SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
สท. ร่วมนำเสนอผลงำนวิจัยและนวัตกรรมด้ำนเกษตรของ
สวทช. ในงำน “Thai Tech Expo 2018 : เทคโนโลยีพร้อมใช้ พัฒนา
ไทยยั่งยืน” เมื่อวันที่ 4 –8 กรกฎำคม 2561 ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำร
ประชุมไบเทค บำงนำ เป็นกิจกรรมนำเสนอผลงำนด้ำนวิทยำศำสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนบริกำรต่ำงๆ ของหน่วยงำนภำยใน
สังกัดกระทรวงและเครือข่ำย ที่สอดรับกับกำรพัฒนำประเทศเข้ำสู่
ไทยแลนด์ 4.0>
สท. ได้นำเทคโนโลยี ผลงำนวิจัยและนวัตกรรมด้ำนกำรเกษตร
ร่วมแสดงในโซนเทคโนโลยีเพื่อเกษตรยุคใหม่ ได้แก่ เทคโนโลยี
โรงเรือนอัจฉริยะ ผลงำนวิจัย และพัฒนำโดยศูนย์เทคโนโลยีไมโคร
อิเล็กทรอนิกส์ ที่พัฒนำระบบเซนเซอร์ควบคุมปัจจัยกำรปลูกพืชโดย
อัตโนมัติ ได้แก่ อุณหภูมิ ควำมชื้น ควำมชื้นในดิน และแสง เทคโนโลยี
โรงเรือนพลาสติกสาหรับการผลิตพืชคุณภาพ ที่มีระบบไหลเวียน
อำกำศภำยในโรงเรือนที่เหมำะสมต่อกำรปลูกพืช รวมถึงกำรบริหำร
จัดกำรในโรงเรือนทั้งดิน น้ำ ปุ๋ย ที่เหมำะสม ช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผัก
ได้ตลอดปี เทคโนโลยีสารชีวภัณฑ์กาจัดแมลงศัตรูพืช อำทิ รำบิวเวอ
เรีย ไวรัสเอ็นพีวี และเทคโนโลยีอื่นๆ ได้แก่ Active>PAK บรรจุภัณฑ์
หำยใจได้ กำรผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง ซึ่งได้รับควำมสนใจจำก
ผู้ร่วมงำน โดยมีเกษตรกร/ผู้ประกอบกำรเกษตรสอบถำมข้อมูลเพื่อนำไป
ประยุกต์ใช้ในพื้นที่เกษตรของตน เช่น วิธีกำรผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิก
กลับกอง กำรบริหำรจัดกำรดิน น้ำ ปุ๋ย และดูแลรักษำพืชในระบบ
โรงเรือน รวมถึงกำรใช้เทคโนโลยีเซนเซอร์ในกำรบริหำรจัดกำรแปลง
ปลูกพืช
สท. ร่วมงาน “Thai Tech EXPO 2018 : เทคโนโลยีพร้อมใช้ พัฒนาไทยยั่งยืน”
21
กรกฎาคม 2561
1
นอกจำกนี้ภำยในงำน ยังมีโซนกิจกรรมจำกหน่วยงำนต่ำงๆ อำทิ โซน Thailand Tech Show 2018 สวทช. โซน
นิทรรศกำรเทิดพระเกียรติ "พระบิดำแห่งเทคโนโลยีของไทย” โซนเทคโนโลยีเพื่ออุตสำหกรรม และ SMEs โซนเทคโนโลยี
เพื่อคุณภำพชีวิต โซนตลำดนัดวิถีวิทย์ โซน STI for OTOP Upgrade และโซนนวัตกรรมเด่น (Hi-Light นวัตกรรม) เป็นต้น
การถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย
การยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสับปะรด
จังหวัดลำปำง เป็นแหล่งผลิตสับปะรดอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทยเพื่อส่งโรงงำนและบริโภคผลสด โดยช่วงปี
2557-2559 รำคำสับปะรดสูงเป็นประวัติกำรณ์ ทำให้เกิดแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมำปลูกสับปะรดเพิ่มมำกขึ้น อีกทั้ง
เกษตรกรที่ปลูกสับปะรดอยู่แล้วก็ขยำยพื้นที่ปลูกเพิ่มอีกหลำยเท่ำตัวทั่วประเทศไทย เมื่อผลผลิตออกสู่ท้องตลำด
ในปริมำณที่มำกเกินควำมต้องกำรของโรงงำนและกำรบริโภค จึงทำให้รำคำตกต่ำ เป็นปัญหำของเกษตรกรอย่ำง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้ ปี 2561 จังหวัดลำปำงมีนโยบำยช่วยเหลือ สนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดทั้งระยะสั้นและระยะ
ยำว ตำมแผนยุทธศำสตร์ด้ำนเกษตรของจังหวัดลำปำง ประกอบด้วย 4 งำนหลัก คือ
1. กำรปลูกสับปะรดปลอดภัยแปลงใหญ่
2. กำรปลูกสับปะรดนอกฤดูกำล
3. กำรพัฒนำปรับเปลี่ยนสำยพันธุ์ที่ตลำดมีควำมต้องกำรสูง
4. กำรส่งเสริมด้ำนกำรตลำด ด้วยกำรสร้ำงแบรนด์หรือตรำสัญลักษณ์สินค้ำสับปะรดของลำปำง
สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลาปาง จัดกิจกรรมถ่ำยทอดเทคโนโลยี
“การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย และการยืดอายุการ
เก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค” ณ ศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (ศพก.) ต.บุนนำคพัฒนำ อ.เมือง
จ.ลำปำง โดยมีเกษตรกรผู้ผลิตสับปะรดแปลงใหญ่ เข้ำร่วม 73 รำย
21
กรกฎาคม 2561
2
ภำยหลังกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีเกษตรกร นำองค์ควำมรู้ที่ได้ไปใช้ในกำรจัดกำรแปลง ตลอดจนกำรผลิตสับปะรดตัดแต่ง
สำมำรถจำหน่ำยได้ทั้งตลำดออนไลน์ และตลำดท้องถิ่น เช่น”We:Market ลำปำง ช่วยเพิ่มช่องทำงและสร้ำงมูลค่ำให้กับ
ผลิตภัณฑ์ได้มำกขึ้น ทั้งนี้ สวทช.ภำคเหนือ กำหนดแผนงำนเพื่อต่อยอดและเพิ่มศักยภำพกลุ่มผลิตสับปะรด จ.ลำปำง
ต่อไปอย่ำงเนื่องโดยมุ่งเน้น
1) ผลักดันให้เกิดศูนย์เรียนรู้กำรจัดกำรแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัยวิถีอินทรีย์
2) พัฒนำปรับปรุงพันธุ์สับปะรดที่เป็นเอกลักษณ์และผลักดันให้เกิด GI สับปะรดลำปำง ร่วมกับสถำบันวิจัย
เทคโนโลยีเกษตรลำปำง
3) ถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อสับปะรด เพื่อกำรผลิตสับปะรดคุณภำพนอกฤดูตลอดปี และเพื่อสร้ำง
ผู้ประกอบกำรเกษตรในพื้นที่ (ร่วมกับสถำบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตรลำปำง)
การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการแปลงสับปะรดปลอดภัย และการยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค
การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย
นายกฤษณะ สิทธิหาญ
เกษตรกรต้นแบบและประธำนกลุ่มสับปะรดแปลงใหญ่ลำปำง
ปลูกระยะชิด 1 แปลง มี 6 แถว เว้นช่องทำงเดิน 1 เมตร (กำรปลูกระยะชิด 6 แถว
ในพื้นที่ 1 ไร่ สำมำรถปลูกได้ 9,620 ต้น) กำรปลูกระยะชิดขึ้นทำให้วัชพืชน้อยลง กำรเว้นระยะ
ทำงเดินกว้ำงขึ้น ทำให้ใช้เครื่องตัดหญ้ำเข้ำไปกำจัดวัชพืชได้ง่ำยขึ้น รวมถึงกำรนำรถเข็นเข้ำไปเก็บ
ผลผลิต ลดต้นทุนกำรใช้สำรเคมีกำจัดวัชพืช และค่ำแรงคนงำนเก็บผลผลิต
การปลูกเว้นระยะชิดห่าง
ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในการทาเกษตร และเน้นการ
ปลูกสับปะรดแบบใหม่ คือ คลุมแปลงพลาสติก
ช่วยควบคุมควำมชื้นในดิน ป้องกันวัชพืช และสำมำรถบังคับออกดอกภำยใน 6 เดือน
เป็นกำรปลูกแบบประณีต ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
คลุมแปลงสับปะรดด้วยพลำสติก
หมวกสับปะรดจำกเศษป้ำยไวนิลเก่ำ
ทดแทนกำรจ้ำงแรงงำนห่อใบ
การดัดแปลงเครื่องมือเกษตร เพื่อลดต้นทุนการปลูก
