SlideShare a Scribd company logo
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
25 มกราคม 2557
by Brian Tracy:
Berrett-Koehler Publishers, Inc., San Francisco,
2000
กฏของภาวะผูนา
้
 ภาวะผูนา เป็ นปั จจัยสูงสุด ที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ
้
หรือล้มเหลว ในสภาวะของธุรกิจที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง
 ภาวะผูนาได้มีการกล่าวถึงมาตั้งแต่ยุคโบราณ ยังคงมีอยูใน
้
่
โรงเรียนด้านการทหาร วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย มีการสอนใน
โรงเรียนด้านธุรกิจ และมีการฝึ กอบรมอยูทุกเมื่อเชื่อวัน
่
 ผูนาสร้างได้ ไม่ได้เป็ นมาแต่กาเนิด บุคคลเป็ นผูนาได้เมื่อ
้
้
สถานการณ์เรียกร้อง คุณก็เป็ นผูนาได้ เมื่อได้รบการฝึ กฝนให้มี
้
ั
พฤติกรรมเช่นเดียวกับผูนาที่เคยประสบความสาเร็จมาก่อน
้
 ภาวะผูนาเป็ นทักษะที่ตองเรียนรูและฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ
้
้
้







1. The Law of Integrity
2. The Law of Courage
3. The Law of Realism
4. The Law of Power
5. The Law of Ambition
6. The Law of Optimism








7. The Law of Empathy
8. The Law of Resilience
9. The Law of Independence
10. The Law of Emotional Maturity
11. The Law of Superb Execution
12. The Law of Foresight
1. กฏของคุณธรรม
 คุณสมบัตผนาข้อแรกคือ ความซื่อสัตย์ มีความจริงใจกับทุกคน
ิ ู้
และทุกสถานการณ์
 การมีคณธรรมเป็ นแก่นของภาวะผูนา การกระทาและคาพูดที่มี
ุ
้
ต่อผูอื่น จะแสดงความเป็ นตัวตนของผูนา ดังนั้น ผูนาควรเป็ น
้
้
้
แบบอย่างทีดี มีการปฏิบตที่เสมอต้นเสมอปลาย ไม่ว่าต่อหน้า
่
ั ิ
หรือลับหลัง
 ผูนาที่ดี คือผูที่บุคลากรให้ความไว้วางใจได้ และการที่ผคนให้
้
้
ู้
ความเชื่อถือ เพราะเขาเป็ นคนรักษาคาพูด
2. กฏของความกล้าหาญ
 ความสามารถในการตัดสินใจและมีการกระทาอย่างกล้าหาญ ใน
สถานการณ์วิกฤตหรือเลวร้าย แม้ไม่มีอะไรเป็ นประกันว่าจะประสบ
ความสาเร็จ เป็ นความยิงใหญ่ของผูนา
่
้
 การกล้าออกมาเผชิญเหตุ ไม่ได้หมายความว่าไม่กลัว แต่เป็ นผูที่
้
สามารถควบคุมความกลัวได้
 ความกลัวการล้มเหลว หรือกลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์ในทางไม่ดี เป็ น
อุปสรรคใหญ่ ทาให้ไม่กล้า แต่ผนาที่ยงใหญ่ลวนแต่เคยประสบความ
ู้
ิ่
้
ล้มเหลวและถูกติฉินนินทามาแล้วทั้งนั้น แต่พวกเขานาความล้มเหลว
มาเป็ นบทเรียน และเรียนรูที่จะทาตัวอยูเหนือคานินทาว่าร้าย
้
่
 ธุรกิจที่ยงใหญ่ประสบความสาเร็จได้ตองกล้าเสี่ยง ในสิ่งที่ผอื่นไม่กล้า
ิ่
้
ู้
3. กฏของความจริง
