SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
สรุปผลที่สําคัญ
การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
หนวยงานเจาของเรือง
่

สํานักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2
สํานักงานสถิติแหงชาติ
โทรศัพท 0 2281 0333 ตอ 1220
โทรสาร 0 2281 8617
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : areerat@nso.go.th

หนวยงานที่เผยแพร

สํานักสถิติพยากรณ
สํานักงานสถิติแหงชาติ
ถนนหลานหลวง เขตปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100
โทรศัพท 0 2281 0333 ตอ 1413
โทรสาร 0 2281 6438
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส services@nso.go.th

ปที่จัดพิมพ

2552

จัดพิมพโดย

บริษัท เท็กซ แอนด เจอรนัล พับลิเคชัน จํากัด
่
โทรศัทพ 0 2617 8611-2 โทรสาร 0 2617 8616
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

i

คําปรารภ
สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดจัดทําการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551
เพื่อใหมีขอมูลพื้นฐานทางประชากรและสังคมของเด็กและเยาวชน ไดแก
อายุ เพศ ลักษณะการอยูอาศัย การการสงเสริมพัฒนาการในเด็กเล็ก การศึกษา
กอนวัยเรียน การศึกษาของเด็กและเยาวชน ความสนใจใน IT และความรู
เกี่ยวกับเชือ HIV/AIDS ของเยาวชน ซึ่งขอมูลเหลานี้จะนําไปใชประเมิน
้
สถานการณเด็กและเยาวชนในประเทศ และเปนประโยชนในการคํานวณ
ตัวชี้วัดตางๆ เชน อัตราการเขาเรียน อัตราการไมเขาเรียน อัตราของเด็ก
กําพรา เปนตน นอกจากนี้ยังเปนขอมูลที่สามารถใชติดตามความกาวหนาของ
นโยบายและแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ดานการพัฒนาเด็กตามแนวทางโลก
ที่เหมาะสมสําหรับเด็ก
การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ครั้งนี้ ไดจัดทําแบบสอบถาม
ที่ใชในการสํารวจใหมีความสอดคลองกับโครงการสํารวจสถานการณเด็ก
ในประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2549 ซึ่งจัดทําเพื่อใหมีฐานขอมูลเกี่ยวกับ
เด็กที่เปนมาตรฐานสากล และสามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได
นอกจากนียังสามารถนําไปใชเปนตัวชี้วด ในการประเมินแผนการปฏิบัตงาน
้
ั
ิ
ของหนวยงานทีเ่ กี่ยวของดานเด็กและเยาวชน
การสํารวจครั้งนี้หนวยงานตางๆ เชน Unicef กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพ
และพิ ทั ก ษ เ ด็ ก และเยาวชน ผู ด อ ยโอกาสและผู สู ง อายุ สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดมารวมพิจารณา
แบบสอบถามใหมีความสมบูรณครบถวน ทั้งนี้เพื่อใหผลของการสํารวจ
ตอบสนองตอความตองการที่แทจริงของผูใชขอมูลหลัก ซึ่งจะนําขอมูลไป
ศึกษาวิเคราะหเชิงลึกตอไป
สํานักงานสถิติแหงชาติ
ii

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

นอกจากนี้มีหลายหนวยงานที่ไดนําผลจากการสํารวจที่ผานมา
ไปใช เชน กระทรวงศึกษาธิการไดใชขอมูลดานการศึกษาเปนฐานขอมูล
ดานครัวเรือนในการวางแผนและบริหารจัดการทางการศึกษา เพื่อนําไปใช
ในเชิงนโยบายการวางแผนทางดานการทํางาน การปรับหลักสูตรการสอน
เด็ก การพัฒนาการอานของเด็ก และนําไปคํานวณตัวชี้วัดเพื่อสะทอนภาพ
สถานการณของเด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย นําไปจัดทํายุทธศาสตรการใหความรู การอบรมเด็กเล็กในแตละ
ชวงวัย เพื่อเปนการวางแผนคุณภาพชีวิตของเด็กบนพื้นฐานที่เริ่มตนมาจาก
ครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขนําไปใชเปนแนวคิดเรื่องการพัฒนาการ
ของเด็ก เปนตน

(นางธนนุช ตรีทิพยบุตร)
เลขาธิการสถิติแหงชาติ

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

iii

คํานํา
ผลการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 พบประเด็นที่สําคัญดังนี้
เด็กและเยาวชน อายุ 0 – 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่
อาศัยอยูกับพอและแมรอยละ 61.8 เปนเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมรอยละ
20.1 ที่เหลือคืออยูกับพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง สําหรับเด็กที่ไมไดอยูกับ
พอและแม พบวา เด็กอาศัยอยูนอกเขตเทศบาลมากกวาในเขตเทศบาล
(รอยละ 21.6 และ 16.5 ตามลําดับ) เด็กเหลานี้มีภาวะกําพราที่พอหรือแม
คนใดคนหนึ่งเสียชีวิตรอยละ 90.8 และเปนเด็กที่ทั้งพอและแมเสียชีวิต
รอยละ 9.2 และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค พบวา ลักษณะของภาวะกําพรา
ที่พอหรือแมคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต ภาคใตมีอัตราสูงที่สุดคือรอยละ 95.5
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราดังกลาวรองลงมา (รอยละ 91.6)
นอกจากนี้ เมื่อ ศึก ษาถึง การมีสว นรว มในกิจ กรรมตา งๆ ของ
สมาชิกในครัวเรือนกับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป เพื่อเปนการสงเสริมการเรียนรู
และการเตรีย มความพรอ มกอ นเขา โรงเรีย นของเด็ก เล็ก พบวา พอ มี
สัดสวนต่ําสุดในทุกกิจกรรมจากการสํารวจทั้งหมด 6 กิจกรรม และการมี
หนังสือสําหรับเด็กในครัวเรือน ซึ่งกําหนดใหมีอยางนอย 3 เลม พบวา
สวนใหญเด็กอาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็กเพียงรอยละ 40.7
สวนสาเหตุที่เด็กและเยาวชนไมเรียนหนังสือในปการศึกษา 2551 พบวา
เพราะสําเร็จการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลวมีสัดสวนสูงสุดคือรอยละ
61.1 รองลงมาคือ เด็กไมมีเงินเรียนรอยละ 21.7
หากเปรียบเทียบกับการสํารวจที่ผานมา เชน การสํารวจสถานการณ
เด็ก พ.ศ. 2548 - 49 พบวา เด็กกําพราในเขตเทศบาลลดลงเล็กนอย ในขณะที่
นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวาคือจากรอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 และภาวะ
กําพราของเด็กในภาคตางๆ มีสดสวนลดลงเกือบทุกภาค โดยลดลงประมาณ
ั

สํานักงานสถิติแหงชาติ
iv

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

รอยละ 1 ภาคใตลดลงนอยที่สุดเพียงรอยละ 0.4 ในขณะที่ลักษณะการ
ไมไดอยูกบพอและแมของเด็กและเยาวชนกลับเพิ่มขึ้นจากรอยละ 15.2 เปน
ั
16.5 ซึ่งสะทอนใหเห็นภาวะเสี่ยงของเด็กและเยาวชนในสังคมอีกดานหนึ่ง
ในขณะที่ประเทศกําลังกาวเขาสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู
คนในสังคมจะตองมีความตื่นตัวตอการพัฒนาเด็กและเยาวชน ซึ่งเปนพลัง
สําคัญของชาติ ฉะนั้นผูมีสวนเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนควรใหความสําคัญ
กับการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามแนวทางทีเ่ หมาะสมใหมากขึ้น ตลอดจน
รวมกันสงเสริมใหเด็กมีโอกาสในการเรียนรูเพิ่มขึ้น เชน การมีศูนยดูแลเด็กเล็ก
ที่มีคุณภาพ การเปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนแสดงออกอยางอิสระ การมี
หองสมุดเคลื่อนที่ เปนตน นอกจากนี้ควรมีการรณรงคใหยติการใชความ
ุ
รุนแรงกับเด็ก และมีมาตรการในการแกไขปญหาตางๆ ซึ่งเปนอุปสรรค
ตอการเขาถึงการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพเด็กและเยาวชนของประเทศ
ใหมีคุณภาพตอไป

