอใจ มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง 2) การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็นการ นาสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรือสิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง 2. การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม 2.1 การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เป็นการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและการลงโทษ การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เป็นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการ เสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ 3. บทเรียนสาเร็จรูป (Programmed Instruction) เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึ้น ประกอบด้วย เนื้อหา กิจกรรม คาถามและ คาเฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ Skinner คือ เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรม จบ 1 บท จะมีคาถามยั่วยุให้ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคา เฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก
  • 6. 1.1.2 ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories) 1) ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) 1.1) Edward L. Thorndike รูปภาพที่ 4 Edward L. Thorndike จากรูปภาพที่ 4 Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นักจิตวิทยา การศึกษาชาวอเมริกัน ผู้ได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา" ขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทาในสิ่งก่อให้เกิด ความพึงพอใจและจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้ไม่พึงพอใจ" จากการทดลองกับแมวเขาสรุปหลักการเรียนรู้ได้ว่า เมื่อ เผชิญกับปัญหาสิ่งมีชีวิตจะเกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก (Trial and Error) นอกจากนี้ เขายังให้ความสาคัญกับการเสริมแรงว่าเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นกฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ 1. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความสาคัญคือ ผลแห่งปฏิกิริยา ตอบสนองใดที่เป็นที่น่าพอใจ อินทรีย์ย่อมกระทาปฏิกิริยานั้นซ้าอีกและผลของปฏิกิริยาใดไม่เป็นที่พอใจ บุคคลจะหลีกเลี่ยงไม่ทาปฏิกิริยานั้นซ้าอีก 2. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) มีใจความสาคัญ ๓ ประเด็น 2.1 ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วได้เรียน อินทรีย์จะเกิดความ พอใจ 2.2 ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วไม่ได้เรียนจะเกิดความราคาญใจ 2.3 ถ้าอินทรีย์ไม่พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วถูกบังคับให้เรียนจะเกิดความ ราคาญใจ 3. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความสาคัญคือ พฤติกรรม ใดที่ได้มีโอกาสกระทาซ้าบ่อยๆ และมีการปรับปรุงอยู่เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชานิชานาญ สิ่ง ใดที่ทอดทิ้งไปนานย่อมกระทาได้ไม่ดีเหมือนเดิมหรืออาจทาให้ลืมได้ การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ 1. การสอนในชั้นเรียนครูควรกาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน จัดแบ่งเนื้อหา เป็นลาดับเรียงจากง่ายไปยาก เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจติดตามบทเรียนอย่างต่อเนื่อง เนื้อหาที่เรียนควรมี ประโยชน์ต่อชีวิตประจาวันของผู้เรียน 2. ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะ เพียงพอและไม่ตกอยู่ในสภาวะบางอย่าง เช่น ป่วย เหนื่อย ง่วง หรือ หิว จะทาให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
  • 7. การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ 3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว แต่ไม่ ควรให้ทาซ้าซากจนเกิดความเมื่อยล้าและเบื่อหน่าย 4. ครูควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพึงพอใจและรู้สึกประสบผลสาเร็จในการทา กิจกรรม โดยครูต้องแจ้งผลการทากิจกรรมให้ทราบ หากผู้เรียนทาได้ดีควรชมเชยหรือให้รางวัล หากมี ข้อบกพร่องต้องชี้แจงเพื่อการปรับปรุงแก้ไข 2) ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory) 2.1) Edwin R. Guthrie รูปภาพที่ 5 Edwin R. Guthrie จากรูปภาพที่ 5 Edwin R. Guthrie นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้ กล่าวย้าถึงความสาคัญของความใกล้ชิดต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ถ้ามีการเชื่อมโยงอย่าง ใกล้ชิดและแนบแน่นเพียงครั้งเดียวก็สามารถเกิดการเรียนรู้ได้ (One Trial Learning ) เช่น ประสบการณ์ ชีวิตที่วิกฤตหรือรุนแรงบางอย่าง ได้แก่ การประสบอุบัติเหตุที่รุนแรง การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ฯลฯ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้น ภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรม หรือการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการ รับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม 1.2 ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories) ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลใน ระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนอง ใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่ง หมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยง กับประสบการณ์เดิม
  • 8. 1.2.1 ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory) นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ชาวเยอรมัน ประกอบด้วย Max Wertheimer, Wolfgang Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยวกับการรับรู้ (Perception ) การ เชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่ นาไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ปัญหา (Insight) องค์ประกอบของการเรียนรู้ มี 2 ส่วน คือ 1) การรับรู้ (Perception) เป็นกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มา กระทบประสาทสัมผัส ซึ่งจะเน้นความสาคัญของการรับรู้เป็นส่วนรวมที่สมบูรณ์มากกว่าการรับรู้ส่วนย่อยทีละ ส่วน 2) การหยั่งเห็น (Insight) เป็นการรู้แจ้ง เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามา ทันทีทันใดขณะที่บุคคลกาลังเผชิญปัญหาและจัดระบบการรับรู้ ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใช้คาว่า Aha ' experience หลักของการหยั่งเห็นสรุปได้ดังนี้ 1) การหยั่งเห็นขึ้นอยู่กับสภาพปัญหา การหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นได้ง่ายถ้ามีการรับรู้ องค์ประกอบของปัญหาที่สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับขั้นตอนเหตุการณ์ หรือ สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพยายามหาคาตอบ 2) คาตอบที่เกิดขึ้นในใจถือว่าเป็นการหยั่งเห็น ถ้าสามารถแก้ปัญหาได้บุคคลจะ นามาใช้ในโอกาสต่อไปอีก 3) คาตอบหรือการหยั่งเห็นที่เกิดขึ้นสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ 1.2.2 ทฤษฎีสนามของเลวิน รูปภาพที่ 6 Kurt Lewin จากรูปภาพที่ 6 Kurt Lewin นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947) แนวคิดเกี่ยวกับการ เรียนรู้เช่นเดียวกับกลุ่มเกสตัลท์ ที่ว่าการเรียนรู้ เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู้ และกระบวนการคิด เพื่อการแก้ไขปัญหาแต่เขาได้นาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ เขาเชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการ จะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ Lewin กาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนิด คือ
  • 9. 1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) 2) สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เป็นโลกแห่งการ รับรู้ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก หมายถึง Life space นั่นเองLife space ของบุคคลเป็นสิ่งเฉพาะตัว ความสาคัญที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน คือ ครู ต้องหาวิธีทาให้ตัวครูเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนให้ได้ การนาหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ใช้ 1) ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดง ความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น 2) เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน โดยใช้แนวทางต่อไปนี้ 2.1) เน้นความแตกต่าง 2.2) กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล 2.3) กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม 2.4) กระตุ้นให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ 2.5) กาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น 3) การกาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน เนื้อหามีความ สอดคล้องต่อเนื่องกัน 4) คานึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียน พยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความ สนใจของผู้เรียนมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ผู้เรียนนาไปใช้ประโยชน์ได้ และควรจัดโอกาสให้ผู้เรียนรู้สึกประสบ ความสาเร็จด้วย 5) บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอด จะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนมี ความศรัทธาและครูจะสามารถเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนได้ 1.2.3 ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Learning Theory) รูปภาพที่ 7 Albert Bandura จากรูปภาพที่ 7 Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้พัฒนา ทฤษฎีนี้ขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า "ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม" ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้น หลักการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) เกิดจากการที่บุคคลสังเกตการกระทาของผู้อื่นแล้ว
  • 10. พยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั้น ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมทางสังคมเราสามารถพบได้ใน ชีวิตประจาวัน เช่น การออกเสียง การขับรถยนต์ การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เป็นต้น ขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต 1) ขั้นให้ความสนใจ (Attention Phase) ถ้าไม่มีขั้นตอนนี้ การเรียนรู้อาจจะไม่ เกิดขึ้น เป็นขั้นตอน ที่ผู้เรียนให้ความสนใจต่อตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง และ คุณลักษณะเด่นของตัวแบบจะเป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ 2) ขั้นจา (Retention Phase) เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ จะบันทึกสิ่ง ที่สังเกตได้ไว้ในระบบความจาของตนเอง ซึ่งมักจะจดจาไว้เป็นจินตภาพเกี่ยวกับขั้นตอนการแสดงพฤติกรรม 3) ขั้นปฏิบัติ (Reproduction Phase) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรม ตามตัวแบบ ซึ่งจะส่งผลให้มีการตรวจสอบการเรียนรู้ที่ได้จดจาไว้ 4) ขั้นจูงใจ (Motivation Phase) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นแสดงผลของการกระทา (Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถ้าผลที่ตัวแบบเคยได้รับ (Vicarious Consequence) เป็นไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยากแสดงพฤติกรรมตามแบบ ถ้า เป็นไปในทางลบ (Vicarious Punishment) ผู้เรียนก็มักจะงดเว้นการแสดงพฤติกรรมนั้นๆ หลักพื้นฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี 3 ประการ คือ 1) กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทั้งกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจ ของผู้เรียน 2) การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ 3 ประการ ระหว่าง ตัว บุคคล (Person) สิ่งแวดล้อม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลต่อกันและกัน 3) ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้วอาจไม่มี การแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระทา (Consequence) ด้านบวก เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดง พฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการกระทาด้านลบ อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ การนาหลักการมาประยุกต์ใช้ 1) ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม 2) การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของทฤษฎี ปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดง พฤติกรรมเลียนแบบ ความผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจา แต่ ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว 3) ตัวแบบในชั้นเรียนไม่ควรจากัดไว้ที่ครูเท่านั้น ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็นตัวแบบ ได้ในบางกรณี โดยธรรมชาติเพื่อนในชั้นเรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบสูงอยู่แล้ว ครูควรพยายามใช้ ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและเลียนแบบเพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี