SlideShare a Scribd company logo
สรุปรายงาน
การจัดเวทีเสวนา เรื่อง “ส่องอนาคตตลาดทุเรียนส่งออกไทย”
ดาเนินการโดย
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
ร่วมกับสถาบันคลังสมองของชาติ
เมื่อวันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2562 เวลา 13:00 – 16:30 น.
ณ ห้องประชุมแคนนา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
ข้อประเด็นสู่เวทีการสัมมนา
ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีประเทศไทย มำเลเชีย อินโดนิเชีย
และฟิลิปปินส์ เป็นแหล่งผลิตที่สำคัญ ปัจจุบันมีกำรขยำยกำรปลูกไปยังตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย อเมริกำใต้
และในแอฟริกำ (Suhana Safari et al., 2018) ข้อมูลจำก DGMR (Durian Global Market Report) (2018) ระบุ
ว่ำปริมำณอุปทำนผลผลิตทุเรียนของโลกในปี พ.ศ. 2559 มีจำนวน 1.6 ล้ำนตัน อุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนมีใกล้เคียง
กับอุปทำน โดยมีอุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนในตลำดกำรค้ำระหว่ำงประเทศ ประมำณร้อยละ 30 ของปริมำณอุปสงค์
รวม หรือประมำณ 0.44 ล้ำนตันในปี พ.ศ. 2559 อย่ำงไรก็ตำม กำรขยำยตัวของกำรบริโภคทุเรียนในประเทศจีน
ในช่วงทศวรรษที่ผ่ำนมำ ได้ส่งผลต่อกำรนำเข้ำทุเรียนของประเทศจีนเพิ่มมำกขึ้นอย่ำงก้ำวกระโดด เพิ่มขึ้นกว่ำ 3
เท่ำตัวจำกกำรนำเข้ำ 0.106 ล้ำนตันเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2548-2550 ได้เพิ่มขึ้นเป็น 0.336 ล้ำนตันเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2557-
2559 ส่งผลต่อตลำดกำรค้ำและกำรส่งออกไปยังประเทศจีน พร้อมกับกำรยกระดับรำคำทุเรียนในตลำดส่งออกให้
ปรับตัวสูงขึ้นและรวมถึงกำรส่งผ่ำนรำคำไปยังระดับสวน สร้ำงควำมตื่นตัวให้กับเกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่และ
ขยำยกำรผลิตทุเรียนเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ว
กำรปรับตัวของรำคำทุเรียนที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งในระดับสวนและตลำดส่งออกในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ ด้ำนหนึ่งเห็น
ว่ำได้สร้ำงแรงกระตุ้นให้เกิดกำรขยำยตัวของกำรผลิตภำยในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตหลัก (ไทย มำเลเชีย อินโดนีเชีย
และฟิลิปปินส์) และแหล่งผลิตใหม่อย่ำงเช่น ในประเทศกัมพูชำ เวียดนำม และพม่ำ ซึ่งอุปทำนที่ขยำยตัวนี้ยังไม่น่ำ
วิตกนัก เพรำะมีตลำดนำเข้ำจำกจีนรองรับอุปทำนส่วนเกินที่เพิ่มขึ้น อีกทั้ง กำรบริโภคทุเรียนต่อหัวของประชำกรจีน
(per capita durian consumption) ยังอยู่ในระดับต่ำ มีอัตรำกำรขยำยตัวได้อีกถึงร้อยละ 13 ต่อปี (DGMR, 2018)
อีกทั้ง กำรเพิ่มขึ้นของประชำกรชั้นกลำงในจีนจะก่อให้เกิดกำรขยำยตัวในกำรบริโภคทุเรียนและส่งผลต่อกำรขยำยตัว
ของกำรนำเข้ำเพิ่มสูงขึ้นจำกปริมำณที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเช่นกัน กล่ำวคือ ตลำดกำรค้ำทุเรียนระหว่ำงประเทศสำมำรถ
รองรับกับกำรขยำยตัวจำกอุปทำนที่มีเพิ่มขึ้น กำรผลิตทุเรียนจึงน่ำจะเป็นไม้ผลควำมหวังใหม่ที่จะยกระดับรำยได้และ
สร้ำงควำมมั่งคั่งให้กับภำคกำรเกษตร ดังจะเห็นได้ว่ำประเทศมำเลเชียมีกำรกำหนดแผนงำนส่งเสริมให้ทุเรียนเป็น
แหล่งควำมมั่งคั่งของภำคกำรเกษตรในทศวรรษข้ำงหน้ำ (Suhana Safari et al, 2018)
ในอีกด้ำนหนึ่ง มีควำมเห็นว่ำกำรขยำยพื้นที่เพำะปลูกไปพร้อมๆ กับอุปทำนผลผลิตทุเรียนที่เพิ่มขึ้นอำจจะ
สร้ำงปัญหำกับเกษตรกรในอนำคต เนื่องจำกปัจจุบันตลำดนำเข้ำทุเรียนรำยใหญ่หรือประมำณเกือบร้อยละ 80 ผูกติด
อยู่กับตลำดกำรบริโภคทุเรียนของจีนเพียงประเทศเดียว ซึ่งพฤติกรรมและควำมชื่นชอบสินค้ำทุเรียนขึ้นอยู่กับ