 ผูนามองโลกและจัดการตามความเป็ นจริง ไม่ใช่ตามความปรารถนา
้
ที่อยากจะให้เป็ น
 เขารูตวดีว่าไม่ได้เป็ นคนสมบูรณ์แบบ และไม่ตองการเป็ นเหมือนใคร
้ ั
้
รูจดอ่อนของตนเองดี และมีพฤติกรรมเพื่อชดเชยจุดอ่อนนั้น เขาไม่
ุ้
ต้องการความสมบูรณ์แบบ และสามารถยกโทษให้ตนเองได้เมื่อเกิด
ความผิดพลาด
 ผูนามีการวิเคราะห์ตนเองอย่างซื่อสัตย์ ว่าอะไรคือจุดแข็งและจุดอ่อน
้
(จุดแข็งทาให้คณมาได้เป็ นจนถึงทุกวันนี้ จุดอ่อนคือความเร็วที่
ุ
กาหนดให้คณประสบความสาเร็จ)
ุ
 อย่ามัวเสียใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต ปั จจุบนคือความจริง เป็ นสิ่งที่เรา
ั
สามารถควบคุมได้ดวยตนเอง
้
4. กฏของอานาจ
 อานาจ คือ มีความสามารถในการมอบให้ได้ซึ่ง คน เงิน และ
ทรัพยากร ซึ่งถ้ามีการใช้อานาจอย่างมีประสิทธิผล สามารถทาให้
บรรลุผลที่ตองการได้
้
 อานาจมาได้ 4 หนทาง คือ 1.) อานาจของผูเชี่ยวชาญ (expert
้
power) 2.) อานาจของบุคคล (personal power)เกิดจากความชื่นชม
เป็ นที่รกและเคารพ 3.) อานาจจากตาแหน่งหน้าที่ (position power)
ั
4.) อานาจจากการยอมรับ (ascribed power)
 อานาจมีพ้ ืนฐานจากการพึ่งพากัน ที่ทาให้ผอื่นยินดีให้ความช่วยเหลือ
ู้
อย่างเต็มใจ เนื่องจากเคยช่วยเหลือเขามาก่อน
 ยิงถ้าคุณมีความสามารถในการสร้างผลงานที่ดี อานาจ อิทธิพล และ
่
ความรับผิดชอบ จะมีมากขึ้น
5. กฏของความทะเยอทะยาน
 ผูนาต้องมีความปรารถนาที่จะนา มีวิสยทัศน์เพื่ออนาคตที่ดีกว่า
้
ั
และมุ่งมั ่นทาให้เกิดขึ้น
 การมีวิสยทัศน์เป็ นเรืองจาเป็ นของผูนา เพราะผูนาต้องอธิบาย
ั
่
้
้
ภาพในอนาคตได้อย่างชัดเจน และสื่อสารให้ผอื่นให้เข้าใจได้
ู้
เพื่อเกิดเป็ นแรงบันดาลใจ
 ผูนาต้องมีความชัดเจนในเรื่อง วิสยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ
้
ั
เป้ าประสงค์ แผนงาน และกลยุทธ์ของหน่วยงานหรือองค์กร
 เหนือสิ่งอื่นใด ผูนาต้องมีความปรารถนาในการนา มีความ
้
รับผิดชอบ แสดงความรับผิดชอบ และสร้างสิ่งต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น
6. กฏของการมองในแง่ดี
 ผูนาที่แท้จริงแสดงความมั ่นใจว่า สามารถไปถึงเป้ าหมาย และ
้
สามารถฟั นฝ่ าอุปสรรคต่าง ๆ ได้ ที่ทาให้ผคนเกิดความเชื่อได้ว่า
ู้
สามารถทาได้จริง
 ผูมองโลกในแง่ดี จะบอกว่า ‘ทาได้’ เขามองทุกสถานการณ์ในแง่
้
บวกเสมอ เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ดีก็ยงบอกว่า เป็ นเรื่องดี มอง
ั
วิกฤตให้เป็ นโอกาส ความผิดพลาดถือว่าเป็ นบทเรียน มองไปใน
อนาคตมากกว่าอดีต ไม่เพ่งโทษ พยายามคิดว่าจะทาอย่างไรจึง
ให้ผลออกมาดี มองแนวทางแก้ปัญหามากว่าตัวปั ญหา
7. กฏของความมีน้ าใจ
 ผูนามีความอ่อนไหวต่อความต้องการ ความรูสึก แรงบันดาลใจ