เครื่องตัดหญ้ำแบบล้อเข็น เครื่องพ่นปุ๋ยแบบล้อเข็น เครื่องเจำะพลำสติก
3
สวทช. ภำคเหนือ ร่วมกับวิทยำลัยชุมชนตรำด และ ศวภ. 4 ถ่ำยทอดเทคโนโลยีให้กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จำก
สับปะรดพื้นที่บ้ำนเนินดินแดง อ.เมือง จ.ตรำด เพื่อสร้ำงเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมที่พร้อมขยำยผลเทคโนโลยี ตลอดจน
สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับกลุ่มผู้ประกอบกำรสับปะรด เกิดทักษะต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่หลำกหลำย สร้ำงช่องทำง
กำรตลำดได้อย่ำงกว้ำงขวำง
การยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค
ผศ.ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์
มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง
กิจกรรมการแปรรูปสับปะรดเป็น สับปะรดอบแห้ง ซอสคาว ซอสหวาน เพื่อเพิ่มมูลค่า
4
เตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ด้วยอิฐทนไฟ เป็น
เตำที่พัฒนำต่อยอดจำกเตำชีวมวลชุมชนปกติ โดย
ออกแบบห้องเผำไหม้ใหม่พร้อมกรุด้วยอิฐทนไฟ
ในห้องเผำไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพและยืดอำยุ
กำรใช้งำน ซึ่งเตำที่ออกแบบใหม่นี้มีขนำดเส้นผ่ำน
ศูนย์กลำงห้องเผำไหม้ 14.2 เซนติเมตร และมี
ควำมสูงของห้องเผำไหม้เท่ำกับ 31.7 เซนติเมตร
จำกกำรทดสอบเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้
ด้วยอิฐทนไฟ พบว่ำ มีประสิทธิภำพทำงควำมร้อน
23.14% เมื่อเทียบกับเตำชีวมวลแบบเดิมที่ไม่ได้กรุ
ห้องเผำซึ่งมีประสิทธิภำพเพียง 16.40% และหำก
ใช้เป็นประจำทุกวันจะสำมำรถประหยัดเชื้อเพลิง
ได้ถึงประมำณ 1,400 กิโลกรัมต่อปี หรือคิดเป็น
มูลค่ำ 14,000 บำท (กรณีใช้ถ่ำนเป็นเชื้อเพลิง
และคิดรำคำที่กิโลกรัมละ 10 บำท)
จุดเด่น
- ประสิทธิภำพสูงกว่ำเตำแก๊สชีวมวลแบบ
ธรรมดำกว่ำ 40%
- อำยุกำรใช้งำนยำวนำนกว่ำเตำแก๊สชีวมวลแบบ
ธรรมดำมำกกว่ำ 2 เท่ำ
- หำกนำมำใช้แทนเตำอังโล่ โดยใช้เป็นประจำ
ทุกวัน สำมำรถคืนทุนได้ภำยใน 6 เดือน
เหมาะสาหรับ
- ชุมชนที่มีชีวมวลเหลือใช้ในพื้นที่และยังใช้เตำ
อังโล่ในกำรประกอบอำหำร ซึ่งมีช่ำงประจำชุมชน
ที่มีทักษะและอุปกรณ์กำรตัดเชื่อมขึ้นรูปโลหะ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) หรือ
องค์กรที่สนับสนุนส่งเสริมกำรใช้พลังงำนทดแทน
ในชุมชน
ศูนย์เรียนรู้และขยายผลเทคโนโลยีเตาชีวมวลกรุห้องเผาไหม้ด้วยอิฐทนไฟ
5
21
กรกฎาคม 2561
ในปี 2560 สำขำวิชำเทคโนโลยีพลังงำน
คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏ
กำแพงเพชร ซึ่งมีศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีพลังงำน
ทดแทน มีควำมสนใจรับกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยี
ดังกล่ำว เพื่อสร้ำงบุคลำกำรแกนนำ เจ้ำหน้ำที่
ส่งเสริมและเป็นศูนย์เรียนรู้และขยำยผลกำรผลิต
เตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ด้วยอิฐทนไฟ ให้ชุมชน
ในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชรและใกล้เคียง จึงได้ร่วม
จัดกิจกรรมอบรมสร้ำงบุคลำกรแกนนำและศูนย์