คุณลักษณะจำเพำะ ทั้งกลิ่น สี รสชำติควำมอร่อย และเป็นที่นิยม ก็จะส่งผลต่อกำรขยำยตัวของควำมต้องกำรบริโภค
ตำมมำ นอกจำกนี้ กฎระเบียบเกี่ยวกับมำตรฐำนของสินค้ำทุเรียนและควำมปลอดภัยในห่วงโซ่กำรผลิตของประเทศ
ผู้นำเข้ำจะเป็นทั้งโอกำสและอุปสรรคที่สำคัญต่อประเทศผู้ผลิต ขึ้นอยู่กับกำรปรับตัวของเกษตรกรในประเทศผู้ผลิต
และรวมถึงมำตรกำรกำรจัดกำรของภำครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดกระบวนกำรผลิตที่ดี (Good Agricultural Practice)
ผลิตสินค้ำได้มำตรฐำนควำมปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ดังนั้น กำรขยำยตัวของแหล่งผลิตและ
อุปทำนผลผลิตทุเรียนจะสร้ำงควำมเสี่ยงกับเกษตรกร โดยเฉพำะเกษตรกรรำยย่อยที่ยังขำดทักษะกำรจัดกำรธุรกิจ
ฟำร์ม เพื่อให้ก้ำวทันกับตลำดและมำตรกำรกฎกติกำทำงกำรค้ำที่เป็นพลวัต นอกจำกนี้ หำกเกิดกำรเปลี่ยนแปลงใน
อุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนไปในทิศทำงที่ชะลอตัวลงอันเนื่องจำกปัจจัยที่ไม่คำดคิดมำก่อน ย่อมจะส่งผลกระทบต่อกำร
ปรับตัวลงของรำคำทุเรียนทั้งในระดับตลำดส่งออกและระดับสวน อันจะส่งผลกระทบต่อภำคกำรผลิตทุเรียนใน
ประเทศนั้นๆ ตำมมำ
ดังที่กล่ำวข้ำงต้น แม้ว่ำที่ผ่ำนมำทุเรียนได้ก้ำวขึ้นมำเป็นไม้ผลส่งออกลำดับหนึ่งของไทย แต่กำรบริหำร
จัดกำรเกี่ยวกับตลำดส่งออกทุเรียนของไทยยังขำดข้อควำมรู้และแนวทำงมำตรกำรเพื่อสร้ำงกำรขับเคลื่อนเชิงรุกใน
กำรขยำยโอกำสทำงกำรค้ำ และรวมถึงกำรจัดกำรควำมเสี่ยงกับข้อปัญหำต่ำงๆ ที่พึงจะเกิดขึ้นในอนำคตอันเนื่องจำก
ควำมเป็นพลวัตของตลำดกำรค้ำ อำทิ ในปัจจุบันเริ่มมีคู่แข่งสำคัญทั้งด้ำนพันธุ์จำกมำเลเซีย กอปรในปัจจุบันประเทศ
จีนได้อนุญำตให้มำเลเซียสำมำรถส่งออกทุเรียนสดเข้ำประเทศได้ จึงกล่ำวได้ว่ำ ประเทศผู้นำเข้ำหลักอย่ำงจีนมีช่อง
ทำงกำรนำเข้ำได้หลำกหลำยขึ้น อีกทั้ง พบว่ำมำตรกำรเชิงนโยบำยที่ได้กำหนดขึ้นโดยภำครัฐทั้งในอดีตและที่กำลัง
ดำเนินกำรอยู่ในปัจจุบัน มีกำรแก้ปัญหำที่ยังขำดกำรวิเครำะห์บนฐำนของข้อเท็จจริง ส่งผลให้เกิดช่องว่ำงของ
ประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรตลำดส่งออกทุเรียนทั้งในปัจจุบันและในอนำคต อำจนำมำซึ่งกำรเสียโอกำสของ
ประเทศ และในหลำยกรณีนำมำซึ่งข้อปัญหำทั้งในระดับมหภำคและในระดับเกษตรกร
สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)1 ร่วมกับสถำบันคลังสมองของชำติ
ได้ร่วมจัดเวทีเสวนำเรื่อง “ส่องอนาคตตลาดทุเรียนส่งออกไทย” ในครั้งนี้ เพื่อเป็นเวทีสำหรับภำคีหุ้นส่วนในโซ่
อุปทำนกำรผลิต กำรค้ำ และกำรส่งออกทุเรียนไทยได้มำแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิชำกำรอำวุโส เพื่อให้ข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะถึงสถำนกำรณ์ในอนำคตที่คำดว่ำจะเกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อกำรจัดทำข้อเสนอเชิง
นโยบำยให้กับภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ได้ช่วยพัฒนำตลำดส่งออกทุเรียนของไทย ตลอดจนมำตรกำรเฝ้ำระวัง
เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนำคตต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นเวทีในกำรแลกเปลี่ยนข้อควำมเห็นเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ตลำดทุเรียนไทยทั้งในปัจจุบันและในอนำคต
2. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบำยสนับสนุนให้เกิดกำรพัฒนำในโซ่อุปทำนผลไม้ทุเรียนไทยสู่ควำมยั่งยืน
3. เพื่อพัฒนำและยกระดับเครือข่ำยควำมร่วมมือระหว่ำงภำคีหุ้นส่วนในห่วงโซ่อุปทำนทุเรียนส่งออกไทย
4. เพื่อพัฒนำโจทย์วิจัยด้ำนกำรผลิตและกำรตลำดทุเรียนเพื่อกำรส่งออกของไทย
5. เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนประกอบกำรจัดทำและกำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์และแผนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัย
และนวัตกรรมของประเทศ
1
เป็นหน่วยงำนที่จัดทำและกำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์ และแผนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้มีเอกภำพและ
เป็นระบบ ตลอดจนมีหน้ำที่จัดสรรงบประมำณให้แก่หน่วยงำนในระบบวิทยำศำสตร์ ตำมประกำศรำชกิจจำนุเบกษำเรื่อง
“พระรำชบัญญัติสภำนโยบำยกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๖๒” เมื่อวันที่ 1 พฤษภำคม 2562
ผู้เข้าร่วมประชุม
มีผู้สนใจเข้ำร่วมประชุมจำนวน 94 ท่ำน ประกอบด้วย เกษตรกร ผู้ประกอบกำรในโซ่อุปทำนส่งออกทุเรียน
หน่วยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน นักวิชำกำร และนักสื่อสำรมวลชน
ลักษณะการจัดประชุม
หลังจำกกล่ำวต้อนรับผู้เข้ำร่วมงำนเสวนำและเปิดงำนโดย ท่ำนผู้อำนวยกำรฝ่ำยเกษตร สกสว. รศ.ดร.ธงชัย
สุวรรณสิชณน์
ในช่วงแรก จะเป็นกำรร่วมเสวนำและให้มุมมองในประเด็น “ส่องอนำคตตลำดทุเรียนไทย” โดย วิทยำกร
ผู้เชี่ยวชำญ 4 ท่ำน อันได้แก่ ดร.วรชาติ ดุลยเสถียร ผู้เชี่ยวชำญกำรจัดกำรโซ่อุปทำนด้ำนเกษตร CLMV
คุณ.อรทัย เอื้อตระกูล อดีตผู้เชี่ยวชำญด้ำนระบบนำเข้ำส่งออกสินค้ำเกษตรและปัจจัยกำรผลิต กรมวิชำกำรเกษตร
รศ.ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำกำรค้ำระหว่ำงประเทศ คณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัย
หอกำรค้ำไทย และ คุณเปรม ณ สงขลา บรรณำธิกำรบริหำร นิตยสำรเคหกำรเกษตร ดำเนินรำยกำรโดย
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชำกำรอำวุโสและผู้ประสำนงำน
ในช่วงที่สอง จะเป็นกำรเปิดเวทีแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ตลำดทุเรียนไทยทั้งในปัจจุบันและ
ในอนำคตและแนวทำงจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบำยสนับสนุนให้เกิดกำรพัฒนำในโซ่อุปทำนผลไม้ทุเรียนไทยสู่ควำม
ยั่งยืน ดำเนินรำยกำรโดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอาไพ ผู้อำนวยกำรสถำบันคลังสมองของชำติ
สรุปและปิดงำนเสวนำ โดย ท่ำนผู้อำนวยกำรฝ่ำยเกษตร สกสว.
สรุปประเด็นสาคัญจากเวทีเสวนา
ตลำดส่งออกทุเรียนหลักของประเทศไทยที่สำคัญ คือ ประเทศจีน ซึ่งโอกำสกำรขยำยตัวของอุปสงค์กำร
บริโภคยังมีมำกกว่ำอุปทำนกำรผลิต แต่ทั้งนี้ประเทศผู้ผลิตทุเรียนอื่นๆ อำทิ มำเลเซีย เริ่มขยำยตลำดโดยลงทุนทำ
ประชำสัมพันธ์ สร้ำงภำพลักษณ์ให้กับ ทุเรียน มูซำนคิง (Mu Sang King) พร้อมกันนี้ รัฐบำลมำเลเซียได้มีนโยบำย
และแผนที่ชัดเจน ที่จะสนับสนุนกำรผลิต กำรสร้ำงมำตรฐำน และกำรตลำด ผ่ำนกำรดำเนินงำนของ The Federal
Agricultural Marketing Authority หรือ FAMA
ด้วยลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ระบบกำรจัดกำรส่งสินค้ำ หรือ โลจิสติกส์ เป็นข้อจำกัดในกำรส่งออกของไทย
เพรำะกำรขนส่งทำงบกจะต้องอำศัยกำรขนส่งผ่ำนพรมแดนประเทศลำว ก่อนส่งต่อไปยังตลำดในประเทศจีน และแม้
ทุเรียนหมอนทองที่ผลิตในเวียดนำมจะมีคุณภำพสู้ทุเรียนหมอนทองของไทยไม่ได้ แต่เวียดนำมมีข้อได้เปรียบทำงด้ำน
ท่ำเรือ ที่สำมำรถขนส่งสินค้ำไปยังจีนได้โดยตรงและประหยัดเวลำกว่ำ รวมถึงกำรมีพรมแดนที่ติดกับประเทศจีน
ส่งผลให้มีควำมได้เปรียบในกำรทำ Cross border trade นอกจำกนี้ จีนได้เข้ำมำลงทุนปลูกทุเรียน ในกัมพูชำและ
เมียร์มำร์ ซึ่งเชื่อว่ำจะเพิ่มอุปทำนในตลำดส่วนหนึ่งได้ในอนำคต ดังนั้น ควำมร่วมมือและกำรเจรจำกำรค้ำในอำเซียน
จึงเป็นเรื่องสำคัญที่รัฐบำลไทยจะต้องคำนึงถึง อีกทั้ง กฎระเบียบและกติกำของไทยเอง ยังเป็นข้อจำกัดใหญ่ในกำร
ขยำยช่องทำงกำรตลำดกำรส่งออกทุเรียนของไทย
สินค้ำทุเรียน สำมำรถแยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ สินค้ำที่ผลิตเป็นปริมำณมำก (Mass product) และ
สินค้ำที่มีควำมจำเพำะ (Niche product) มีอัตลักษณ์เฉพำะถิ่น สำมำรถเพิ่มมูลค่ำให้กับสินค้ำได้ แต่กำรรักษำ