้
้
ปฏิกิริยาสนองตอบของผูคน มีการให้เวลากับการตัดสินใจที่มี
้
ผลกระทบต่อผูอื่น
้
 ผูนาเป็ นผูฟังที่ดี ฟั งอย่างตั้งใจ ฟั งให้เข้าใจความหมายที่บุคคล
้
้
ต้องการสื่อ น้อมรับเสียงสะท้อนกลับ กลับการตัดสินใจได้ถามี
้
ข้อมูลสารสนเทศใหม่ และมีความอ่อนตัว
 ทุกคนต้องการมีความรูสึกที่ดี ๆ ผูนาจึงพยายามหาทางชื่นชม
้
้
ชมเชย ให้การยอมรับ และใช้แรงกระตุนทางบวก กับบุคลากร
้
8. กฏของความยืดหยุน
่
 ผูนาต้องลุกขึ้นต่อสูกบความล้มเหลวได้
้
้ั
 การตอบสนองอย่างมีประสิทธิผล ต่อความล้มเหลวหรือวิกฤต
เป็ นลักษณะที่ผนาพึงมี
ู้
 เมื่อมีบางสิ่งบางอย่างผิดพลาด ผูคนจะมองไปที่ผนา ว่าจะมี
้
ู้
แนวทางตอบสนองอย่างไร พฤติกรรมของผูนาในสภาวการณ์ที่
้
เลวร้าย เป็ นตัวบ่งบอกความเป็ นตัวตนขององค์กร
 เมื่อมีขอผิดพลาด ให้อยูในความสงบ หายใจเข้าลึก ๆ พยายาม
้
่
รวบรวมข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และตัดสินใจในสิ่งที่คิดว่าถูกต้อง
9. กฏของความเป็ นอิสระ
 ผูนารูตวตนเองดี สามารถคิดได้เอง ในเรืองค่านิยม เป้ าประสงค์ และ
้ ้ ั
่
พันธกิจส่วนตัว
 ผูนายืนหยัดในค่านิยม คือ คุณธรรมและความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะ
้
เกิดเรื่องราวในเรื่องใด ๆ
 ผูนามีการรับฟั งความเห็นจากผูอื่น แต่การตัดสินใจเป็ นเรื่องของตน
้
้
 ผูนาจะไม่ปกป้ องตนเอง มีความรับผิดชอบ ไม่แก้ตว ไม่กล่าวโทษ
้
ั
ผูอื่น ไม่เสียใจ (เมื่อถูกวิจารณ์ เมื่อมีผไม่เห็นด้วย หรือผลลัพธ์ที่กลับ
้
ู้
กลายไม่ได้ดั ่งใจ)
 ผูนารูและยอมรับจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง ยอมรับผูอื่น ไม่
้ ้
้
ตัดสินหรือประณามผูอื่น มีการสร้างมาตรฐานของตนเองและรักษา
้
มาตรฐานนั้นไว้ ไม่เปรียบเทียบกับผูอื่น โดยทาให้ดทสุดที่ตนทาได้
้
ี ี่
10. กฏของความมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
 ผูนามีความสงบ เยือกเย็น และมีความนิ่ง (calm, cool, and
้
controlled) เมื่อต้องผจญกับสภาวะของปั ญหา ความยากลาบาก
และผลเลวร้าย
 วุฒิภาวะเกิดจากมีสนติภาพและความสงบสุขในตน
ั
 เมื่อต้องประสบกับสิ่งเลวร้ายหรือความยากลาบาก ผูนาตระหนัก
้
ดีว่า เมื่อทาในสิ่งที่ดีที่สุดแล้ว อะไรจะเกิดก็ชั ่งมัน
 บุคคลที่มีวุฒิภาวะ รูว่าเมื่อใดควรตัดสินใจ เมื่อใดให้ปล่อยไว้
้
ก่อน เพราะมีความมั ่นคงทั้งในจิตใจและร่างกาย
 การมีสติและใจเย็น จะกระทาการใด ๆ ก็มีประสิทธิผล
11. กฏของการทาให้สาเร็จที่เป็ นเลิศ
 ผูนามุ่งมั ่นในการทาให้สาเร็จที่เป็ นเลิศ และรูว่าความเป็ นเลิศคือ
้
้
การเดินทาง ไม่ใช่จดหมายปลายทาง (excellence is a journey,
ุ
not a destination)
 ผูนาเป็ นผูใฝ่ รู ้ พยายามทาตนให้มีความก้าวหน้าขึ้นไปอีก มีการ
้
้
อ่าน เข้าอบรมหลักสูตรเพิ่มเติม ฟั งความรูเ้ มื่ออยูบนรถยนต์ เข้า
่
ร่วมประชุมสัมนาและจดสิ่งสาคัญไว้
 ผูนาคิดถึงอนาคตและสมรรถนะหลักที่ตองการ ในการทาให้งาน
้
้
ประสบความสาเร็จ มีการวางแผนงาน เพื่อสร้างสมรรถนะหลัก
ไว้ล่วงหน้า และคิดถึงชัยชนะตลอดเวลา
12. กฏของการมองล่วงหน้า
 ผูนามีความสามารถในการทานายและร่วมสร้างอนาคต
้
 การมองการณ์ไกล เกิดจากความสามารถในการวิเคราะห์
สถานการณ์ในปั จจุบน ทาให้สามารถทานายสิ่งที่จะเกิดได้อย่าง
ั
แม่นยา ผูนาที่ดีจะเตรียมความพร้อมสูอนาคต และเตรียมรับมือ
้
่
กับสิ่งที่ไม่ได้คาดคิดล่วงหน้าไว้ดวย
้
 ผูนามีความสามารถในการไขว่คว้าโอกาสก่อนที่ผอื่นจะเห็น และ
้
ู้
มีความรวดเร็วในการจัดเตรียมทรัพยากร เพื่อสร้างโอกาสความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน





สรุป ผูนาสร้างได้ เกิดจากการฝึ กฝนตนเอง และใช้ระยะเวลา
้
ยาวนาน ทุกคนมีศกยภาพในการพัฒนาให้เป็ นผูนาได้
ั
้
ภาวะผูนาเกิดจากความรับผิดชอบให้ดีที่สุดต่อสถานการณ์ที่
้
เกิดขึ้น เมื่อมีแนวคิดแบบผูนา มีพฤติกรรมแบบผูนา มีความ
้
้
รับผิดชอบโดยไม่บิดพลิ้ว และไม่กล่าวโทษผูอื่น
้
โอกาสก็เป็ นของคุณแล้ว
Chinese proverb
กฏของภาวะผู้นำ The laws of leadership

More Related Content

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

กฏของภาวะผู้นำ The laws of leadership

  • 2. by Brian Tracy: Berrett-Koehler Publishers, Inc., San Francisco, 2000
  • 3. กฏของภาวะผูนา ้  ภาวะผูนา เป็ นปั จจัยสูงสุด ที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จ ้ หรือล้มเหลว ในสภาวะของธุรกิจที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง  ภาวะผูนาได้มีการกล่าวถึงมาตั้งแต่ยุคโบราณ ยังคงมีอยูใน ้ ่ โรงเรียนด้านการทหาร วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย มีการสอนใน โรงเรียนด้านธุรกิจ และมีการฝึ กอบรมอยูทุกเมื่อเชื่อวัน ่  ผูนาสร้างได้ ไม่ได้เป็ นมาแต่กาเนิด บุคคลเป็ นผูนาได้เมื่อ ้ ้ สถานการณ์เรียกร้อง คุณก็เป็ นผูนาได้ เมื่อได้รบการฝึ กฝนให้มี ้ ั พฤติกรรมเช่นเดียวกับผูนาที่เคยประสบความสาเร็จมาก่อน ้  ภาวะผูนาเป็ นทักษะที่ตองเรียนรูและฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ ้ ้ ้
  • 4.       1. The Law of Integrity 2. The Law of Courage 3. The Law of Realism 4. The Law of Power 5. The Law of Ambition 6. The Law of Optimism       7. The Law of Empathy 8. The Law of Resilience 9. The Law of Independence 10. The Law of Emotional Maturity 11. The Law of Superb Execution 12. The Law of Foresight