เรียนรู้กำรผลิตเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ประสิทธิ-
ภำพสูงม.รำชภัฏกำแพงเพชร ขึ้น
หลังจำกที่ได้รับกำรอบรมถ่ำยทอด
เทคโนโลยีแล้ว ทำงศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีพลังงำน
ทดแทน สำขำเทคโนโลยีพลังงำน คณะเทคโนโลยี
อุตสำหกรรม ม.รำชภัฏกำแพงเพชร ได้ฝึกฝน
ประสบกำรณ์กำรผลิตเตำจนมีควำมชำนำญ และ
ได้ดำเนินกำรบริกำรวิชำกำรจัดกิจกรรมแนะนำ
สำธิตและอบรมกำรผลิตเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้
ด้วยอิฐทนไฟ ให้เครือข่ำยชุมชนในพื้นที่ที่ได้
เดินทำงมำศึกษำดูงำนที่ศูนย์ฯ ในปี 2561”และมี
แผนที่จะขยำยผลเพิ่มเติมอย่ำงต่อเนื่อง ในปี 2562
ผู้เรียบเรียง นายพันธวัฒน์ ไชยวรรณ์
6

More Related Content

Similar to E news-agritec-july-2018-final

พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 

Similar to E news-agritec-july-2018-final (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
 
E news-november-2017-final
E news-november-2017-finalE news-november-2017-final
E news-november-2017-final
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017หนังสือนิทรรศการ Nac2017
หนังสือนิทรรศการ Nac2017
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2562
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2561
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 

More from นางสาวขวัญธิดา ดงหลง (11)

E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-june-2018-final
E news-june-2018-finalE news-june-2018-final
E news-june-2018-final
 
E news-may-2018-final
E news-may-2018-finalE news-may-2018-final
E news-may-2018-final
 
E news-april-2018-final
E news-april-2018-finalE news-april-2018-final
E news-april-2018-final
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
Agritec book 2017
Agritec book 2017Agritec book 2017
Agritec book 2017
 
E news-march-2018-final
E news-march-2018-finalE news-march-2018-final
E news-march-2018-final
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 
E news-september-2017-final
E news-september-2017-finalE news-september-2017-final
E news-september-2017-final
 

E news-agritec-july-2018-final

  • 1. สท. ร่วมนำเสนอผลงำนวิจัยและนวัตกรรมด้ำนเกษตรของ สวทช. ในงำน “Thai Tech Expo 2018 : เทคโนโลยีพร้อมใช้ พัฒนา ไทยยั่งยืน” เมื่อวันที่ 4 –8 กรกฎำคม 2561 ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำร ประชุมไบเทค บำงนำ เป็นกิจกรรมนำเสนอผลงำนด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนบริกำรต่ำงๆ ของหน่วยงำนภำยใน สังกัดกระทรวงและเครือข่ำย ที่สอดรับกับกำรพัฒนำประเทศเข้ำสู่ ไทยแลนด์ 4.0> สท. ได้นำเทคโนโลยี ผลงำนวิจัยและนวัตกรรมด้ำนกำรเกษตร ร่วมแสดงในโซนเทคโนโลยีเพื่อเกษตรยุคใหม่ ได้แก่ เทคโนโลยี โรงเรือนอัจฉริยะ ผลงำนวิจัย และพัฒนำโดยศูนย์เทคโนโลยีไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ ที่พัฒนำระบบเซนเซอร์ควบคุมปัจจัยกำรปลูกพืชโดย อัตโนมัติ ได้แก่ อุณหภูมิ ควำมชื้น ควำมชื้นในดิน และแสง เทคโนโลยี โรงเรือนพลาสติกสาหรับการผลิตพืชคุณภาพ ที่มีระบบไหลเวียน อำกำศภำยในโรงเรือนที่เหมำะสมต่อกำรปลูกพืช รวมถึงกำรบริหำร จัดกำรในโรงเรือนทั้งดิน น้ำ ปุ๋ย ที่เหมำะสม ช่วยให้เกษตรกรปลูกพืชผัก ได้ตลอดปี เทคโนโลยีสารชีวภัณฑ์กาจัดแมลงศัตรูพืช อำทิ รำบิวเวอ เรีย ไวรัสเอ็นพีวี และเทคโนโลยีอื่นๆ ได้แก่ Active>PAK บรรจุภัณฑ์ หำยใจได้ กำรผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง ซึ่งได้รับควำมสนใจจำก ผู้ร่วมงำน โดยมีเกษตรกร/ผู้ประกอบกำรเกษตรสอบถำมข้อมูลเพื่อนำไป ประยุกต์ใช้ในพื้นที่เกษตรของตน เช่น วิธีกำรผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่พลิก กลับกอง กำรบริหำรจัดกำรดิน น้ำ ปุ๋ย และดูแลรักษำพืชในระบบ โรงเรือน รวมถึงกำรใช้เทคโนโลยีเซนเซอร์ในกำรบริหำรจัดกำรแปลง ปลูกพืช สท. ร่วมงาน “Thai Tech EXPO 2018 : เทคโนโลยีพร้อมใช้ พัฒนาไทยยั่งยืน” 21 กรกฎาคม 2561 1 นอกจำกนี้ภำยในงำน ยังมีโซนกิจกรรมจำกหน่วยงำนต่ำงๆ อำทิ โซน Thailand Tech Show 2018 สวทช. โซน นิทรรศกำรเทิดพระเกียรติ "พระบิดำแห่งเทคโนโลยีของไทย” โซนเทคโนโลยีเพื่ออุตสำหกรรม และ SMEs โซนเทคโนโลยี เพื่อคุณภำพชีวิต โซนตลำดนัดวิถีวิทย์ โซน STI for OTOP Upgrade และโซนนวัตกรรมเด่น (Hi-Light นวัตกรรม) เป็นต้น
  • 2. การถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย การยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสับปะรด จังหวัดลำปำง เป็นแหล่งผลิตสับปะรดอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทยเพื่อส่งโรงงำนและบริโภคผลสด โดยช่วงปี 2557-2559 รำคำสับปะรดสูงเป็นประวัติกำรณ์ ทำให้เกิดแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมำปลูกสับปะรดเพิ่มมำกขึ้น อีกทั้ง เกษตรกรที่ปลูกสับปะรดอยู่แล้วก็ขยำยพื้นที่ปลูกเพิ่มอีกหลำยเท่ำตัวทั่วประเทศไทย เมื่อผลผลิตออกสู่ท้องตลำด ในปริมำณที่มำกเกินควำมต้องกำรของโรงงำนและกำรบริโภค จึงทำให้รำคำตกต่ำ เป็นปัญหำของเกษตรกรอย่ำง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้ ปี 2561 จังหวัดลำปำงมีนโยบำยช่วยเหลือ สนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดทั้งระยะสั้นและระยะ ยำว ตำมแผนยุทธศำสตร์ด้ำนเกษตรของจังหวัดลำปำง ประกอบด้วย 4 งำนหลัก คือ 1. กำรปลูกสับปะรดปลอดภัยแปลงใหญ่ 2. กำรปลูกสับปะรดนอกฤดูกำล 3. กำรพัฒนำปรับเปลี่ยนสำยพันธุ์ที่ตลำดมีควำมต้องกำรสูง 4. กำรส่งเสริมด้ำนกำรตลำด ด้วยกำรสร้ำงแบรนด์หรือตรำสัญลักษณ์สินค้ำสับปะรดของลำปำง สวทช.ภาคเหนือ ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลาปาง จัดกิจกรรมถ่ำยทอดเทคโนโลยี “การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย และการยืดอายุการ เก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค” ณ ศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (ศพก.) ต.