คุณภำพยังเป็นสิ่งสำคัญของทั้งสองกลุ่มสินค้ำนี้ โดยเฉพำะกำรดูแลรักษำคุณภำพในระดับต้นน้ำ เป็นสิ่งสำคัญมำก
ที่สุด หำกไทยไม่สำมำรถผลิตทุเรียนที่มีคุณภำพ มีกำรปลอมปนและกำรตัดทุเรียนอ่อน ซึ่งถึงแม้ไทยจะผลิตทุเรียนได้
ปริมำณตำมควำมต้องกำรของตลำด แต่จะไม่สำมำรถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ นอกจำกนี้ กำรรวมกลุ่มของเกษตรกร
สร้ำงควำมเข้มแข็งในระดับพื้นที่เพื่อควบคุมคุณภำพมำตรฐำนจึงเป็นสิ่งสำคัญ
นอกจำกนี้ กฎและมำตรฐำนกำรค้ำของจีนมีกำรพัฒนำต่อเนื่องตลอดเวลำ เช่น พิธีสำรและระเบียบว่ำด้วย
กำรตรวจสอบกำรนำเข้ำ (AQSIQ) กฎหมำยเกี่ยวกับ E-commerce ที่จีนได้นำมำใช้กำกับดูแลกำรขำยทุเรียน
online รวมถึงกำรพัฒนำสู่ระบบ Single window เพื่ออำนวยควำมสะดวกทำงด้ำนศุลกำกร กำรตรวจสอบคุณภำพ
และ “กำรตรวจสอบย้อนกลับ”อย่ำงเป็นระบบ ได้เป็นเครื่องมือสำคัญในกำรกำกับคุณภำพ มำตรฐำนและควำม
ปลอดภัยของสินค้ำทุเรียน เพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและป้องกันกำรปนเปื้อนของโรคแมลงที่มำกับผลไม้
เข้ำมำแพร่ระบำดภำยในประเทศ ซึ่งผู้ผลิต ผู้ค้ำและผู้ส่งออก รวมถึงหน่วยงำนภำครัฐของไทยต้องมีกำรปรับตัวให้เท่ำ
ทันกับควำมเป็นพลวัตและสถำนกำรณ์
ปัจจุบัน จีนเริ่มมีกำรสนับสนุนนโยบำยกำรทำกำรเกษตรสีเขียว (Green agriculture) ดังนั้น กำรสนับสนุน
กำรผลิตทุเรียนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม น่ำจะช่วยสนับสนุนกำรส่งออกไปยังตลำดประเทศจีน โดยเฉพำะกำรผลิต
ทุเรียนของเกษตรกรในพื้นที่ป่ำหรือพื้นที่ที่ไม่มีเอกสำรสิทธิ์
ทำงด้ำนวิชำกำร ประเทศไทยแม้จะมีกำรศึกษำวิจัยเกี่ยวกับโรคแมลงที่สร้ำงควำมเสี่ยงและควำมเสียหำยใน
กำรผลิตทุเรียนไว้ในระดับหนึ่งก็ตำม แต่ปัญหำเกี่ยวกับควำมเสี่ยงเนื่องจำกปรำกฎกำรณ์ภำวะโลกร้อน ควำมแห้งแล้ง
และภัยธรรมชำติ ยังมีจำกัด นอกจำกนี้ประเทศไทยยังขำดแผนยุทธศำสตร์ในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งทั้งด้ำนกำรผลิต
และกำรค้ำให้กับสินค้ำทุเรียน ทั้งในรูปทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็ง และรวมถึงผลิตภัณฑ์แปรรูปจำกทุเรียนยังขำดควำม
ชัดเจนในแผนงำน กำรพัฒนำงำนวิจัยที่จะสร้ำงนวัตกรรมยังมีอยู่น้อย
แม้ปัจจุบัน ประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งออกทุเรียนเป็นลำดับหนึ่งของโลกแต่พบว่ำยังขำดกำรจัดทำฐำนข้อมูล
ปริมำณกำรผลิตและควำมต้องกำรทุเรียน หรือ Balance sheet ทั้งของไทยและประเทศเพื่อนบ้ำน เพื่อทรำบถึง
สถำนะของประเทศไทยเองและสถำนะของประเทศคู่แข่ง รวมถึงใช้ประกอบกำรวำงแผนกำรผลิตและกำรตลำดใน
อนำคต อีกทั้ง งำนวิจัยด้ำน Value chain ของทุเรียนไทย ยังมีข้อควำมรู้จำกัด ในเวทีได้มีกำรนำเสนอให้มีกำรจัดตั้ง
มูลนิธิสถำบันวิจัยและพัฒนำทุเรียนไทย เพื่อให้เกิดควำมคล่องตัวในกำรพัฒนำงำนวิจัยในด้ำนกำรผลิต กำรตลำด
และกำรสร้ำงเครือข่ำยให้เกิดควำมเข้มแข็งร่วมกันในภำคี หรือหำกเป็นไปได้ควรให้มีกำรจัดตั้งกองทุนพัฒนา
อุตสาหกรรมทุเรียนไทย โดยให้ทุกภำคส่วนในโซ่อุปทำนได้เข้ำมำมีบทบำท ควรให้ภำคีผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้ใช้
ประโยชน์ เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำโจทย์วิจัย จะสนับสนุนให้เกิดกำรใช้ประโยชน์และสร้ำงผลกระทบในกำร
ลงทุนวิจัยได้ในอนำคต
กำรสร้ำง “ภำพในอนำคตของทุเรียนไทย” ควรจะเป็นอย่ำงไรมีทิศทำงแบบไหน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควร
จะต้องพิจำรณำแล้วร่วมมือกันวำงแผนดำเนินกำร เพื่อให้ภำพดังกล่ำวเด่นชัดและสำมำรถเกิดขึ้นได้จริง
สรุปโดย สำนักประสำนงำน “งำนวิจัยเชิงนโยบำยเกษตรและเสริมสร้ำงเครือข่ำยงำนวิจัยเชิงนโยบำย”
สถำบันคลังสมองของชำติ วันที่ 18 มิถุนำยน 2562

More Related Content

Similar to Summary dhurain

Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiativesrattapol
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
shm-nstda
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010CPMO e-News Jan 2010
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
Satapon Yosakonkun
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4Wichai Likitponrak
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to Summary dhurain (20)

Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 
V 254
V 254V 254
V 254
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
59 ssh e news
59 ssh e news59 ssh e news
59 ssh e news
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
 
CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010CPMO e-News Jan 2010
CPMO e-News Jan 2010
 
E news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-finalE news-agritec-july-2018-final
E news-agritec-july-2018-final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
 
โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4
 
V 288
V 288V 288
V 288
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
 

More from Pattie Pattie

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
670501 global health program for executives
670501 global health program for executives670501 global health program for executives
670501 global health program for executives
Pattie Pattie
 
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
Pattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
Pattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
Pattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
Pattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
Pattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
Pattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
Pattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
Pattie Pattie
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
Pattie Pattie
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
Pattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
Pattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
Pattie Pattie
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
Pattie Pattie
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
Pattie Pattie
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
Pattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
670501 global health program for executives
670501 global health program for executives670501 global health program for executives
670501 global health program for executives
 
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 

Recently uploaded

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

Summary dhurain

  • 1. สรุปรายงาน การจัดเวทีเสวนา เรื่อง “ส่องอนาคตตลาดทุเรียนส่งออกไทย” ดาเนินการโดย สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ร่วมกับสถาบันคลังสมองของชาติ เมื่อวันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน 2562 เวลา 13:00 – 16:30 น. ณ ห้องประชุมแคนนา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร ข้อประเด็นสู่เวทีการสัมมนา ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีประเทศไทย มำเลเชีย อินโดนิเชีย และฟิลิปปินส์ เป็นแหล่งผลิตที่สำคัญ ปัจจุบันมีกำรขยำยกำรปลูกไปยังตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย อเมริกำใต้ และในแอฟริกำ (Suhana Safari et al., 2018) ข้อมูลจำก DGMR (Durian Global Market Report) (2018) ระบุ ว่ำปริมำณอุปทำนผลผลิตทุเรียนของโลกในปี พ.ศ. 2559 มีจำนวน 1.6 ล้ำนตัน อุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนมีใกล้เคียง กับอุปทำน โดยมีอุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนในตลำดกำรค้ำระหว่ำงประเทศ ประมำณร้อยละ 30 ของปริมำณอุปสงค์ รวม หรือประมำณ 0.44 ล้ำนตันในปี พ.