  • 5. 1. กฏของคุณธรรม  คุณสมบัตผนาข้อแรกคือ ความซื่อสัตย์ มีความจริงใจกับทุกคน ิ ู้ และทุกสถานการณ์  การมีคณธรรมเป็ นแก่นของภาวะผูนา การกระทาและคาพูดที่มี ุ ้ ต่อผูอื่น จะแสดงความเป็ นตัวตนของผูนา ดังนั้น ผูนาควรเป็ น ้ ้ ้ แบบอย่างทีดี มีการปฏิบตที่เสมอต้นเสมอปลาย ไม่ว่าต่อหน้า ่ ั ิ หรือลับหลัง  ผูนาที่ดี คือผูที่บุคลากรให้ความไว้วางใจได้ และการที่ผคนให้ ้ ้ ู้ ความเชื่อถือ เพราะเขาเป็ นคนรักษาคาพูด
  • 6. 2. กฏของความกล้าหาญ  ความสามารถในการตัดสินใจและมีการกระทาอย่างกล้าหาญ ใน สถานการณ์วิกฤตหรือเลวร้าย แม้ไม่มีอะไรเป็ นประกันว่าจะประสบ ความสาเร็จ เป็ นความยิงใหญ่ของผูนา ่ ้  การกล้าออกมาเผชิญเหตุ ไม่ได้หมายความว่าไม่กลัว แต่เป็ นผูที่ ้ สามารถควบคุมความกลัวได้  ความกลัวการล้มเหลว หรือกลัวถูกวิพากษ์วิจารณ์ในทางไม่ดี เป็ น อุปสรรคใหญ่ ทาให้ไม่กล้า แต่ผนาที่ยงใหญ่ลวนแต่เคยประสบความ ู้ ิ่ ้ ล้มเหลวและถูกติฉินนินทามาแล้วทั้งนั้น แต่พวกเขานาความล้มเหลว มาเป็ นบทเรียน และเรียนรูที่จะทาตัวอยูเหนือคานินทาว่าร้าย ้ ่  ธุรกิจที่ยงใหญ่ประสบความสาเร็จได้ตองกล้าเสี่ยง ในสิ่งที่ผอื่นไม่กล้า ิ่ ้ ู้
  • 7. 3. กฏของความจริง  ผูนามองโลกและจัดการตามความเป็ นจริง ไม่ใช่ตามความปรารถนา ้ ที่อยากจะให้เป็ น  เขารูตวดีว่าไม่ได้เป็ นคนสมบูรณ์แบบ และไม่ตองการเป็ นเหมือนใคร ้ ั ้ รูจดอ่อนของตนเองดี และมีพฤติกรรมเพื่อชดเชยจุดอ่อนนั้น เขาไม่ ุ้ ต้องการความสมบูรณ์แบบ และสามารถยกโทษให้ตนเองได้เมื่อเกิด ความผิดพลาด  ผูนามีการวิเคราะห์ตนเองอย่างซื่อสัตย์ ว่าอะไรคือจุดแข็งและจุดอ่อน ้ (จุดแข็งทาให้คณมาได้เป็ นจนถึงทุกวันนี้ จุดอ่อนคือความเร็วที่ ุ กาหนดให้คณประสบความสาเร็จ) ุ  อย่ามัวเสียใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต ปั จจุบนคือความจริง เป็ นสิ่งที่เรา ั สามารถควบคุมได้ดวยตนเอง ้
  • 8. 4. กฏของอานาจ  อานาจ คือ มีความสามารถในการมอบให้ได้ซึ่ง คน เงิน และ ทรัพยากร ซึ่งถ้ามีการใช้อานาจอย่างมีประสิทธิผล สามารถทาให้ บรรลุผลที่ตองการได้ ้  อานาจมาได้ 4 หนทาง คือ 1.) อานาจของผูเชี่ยวชาญ (expert ้ power) 2.) อานาจของบุคคล (personal power)เกิดจากความชื่นชม เป็ นที่รกและเคารพ 3.) อานาจจากตาแหน่งหน้าที่ (position power) ั 4.) อานาจจากการยอมรับ (ascribed power)  อานาจมีพ้ ืนฐานจากการพึ่งพากัน ที่ทาให้ผอื่นยินดีให้ความช่วยเหลือ ู้ อย่างเต็มใจ เนื่องจากเคยช่วยเหลือเขามาก่อน  ยิงถ้าคุณมีความสามารถในการสร้างผลงานที่ดี อานาจ อิทธิพล และ ่ ความรับผิดชอบ จะมีมากขึ้น