บุนนำคพัฒนำ อ.เมือง จ.ลำปำง โดยมีเกษตรกรผู้ผลิตสับปะรดแปลงใหญ่ เข้ำร่วม 73 รำย 21 กรกฎาคม 2561 2 ภำยหลังกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีเกษตรกร นำองค์ควำมรู้ที่ได้ไปใช้ในกำรจัดกำรแปลง ตลอดจนกำรผลิตสับปะรดตัดแต่ง สำมำรถจำหน่ำยได้ทั้งตลำดออนไลน์ และตลำดท้องถิ่น เช่น”We:Market ลำปำง ช่วยเพิ่มช่องทำงและสร้ำงมูลค่ำให้กับ ผลิตภัณฑ์ได้มำกขึ้น ทั้งนี้ สวทช.ภำคเหนือ กำหนดแผนงำนเพื่อต่อยอดและเพิ่มศักยภำพกลุ่มผลิตสับปะรด จ.ลำปำง ต่อไปอย่ำงเนื่องโดยมุ่งเน้น 1) ผลักดันให้เกิดศูนย์เรียนรู้กำรจัดกำรแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัยวิถีอินทรีย์ 2) พัฒนำปรับปรุงพันธุ์สับปะรดที่เป็นเอกลักษณ์และผลักดันให้เกิด GI สับปะรดลำปำง ร่วมกับสถำบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตรลำปำง 3) ถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อสับปะรด เพื่อกำรผลิตสับปะรดคุณภำพนอกฤดูตลอดปี และเพื่อสร้ำง ผู้ประกอบกำรเกษตรในพื้นที่ (ร่วมกับสถำบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตรลำปำง) การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการแปลงสับปะรดปลอดภัย และการยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค
  • 3. การจัดการแปลงเพื่อผลิตสับปะรดปลอดภัย นายกฤษณะ สิทธิหาญ เกษตรกรต้นแบบและประธำนกลุ่มสับปะรดแปลงใหญ่ลำปำง ปลูกระยะชิด 1 แปลง มี 6 แถว เว้นช่องทำงเดิน 1 เมตร (กำรปลูกระยะชิด 6 แถว ในพื้นที่ 1 ไร่ สำมำรถปลูกได้ 9,620 ต้น) กำรปลูกระยะชิดขึ้นทำให้วัชพืชน้อยลง กำรเว้นระยะ ทำงเดินกว้ำงขึ้น ทำให้ใช้เครื่องตัดหญ้ำเข้ำไปกำจัดวัชพืชได้ง่ำยขึ้น รวมถึงกำรนำรถเข็นเข้ำไปเก็บ ผลผลิต ลดต้นทุนกำรใช้สำรเคมีกำจัดวัชพืช และค่ำแรงคนงำนเก็บผลผลิต การปลูกเว้นระยะชิดห่าง ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในการทาเกษตร และเน้นการ ปลูกสับปะรดแบบใหม่ คือ คลุมแปลงพลาสติก ช่วยควบคุมควำมชื้นในดิน ป้องกันวัชพืช และสำมำรถบังคับออกดอกภำยใน 6 เดือน เป็นกำรปลูกแบบประณีต ปลอดภัยต่อผู้บริโภค คลุมแปลงสับปะรดด้วยพลำสติก หมวกสับปะรดจำกเศษป้ำยไวนิลเก่ำ ทดแทนกำรจ้ำงแรงงำนห่อใบ การดัดแปลงเครื่องมือเกษตร เพื่อลดต้นทุนการปลูก เครื่องตัดหญ้ำแบบล้อเข็น เครื่องพ่นปุ๋ยแบบล้อเข็น เครื่องเจำะพลำสติก 3
  • 4. สวทช. ภำคเหนือ ร่วมกับวิทยำลัยชุมชนตรำด และ ศวภ. 4 ถ่ำยทอดเทคโนโลยีให้กลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จำก สับปะรดพื้นที่บ้ำนเนินดินแดง อ.เมือง จ.ตรำด เพื่อสร้ำงเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมที่พร้อมขยำยผลเทคโนโลยี ตลอดจน สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับกลุ่มผู้ประกอบกำรสับปะรด เกิดทักษะต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่หลำกหลำย สร้ำงช่องทำง กำรตลำดได้อย่ำงกว้ำงขวำง การยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค ผศ.ดร.พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง กิจกรรมการแปรรูปสับปะรดเป็น สับปะรดอบแห้ง ซอสคาว ซอสหวาน เพื่อเพิ่มมูลค่า 4