ศ. 2559 อย่ำงไรก็ตำม กำรขยำยตัวของกำรบริโภคทุเรียนในประเทศจีน ในช่วงทศวรรษที่ผ่ำนมำ ได้ส่งผลต่อกำรนำเข้ำทุเรียนของประเทศจีนเพิ่มมำกขึ้นอย่ำงก้ำวกระโดด เพิ่มขึ้นกว่ำ 3 เท่ำตัวจำกกำรนำเข้ำ 0.106 ล้ำนตันเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2548-2550 ได้เพิ่มขึ้นเป็น 0.336 ล้ำนตันเฉลี่ยในปี พ.ศ. 2557- 2559 ส่งผลต่อตลำดกำรค้ำและกำรส่งออกไปยังประเทศจีน พร้อมกับกำรยกระดับรำคำทุเรียนในตลำดส่งออกให้ ปรับตัวสูงขึ้นและรวมถึงกำรส่งผ่ำนรำคำไปยังระดับสวน สร้ำงควำมตื่นตัวให้กับเกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่และ ขยำยกำรผลิตทุเรียนเพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ว กำรปรับตัวของรำคำทุเรียนที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งในระดับสวนและตลำดส่งออกในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ ด้ำนหนึ่งเห็น ว่ำได้สร้ำงแรงกระตุ้นให้เกิดกำรขยำยตัวของกำรผลิตภำยในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตหลัก (ไทย มำเลเชีย อินโดนีเชีย และฟิลิปปินส์) และแหล่งผลิตใหม่อย่ำงเช่น ในประเทศกัมพูชำ เวียดนำม และพม่ำ ซึ่งอุปทำนที่ขยำยตัวนี้ยังไม่น่ำ วิตกนัก เพรำะมีตลำดนำเข้ำจำกจีนรองรับอุปทำนส่วนเกินที่เพิ่มขึ้น อีกทั้ง กำรบริโภคทุเรียนต่อหัวของประชำกรจีน (per capita durian consumption) ยังอยู่ในระดับต่ำ มีอัตรำกำรขยำยตัวได้อีกถึงร้อยละ 13 ต่อปี (DGMR, 2018) อีกทั้ง กำรเพิ่มขึ้นของประชำกรชั้นกลำงในจีนจะก่อให้เกิดกำรขยำยตัวในกำรบริโภคทุเรียนและส่งผลต่อกำรขยำยตัว ของกำรนำเข้ำเพิ่มสูงขึ้นจำกปริมำณที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเช่นกัน กล่ำวคือ ตลำดกำรค้ำทุเรียนระหว่ำงประเทศสำมำรถ รองรับกับกำรขยำยตัวจำกอุปทำนที่มีเพิ่มขึ้น กำรผลิตทุเรียนจึงน่ำจะเป็นไม้ผลควำมหวังใหม่ที่จะยกระดับรำยได้และ สร้ำงควำมมั่งคั่งให้กับภำคกำรเกษตร ดังจะเห็นได้ว่ำประเทศมำเลเชียมีกำรกำหนดแผนงำนส่งเสริมให้ทุเรียนเป็น แหล่งควำมมั่งคั่งของภำคกำรเกษตรในทศวรรษข้ำงหน้ำ (Suhana Safari et al, 2018) ในอีกด้ำนหนึ่ง มีควำมเห็นว่ำกำรขยำยพื้นที่เพำะปลูกไปพร้อมๆ กับอุปทำนผลผลิตทุเรียนที่เพิ่มขึ้นอำจจะ สร้ำงปัญหำกับเกษตรกรในอนำคต เนื่องจำกปัจจุบันตลำดนำเข้ำทุเรียนรำยใหญ่หรือประมำณเกือบร้อยละ 80 ผูกติด อยู่กับตลำดกำรบริโภคทุเรียนของจีนเพียงประเทศเดียว ซึ่งพฤติกรรมและควำมชื่นชอบสินค้ำทุเรียนขึ้นอยู่กับ คุณลักษณะจำเพำะ ทั้งกลิ่น สี รสชำติควำมอร่อย และเป็นที่นิยม ก็จะส่งผลต่อกำรขยำยตัวของควำมต้องกำรบริโภค
  • 2. ตำมมำ นอกจำกนี้ กฎระเบียบเกี่ยวกับมำตรฐำนของสินค้ำทุเรียนและควำมปลอดภัยในห่วงโซ่กำรผลิตของประเทศ ผู้นำเข้ำจะเป็นทั้งโอกำสและอุปสรรคที่สำคัญต่อประเทศผู้ผลิต ขึ้นอยู่กับกำรปรับตัวของเกษตรกรในประเทศผู้ผลิต และรวมถึงมำตรกำรกำรจัดกำรของภำครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดกระบวนกำรผลิตที่ดี (Good Agricultural Practice) ผลิตสินค้ำได้มำตรฐำนควำมปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ดังนั้น กำรขยำยตัวของแหล่งผลิตและ อุปทำนผลผลิตทุเรียนจะสร้ำงควำมเสี่ยงกับเกษตรกร โดยเฉพำะเกษตรกรรำยย่อยที่ยังขำดทักษะกำรจัดกำรธุรกิจ ฟำร์ม เพื่อให้ก้ำวทันกับตลำดและมำตรกำรกฎกติกำทำงกำรค้ำที่เป็นพลวัต นอกจำกนี้ หำกเกิดกำรเปลี่ยนแปลงใน อุปสงค์กำรบริโภคทุเรียนไปในทิศทำงที่ชะลอตัวลงอันเนื่องจำกปัจจัยที่ไม่คำดคิดมำก่อน ย่อมจะส่งผลกระทบต่อกำร ปรับตัวลงของรำคำทุเรียนทั้งในระดับตลำดส่งออกและระดับสวน อันจะส่งผลกระทบต่อภำคกำรผลิตทุเรียนใน ประเทศนั้นๆ ตำมมำ ดังที่กล่ำวข้ำงต้น แม้ว่ำที่ผ่ำนมำทุเรียนได้ก้ำวขึ้นมำเป็นไม้ผลส่งออกลำดับหนึ่งของไทย แต่กำรบริหำร จัดกำรเกี่ยวกับตลำดส่งออกทุเรียนของไทยยังขำดข้อควำมรู้และแนวทำงมำตรกำรเพื่อสร้ำงกำรขับเคลื่อนเชิงรุกใน กำรขยำยโอกำสทำงกำรค้ำ และรวมถึงกำรจัดกำรควำมเสี่ยงกับข้อปัญหำต่ำงๆ ที่พึงจะเกิดขึ้นในอนำคตอันเนื่องจำก ควำมเป็นพลวัตของตลำดกำรค้ำ อำทิ ในปัจจุบันเริ่มมีคู่แข่งสำคัญทั้งด้ำนพันธุ์จำกมำเลเซีย กอปรในปัจจุบันประเทศ จีนได้อนุญำตให้มำเลเซียสำมำรถส่งออกทุเรียนสดเข้ำประเทศได้ จึงกล่ำวได้ว่ำ ประเทศผู้นำเข้ำหลักอย่ำงจีนมีช่อง ทำงกำรนำเข้ำได้หลำกหลำยขึ้น อีกทั้ง พบว่ำมำตรกำรเชิงนโยบำยที่ได้กำหนดขึ้นโดยภำครัฐทั้งในอดีตและที่กำลัง ดำเนินกำรอยู่ในปัจจุบัน มีกำรแก้ปัญหำที่ยังขำดกำรวิเครำะห์บนฐำนของข้อเท็จจริง ส่งผลให้เกิดช่องว่ำงของ ประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรตลำดส่งออกทุเรียนทั้งในปัจจุบันและในอนำคต อำจนำมำซึ่งกำรเสียโอกำสของ ประเทศ และในหลำยกรณีนำมำซึ่งข้อปัญหำทั้งในระดับมหภำคและในระดับเกษตรกร สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)1 ร่วมกับสถำบันคลังสมองของชำติ ได้ร่วมจัดเวทีเสวนำเรื่อง “ส่องอนาคตตลาดทุเรียนส่งออกไทย” ในครั้งนี้ เพื่อเป็นเวทีสำหรับภำคีหุ้นส่วนในโซ่ อุปทำนกำรผลิต กำรค้ำ และกำรส่งออกทุเรียนไทยได้มำแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิชำกำรอำวุโส เพื่อให้ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะถึงสถำนกำรณ์ในอนำคตที่คำดว่ำจะเกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อกำรจัดทำข้อเสนอเชิง นโยบำยให้กับภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ได้ช่วยพัฒนำตลำดส่งออกทุเรียนของไทย ตลอดจนมำตรกำรเฝ้ำระวัง เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนำคตต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นเวทีในกำรแลกเปลี่ยนข้อควำมเห็นเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ตลำดทุเรียนไทยทั้งในปัจจุบันและในอนำคต 2. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบำยสนับสนุนให้เกิดกำรพัฒนำในโซ่อุปทำนผลไม้ทุเรียนไทยสู่ควำมยั่งยืน 3. เพื่อพัฒนำและยกระดับเครือข่ำยควำมร่วมมือระหว่ำงภำคีหุ้นส่วนในห่วงโซ่อุปทำนทุเรียนส่งออกไทย 4. เพื่อพัฒนำโจทย์วิจัยด้ำนกำรผลิตและกำรตลำดทุเรียนเพื่อกำรส่งออกของไทย 5. เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนประกอบกำรจัดทำและกำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์และแผนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัย และนวัตกรรมของประเทศ 1 เป็นหน่วยงำนที่จัดทำและกำหนดนโยบำย ยุทธศำสตร์ และแผนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้มีเอกภำพและ เป็นระบบ ตลอดจนมีหน้ำที่จัดสรรงบประมำณให้แก่หน่วยงำนในระบบวิทยำศำสตร์ ตำมประกำศรำชกิจจำนุเบกษำเรื่อง “พระรำชบัญญัติสภำนโยบำยกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๖๒” เมื่อวันที่ 1 พฤษภำคม 2562
  • 3. ผู้เข้าร่วมประชุม มีผู้สนใจเข้ำร่วมประชุมจำนวน 94 ท่ำน ประกอบด้วย เกษตรกร ผู้ประกอบกำรในโซ่อุปทำนส่งออกทุเรียน หน่วยงำนภำครัฐ ภำคเอกชน นักวิชำกำร และนักสื่อสำรมวลชน ลักษณะการจัดประชุม หลังจำกกล่ำวต้อนรับผู้เข้ำร่วมงำนเสวนำและเปิดงำนโดย ท่ำนผู้อำนวยกำรฝ่ำยเกษตร สกสว. รศ.ดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน์ ในช่วงแรก จะเป็นกำรร่วมเสวนำและให้มุมมองในประเด็น “ส่องอนำคตตลำดทุเรียนไทย” โดย วิทยำกร ผู้เชี่ยวชำญ 4 ท่ำน อันได้แก่ ดร.วรชาติ ดุลยเสถียร ผู้เชี่ยวชำญกำรจัดกำรโซ่อุปทำนด้ำนเกษตร CLMV คุณ.อรทัย เอื้อตระกูล อดีตผู้เชี่ยวชำญด้ำนระบบนำเข้ำส่งออกสินค้ำเกษตรและปัจจัยกำรผลิต กรมวิชำกำรเกษตร รศ.ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำกำรค้ำระหว่ำงประเทศ คณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัย หอกำรค้ำไทย และ คุณเปรม ณ สงขลา บรรณำธิกำรบริหำร นิตยสำรเคหกำรเกษตร ดำเนินรำยกำรโดย รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชำกำรอำวุโสและผู้ประสำนงำน ในช่วงที่สอง จะเป็นกำรเปิดเวทีแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ตลำดทุเรียนไทยทั้งในปัจจุบันและ ในอนำคตและแนวทำงจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบำยสนับสนุนให้เกิดกำรพัฒนำในโซ่อุปทำนผลไม้ทุเรียนไทยสู่ควำม ยั่งยืน ดำเนินรำยกำรโดย รศ.ดร.พีรเดช ทองอาไพ ผู้อำนวยกำรสถำบันคลังสมองของชำติ สรุปและปิดงำนเสวนำ โดย ท่ำนผู้อำนวยกำรฝ่ำยเกษตร สกสว.
  • 4. สรุปประเด็นสาคัญจากเวทีเสวนา ตลำดส่งออกทุเรียนหลักของประเทศไทยที่สำคัญ คือ ประเทศจีน ซึ่งโอกำสกำรขยำยตัวของอุปสงค์กำร บริโภคยังมีมำกกว่ำอุปทำนกำรผลิต แต่ทั้งนี้ประเทศผู้ผลิตทุเรียนอื่นๆ อำทิ มำเลเซีย เริ่มขยำยตลำดโดยลงทุนทำ ประชำสัมพันธ์ สร้ำงภำพลักษณ์ให้กับ ทุเรียน มูซำนคิง (Mu Sang King) พร้อมกันนี้ รัฐบำลมำเลเซียได้มีนโยบำย และแผนที่ชัดเจน ที่จะสนับสนุนกำรผลิต กำรสร้ำงมำตรฐำน และกำรตลำด ผ่ำนกำรดำเนินงำนของ The Federal Agricultural Marketing Authority หรือ FAMA ด้วยลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ระบบกำรจัดกำรส่งสินค้ำ หรือ โลจิสติกส์ เป็นข้อจำกัดในกำรส่งออกของไทย เพรำะกำรขนส่งทำงบกจะต้องอำศัยกำรขนส่งผ่ำนพรมแดนประเทศลำว ก่อนส่งต่อไปยังตลำดในประเทศจีน และแม้ ทุเรียนหมอนทองที่ผลิตในเวียดนำมจะมีคุณภำพสู้ทุเรียนหมอนทองของไทยไม่ได้ แต่เวียดนำมมีข้อได้เปรียบทำงด้ำน ท่ำเรือ ที่สำมำรถขนส่งสินค้ำไปยังจีนได้โดยตรงและประหยัดเวลำกว่ำ รวมถึงกำรมีพรมแดนที่ติดกับประเทศจีน ส่งผลให้มีควำมได้เปรียบในกำรทำ Cross border trade นอกจำกนี้ จีนได้เข้ำมำลงทุนปลูกทุเรียน ในกัมพูชำและ เมียร์มำร์ ซึ่งเชื่อว่ำจะเพิ่มอุปทำนในตลำดส่วนหนึ่งได้ในอนำคต ดังนั้น ควำมร่วมมือและกำรเจรจำกำรค้ำในอำเซียน จึงเป็นเรื่องสำคัญที่รัฐบำลไทยจะต้องคำนึงถึง อีกทั้ง กฎระเบียบและกติกำของไทยเอง ยังเป็นข้อจำกัดใหญ่ในกำร ขยำยช่องทำงกำรตลำดกำรส่งออกทุเรียนของไทย สินค้ำทุเรียน สำมำรถแยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ สินค้ำที่ผลิตเป็นปริมำณมำก (Mass product) และ สินค้ำที่มีควำมจำเพำะ (Niche product) มีอัตลักษณ์เฉพำะถิ่น สำมำรถเพิ่มมูลค่ำให้กับสินค้ำได้ แต่กำรรักษำ คุณภำพยังเป็นสิ่งสำคัญของทั้งสองกลุ่มสินค้ำนี้ โดยเฉพำะกำรดูแลรักษำคุณภำพในระดับต้นน้ำ เป็นสิ่งสำคัญมำก ที่สุด หำกไทยไม่สำมำรถผลิตทุเรียนที่มีคุณภำพ มีกำรปลอมปนและกำรตัดทุเรียนอ่อน ซึ่งถึงแม้ไทยจะผลิตทุเรียนได้ ปริมำณตำมควำมต้องกำรของตลำด แต่จะไม่สำมำรถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ นอกจำกนี้ กำรรวมกลุ่มของเกษตรกร สร้ำงควำมเข้มแข็งในระดับพื้นที่เพื่อควบคุมคุณภำพมำตรฐำนจึงเป็นสิ่งสำคัญ นอกจำกนี้ กฎและมำตรฐำนกำรค้ำของจีนมีกำรพัฒนำต่อเนื่องตลอดเวลำ เช่น พิธีสำรและระเบียบว่ำด้วย กำรตรวจสอบกำรนำเข้ำ (AQSIQ) กฎหมำยเกี่ยวกับ E-commerce ที่จีนได้นำมำใช้กำกับดูแลกำรขำยทุเรียน online รวมถึงกำรพัฒนำสู่ระบบ Single window เพื่ออำนวยควำมสะดวกทำงด้ำนศุลกำกร กำรตรวจสอบคุณภำพ และ “กำรตรวจสอบย้อนกลับ”อย่ำงเป็นระบบ ได้เป็นเครื่องมือสำคัญในกำรกำกับคุณภำพ มำตรฐำนและควำม ปลอดภัยของสินค้ำทุเรียน เพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและป้องกันกำรปนเปื้อนของโรคแมลงที่มำกับผลไม้ เข้ำมำแพร่ระบำดภำยในประเทศ ซึ่งผู้ผลิต ผู้ค้ำและผู้ส่งออก รวมถึงหน่วยงำนภำครัฐของไทยต้องมีกำรปรับตัวให้เท่ำ ทันกับควำมเป็นพลวัตและสถำนกำรณ์ ปัจจุบัน จีนเริ่มมีกำรสนับสนุนนโยบำยกำรทำกำรเกษตรสีเขียว (Green agriculture) ดังนั้น กำรสนับสนุน กำรผลิตทุเรียนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม น่ำจะช่วยสนับสนุนกำรส่งออกไปยังตลำดประเทศจีน โดยเฉพำะกำรผลิต ทุเรียนของเกษตรกรในพื้นที่ป่ำหรือพื้นที่ที่ไม่มีเอกสำรสิทธิ์ ทำงด้ำนวิชำกำร ประเทศไทยแม้จะมีกำรศึกษำวิจัยเกี่ยวกับโรคแมลงที่สร้ำงควำมเสี่ยงและควำมเสียหำยใน กำรผลิตทุเรียนไว้ในระดับหนึ่งก็ตำม แต่ปัญหำเกี่ยวกับควำมเสี่ยงเนื่องจำกปรำกฎกำรณ์ภำวะโลกร้อน ควำมแห้งแล้ง และภัยธรรมชำติ ยังมีจำกัด นอกจำกนี้ประเทศไทยยังขำดแผนยุทธศำสตร์ในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งทั้งด้ำนกำรผลิต และกำรค้ำให้กับสินค้ำทุเรียน ทั้งในรูปทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็ง และรวมถึงผลิตภัณฑ์แปรรูปจำกทุเรียนยังขำดควำม ชัดเจนในแผนงำน กำรพัฒนำงำนวิจัยที่จะสร้ำงนวัตกรรมยังมีอยู่น้อย
  • 5. แม้ปัจจุบัน ประเทศไทยจะเป็นผู้ส่งออกทุเรียนเป็นลำดับหนึ่งของโลกแต่พบว่ำยังขำดกำรจัดทำฐำนข้อมูล ปริมำณกำรผลิตและควำมต้องกำรทุเรียน หรือ Balance sheet ทั้งของไทยและประเทศเพื่อนบ้ำน เพื่อทรำบถึง สถำนะของประเทศไทยเองและสถำนะของประเทศคู่แข่ง รวมถึงใช้ประกอบกำรวำงแผนกำรผลิตและกำรตลำดใน อนำคต อีกทั้ง งำนวิจัยด้ำน Value chain ของทุเรียนไทย ยังมีข้อควำมรู้จำกัด ในเวทีได้มีกำรนำเสนอให้มีกำรจัดตั้ง มูลนิธิสถำบันวิจัยและพัฒนำทุเรียนไทย เพื่อให้เกิดควำมคล่องตัวในกำรพัฒนำงำนวิจัยในด้ำนกำรผลิต กำรตลำด และกำรสร้ำงเครือข่ำยให้เกิดควำมเข้มแข็งร่วมกันในภำคี หรือหำกเป็นไปได้ควรให้มีกำรจัดตั้งกองทุนพัฒนา อุตสาหกรรมทุเรียนไทย โดยให้ทุกภำคส่วนในโซ่อุปทำนได้เข้ำมำมีบทบำท ควรให้ภำคีผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้ใช้ ประโยชน์ เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำโจทย์วิจัย จะสนับสนุนให้เกิดกำรใช้ประโยชน์และสร้ำงผลกระทบในกำร ลงทุนวิจัยได้ในอนำคต กำรสร้ำง “ภำพในอนำคตของทุเรียนไทย” ควรจะเป็นอย่ำงไรมีทิศทำงแบบไหน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควร จะต้องพิจำรณำแล้วร่วมมือกันวำงแผนดำเนินกำร เพื่อให้ภำพดังกล่ำวเด่นชัดและสำมำรถเกิดขึ้นได้จริง สรุปโดย สำนักประสำนงำน “งำนวิจัยเชิงนโยบำยเกษตรและเสริมสร้ำงเครือข่ำยงำนวิจัยเชิงนโยบำย” สถำบันคลังสมองของชำติ วันที่ 18 มิถุนำยน 2562