  • 9. 5. กฏของความทะเยอทะยาน  ผูนาต้องมีความปรารถนาที่จะนา มีวิสยทัศน์เพื่ออนาคตที่ดีกว่า ้ ั และมุ่งมั ่นทาให้เกิดขึ้น  การมีวิสยทัศน์เป็ นเรืองจาเป็ นของผูนา เพราะผูนาต้องอธิบาย ั ่ ้ ้ ภาพในอนาคตได้อย่างชัดเจน และสื่อสารให้ผอื่นให้เข้าใจได้ ู้ เพื่อเกิดเป็ นแรงบันดาลใจ  ผูนาต้องมีความชัดเจนในเรื่อง วิสยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ ้ ั เป้ าประสงค์ แผนงาน และกลยุทธ์ของหน่วยงานหรือองค์กร  เหนือสิ่งอื่นใด ผูนาต้องมีความปรารถนาในการนา มีความ ้ รับผิดชอบ แสดงความรับผิดชอบ และสร้างสิ่งต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น
  • 10. 6. กฏของการมองในแง่ดี  ผูนาที่แท้จริงแสดงความมั ่นใจว่า สามารถไปถึงเป้ าหมาย และ ้ สามารถฟั นฝ่ าอุปสรรคต่าง ๆ ได้ ที่ทาให้ผคนเกิดความเชื่อได้ว่า ู้ สามารถทาได้จริง  ผูมองโลกในแง่ดี จะบอกว่า ‘ทาได้’ เขามองทุกสถานการณ์ในแง่ ้ บวกเสมอ เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ดีก็ยงบอกว่า เป็ นเรื่องดี มอง ั วิกฤตให้เป็ นโอกาส ความผิดพลาดถือว่าเป็ นบทเรียน มองไปใน อนาคตมากกว่าอดีต ไม่เพ่งโทษ พยายามคิดว่าจะทาอย่างไรจึง ให้ผลออกมาดี มองแนวทางแก้ปัญหามากว่าตัวปั ญหา
  • 11. 7. กฏของความมีน้ าใจ  ผูนามีความอ่อนไหวต่อความต้องการ ความรูสึก แรงบันดาลใจ ้ ้ ปฏิกิริยาสนองตอบของผูคน มีการให้เวลากับการตัดสินใจที่มี ้ ผลกระทบต่อผูอื่น ้  ผูนาเป็ นผูฟังที่ดี ฟั งอย่างตั้งใจ ฟั งให้เข้าใจความหมายที่บุคคล ้ ้ ต้องการสื่อ น้อมรับเสียงสะท้อนกลับ กลับการตัดสินใจได้ถามี ้ ข้อมูลสารสนเทศใหม่ และมีความอ่อนตัว  ทุกคนต้องการมีความรูสึกที่ดี ๆ ผูนาจึงพยายามหาทางชื่นชม ้ ้ ชมเชย ให้การยอมรับ และใช้แรงกระตุนทางบวก กับบุคลากร ้
  • 12. 8. กฏของความยืดหยุน ่  ผูนาต้องลุกขึ้นต่อสูกบความล้มเหลวได้ ้ ้ั  การตอบสนองอย่างมีประสิทธิผล ต่อความล้มเหลวหรือวิกฤต เป็ นลักษณะที่ผนาพึงมี ู้  เมื่อมีบางสิ่งบางอย่างผิดพลาด ผูคนจะมองไปที่ผนา ว่าจะมี ้ ู้ แนวทางตอบสนองอย่างไร พฤติกรรมของผูนาในสภาวการณ์ที่ ้ เลวร้าย เป็ นตัวบ่งบอกความเป็ นตัวตนขององค์กร  เมื่อมีขอผิดพลาด ให้อยูในความสงบ หายใจเข้าลึก ๆ พยายาม ้ ่ รวบรวมข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และตัดสินใจในสิ่งที่คิดว่าถูกต้อง