  • 5. เตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ด้วยอิฐทนไฟ เป็น เตำที่พัฒนำต่อยอดจำกเตำชีวมวลชุมชนปกติ โดย ออกแบบห้องเผำไหม้ใหม่พร้อมกรุด้วยอิฐทนไฟ ในห้องเผำไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพและยืดอำยุ กำรใช้งำน ซึ่งเตำที่ออกแบบใหม่นี้มีขนำดเส้นผ่ำน ศูนย์กลำงห้องเผำไหม้ 14.2 เซนติเมตร และมี ควำมสูงของห้องเผำไหม้เท่ำกับ 31.7 เซนติเมตร จำกกำรทดสอบเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ ด้วยอิฐทนไฟ พบว่ำ มีประสิทธิภำพทำงควำมร้อน 23.14% เมื่อเทียบกับเตำชีวมวลแบบเดิมที่ไม่ได้กรุ ห้องเผำซึ่งมีประสิทธิภำพเพียง 16.40% และหำก ใช้เป็นประจำทุกวันจะสำมำรถประหยัดเชื้อเพลิง ได้ถึงประมำณ 1,400 กิโลกรัมต่อปี หรือคิดเป็น มูลค่ำ 14,000 บำท (กรณีใช้ถ่ำนเป็นเชื้อเพลิง และคิดรำคำที่กิโลกรัมละ 10 บำท) จุดเด่น - ประสิทธิภำพสูงกว่ำเตำแก๊สชีวมวลแบบ ธรรมดำกว่ำ 40% - อำยุกำรใช้งำนยำวนำนกว่ำเตำแก๊สชีวมวลแบบ ธรรมดำมำกกว่ำ 2 เท่ำ - หำกนำมำใช้แทนเตำอังโล่ โดยใช้เป็นประจำ ทุกวัน สำมำรถคืนทุนได้ภำยใน 6 เดือน เหมาะสาหรับ - ชุมชนที่มีชีวมวลเหลือใช้ในพื้นที่และยังใช้เตำ อังโล่ในกำรประกอบอำหำร ซึ่งมีช่ำงประจำชุมชน ที่มีทักษะและอุปกรณ์กำรตัดเชื่อมขึ้นรูปโลหะ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) หรือ องค์กรที่สนับสนุนส่งเสริมกำรใช้พลังงำนทดแทน ในชุมชน ศูนย์เรียนรู้และขยายผลเทคโนโลยีเตาชีวมวลกรุห้องเผาไหม้ด้วยอิฐทนไฟ 5 21 กรกฎาคม 2561
  • 6. ในปี 2560 สำขำวิชำเทคโนโลยีพลังงำน คณะเทคโนโลยีอุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยรำชภัฏ กำแพงเพชร ซึ่งมีศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีพลังงำน ทดแทน มีควำมสนใจรับกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยี ดังกล่ำว เพื่อสร้ำงบุคลำกำรแกนนำ เจ้ำหน้ำที่ ส่งเสริมและเป็นศูนย์เรียนรู้และขยำยผลกำรผลิต เตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ด้วยอิฐทนไฟ ให้ชุมชน ในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชรและใกล้เคียง จึงได้ร่วม จัดกิจกรรมอบรมสร้ำงบุคลำกรแกนนำและศูนย์ เรียนรู้กำรผลิตเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ประสิทธิ- ภำพสูงม.รำชภัฏกำแพงเพชร ขึ้น หลังจำกที่ได้รับกำรอบรมถ่ำยทอด เทคโนโลยีแล้ว ทำงศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีพลังงำน ทดแทน สำขำเทคโนโลยีพลังงำน คณะเทคโนโลยี อุตสำหกรรม ม.รำชภัฏกำแพงเพชร ได้ฝึกฝน ประสบกำรณ์กำรผลิตเตำจนมีควำมชำนำญ และ ได้ดำเนินกำรบริกำรวิชำกำรจัดกิจกรรมแนะนำ สำธิตและอบรมกำรผลิตเตำชีวมวลกรุห้องเผำไหม้ ด้วยอิฐทนไฟ ให้เครือข่ำยชุมชนในพื้นที่ที่ได้ เดินทำงมำศึกษำดูงำนที่ศูนย์ฯ ในปี 2561”และมี แผนที่จะขยำยผลเพิ่มเติมอย่ำงต่อเนื่อง ในปี 2562 ผู้เรียบเรียง นายพันธวัฒน์ ไชยวรรณ์ 6