  • 13. 9. กฏของความเป็ นอิสระ  ผูนารูตวตนเองดี สามารถคิดได้เอง ในเรืองค่านิยม เป้ าประสงค์ และ ้ ้ ั ่ พันธกิจส่วนตัว  ผูนายืนหยัดในค่านิยม คือ คุณธรรมและความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะ ้ เกิดเรื่องราวในเรื่องใด ๆ  ผูนามีการรับฟั งความเห็นจากผูอื่น แต่การตัดสินใจเป็ นเรื่องของตน ้ ้  ผูนาจะไม่ปกป้ องตนเอง มีความรับผิดชอบ ไม่แก้ตว ไม่กล่าวโทษ ้ ั ผูอื่น ไม่เสียใจ (เมื่อถูกวิจารณ์ เมื่อมีผไม่เห็นด้วย หรือผลลัพธ์ที่กลับ ้ ู้ กลายไม่ได้ดั ่งใจ)  ผูนารูและยอมรับจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง ยอมรับผูอื่น ไม่ ้ ้ ้ ตัดสินหรือประณามผูอื่น มีการสร้างมาตรฐานของตนเองและรักษา ้ มาตรฐานนั้นไว้ ไม่เปรียบเทียบกับผูอื่น โดยทาให้ดทสุดที่ตนทาได้ ้ ี ี่
  • 14. 10. กฏของความมีวุฒิภาวะทางอารมณ์  ผูนามีความสงบ เยือกเย็น และมีความนิ่ง (calm, cool, and ้ controlled) เมื่อต้องผจญกับสภาวะของปั ญหา ความยากลาบาก และผลเลวร้าย  วุฒิภาวะเกิดจากมีสนติภาพและความสงบสุขในตน ั  เมื่อต้องประสบกับสิ่งเลวร้ายหรือความยากลาบาก ผูนาตระหนัก ้ ดีว่า เมื่อทาในสิ่งที่ดีที่สุดแล้ว อะไรจะเกิดก็ชั ่งมัน  บุคคลที่มีวุฒิภาวะ รูว่าเมื่อใดควรตัดสินใจ เมื่อใดให้ปล่อยไว้ ้ ก่อน เพราะมีความมั ่นคงทั้งในจิตใจและร่างกาย  การมีสติและใจเย็น จะกระทาการใด ๆ ก็มีประสิทธิผล
  • 15. 11. กฏของการทาให้สาเร็จที่เป็ นเลิศ  ผูนามุ่งมั ่นในการทาให้สาเร็จที่เป็ นเลิศ และรูว่าความเป็ นเลิศคือ ้ ้ การเดินทาง ไม่ใช่จดหมายปลายทาง (excellence is a journey, ุ not a destination)  ผูนาเป็ นผูใฝ่ รู ้ พยายามทาตนให้มีความก้าวหน้าขึ้นไปอีก มีการ ้ ้ อ่าน เข้าอบรมหลักสูตรเพิ่มเติม ฟั งความรูเ้ มื่ออยูบนรถยนต์ เข้า ่ ร่วมประชุมสัมนาและจดสิ่งสาคัญไว้  ผูนาคิดถึงอนาคตและสมรรถนะหลักที่ตองการ ในการทาให้งาน ้ ้ ประสบความสาเร็จ มีการวางแผนงาน เพื่อสร้างสมรรถนะหลัก ไว้ล่วงหน้า และคิดถึงชัยชนะตลอดเวลา
  • 16. 12. กฏของการมองล่วงหน้า  ผูนามีความสามารถในการทานายและร่วมสร้างอนาคต ้  การมองการณ์ไกล เกิดจากความสามารถในการวิเคราะห์ สถานการณ์ในปั จจุบน ทาให้สามารถทานายสิ่งที่จะเกิดได้อย่าง ั แม่นยา ผูนาที่ดีจะเตรียมความพร้อมสูอนาคต และเตรียมรับมือ ้ ่ กับสิ่งที่ไม่ได้คาดคิดล่วงหน้าไว้ดวย ้  ผูนามีความสามารถในการไขว่คว้าโอกาสก่อนที่ผอื่นจะเห็น และ ้ ู้ มีความรวดเร็วในการจัดเตรียมทรัพยากร เพื่อสร้างโอกาสความ ได้เปรียบในการแข่งขัน
  • 17.    สรุป ผูนาสร้างได้ เกิดจากการฝึ กฝนตนเอง และใช้ระยะเวลา ้ ยาวนาน ทุกคนมีศกยภาพในการพัฒนาให้เป็ นผูนาได้ ั ้ ภาวะผูนาเกิดจากความรับผิดชอบให้ดีที่สุดต่อสถานการณ์ที่ ้ เกิดขึ้น เมื่อมีแนวคิดแบบผูนา มีพฤติกรรมแบบผูนา มีความ ้ ้ รับผิดชอบโดยไม่บิดพลิ้ว และไม่กล่าวโทษผูอื่น ้ โอกาสก็เป็ นของคุณแล้ว