สํานักงานสถิติแหงชาติ
v

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

บทสรุปผูบริหาร
1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน
เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีประมาณ 24.7 ลานคน
เปนชาย 12.6ลานคน (รอยละ 51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9)
ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1
และเยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7
แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ และกลุมอายุ พ.ศ. 2551

0–5
22.2%

ชาย 51.1%
24.7
ลานคน

18 – 24
29.7%

หญิง 48.9%

เพศ

6 – 17
48.1%

กลุมอายุ (ป)

สํานักงานสถิติแหงชาติ
vi

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิน 17.4 ลานคน พบวาเปนเด็กทีอาศัย
้
่
อยูกับพอและแมรอยละ 61.8 และรอยละ 20.1 ไมไดอยูกับพอและแมหรือ
เปนเด็กกําพรา
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็ก 0 – 17 ป จําแนกตามลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก พ.ศ. 2551
อยูกับแมเทานั้น
อยูกับพอเทานั้น

11.9
1/

22.8

เหนือ

26.0

อื่น ๆ

กลาง

ตะวันออกเฉียงเหนือ

11.4

61.8 %

17.4 ลานคน 20.1 %

กรุงเทพมหานคร

17.7

15.0 % 3.1%

ใต

อยูกับพอและแม

1/ อื่นๆ หมายถึง เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม หรือเปนเด็กกําพราที่พอ/แม เสียชีวิต หรือ
กําพราทั้งพอและแม

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

vii

สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา ซึ่งอาจกําพราทั้งพอและแมหรือคนใด
คนหนึ่งนั้นพบวา มีแนวโนมลดลงทั้งเด็กหญิงและชาย เมื่อเปรียบเทียบ
กับการสํารวจในป 2548 - 49 โดยพบวา เด็กกําพราในเขตเทศบาลมีสัดสวน
ลดลงเล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวา คือจากรอยละ 4.8
เปนรอยละ 3.9 ภาวะกําพราของเด็กในภาคตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค
โดยลดลงประมาณรอยละ 1 สวนภาคใตลดลงเพียงรอยละ 0.4
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ที่มภาวะกําพรา จําแนกตามเขตการปกครอง
ี
และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และพ.ศ. 2551
รอยละ
7

6.5

6
5

4.8

4.6

4.5

4.3

4
3

3.9

3.9

5.3

ในเขต นอกเขต
เทศบาล เทศบาล

กทม.
และกลาง

เหนือ

4.1

3.3

4.5
4.1

2
1
0

ป 2548 - 49

1/

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

ป 2551

1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ใต

เขตการปกครอง
และภาค
viii

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป)
ชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด
โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ป ของชีวิต การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด
ตอการพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ
สําหรับเด็กและสภาพการเลี้ยงดูในบานจึงเปนปจจัยแวดลอมที่สําคัญ
ผลการสํารวจพบวา เด็กเล็กในประเทศ รอยละ 95.9 ไดรับการ
ดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน ในการทํากิจกรรมรวมกันอยางนอย 4 กิจกรรม
ในขณะที่เด็กที่มีพอรวมทํากิจกรรมอยางนอย 1 กิจกรรมมีรอยละ 60.7
1/

แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็กที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม
การเรียนรู พ.ศ. 2551
รอยละ

1/ กิจกรรม 6 ประเภท ระหวางพอแม และคน อื่นๆ

100
80
60
40
20

95.9

60.7

ในครัวเรือนกับเด็กเล็ก
1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพ
รวมกับเด็ก
2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตางๆ
ใหเด็กฟง
3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/
รองเพลงกลอมเด็ก
4. การพาเด็กไปนอกบาน
5. การเลนกับเด็ก
6. การทํากิจกรรมอื่น เชน เรียกชื่อ
นับเลข วาดรูป เปนตน

ทั่วราชอาณาจักร

0

สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป
พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป

สํานักงานสถิติแหงชาติ
ix

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

การมีหนังสือที่บานสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ
เด็ก ซึ่งจะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอานหนังสือจากเด็กที่โตกวา
และมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็กนั้น เด็กเล็กรอยละ 40.7
อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลมในขณะที่ รอยละ
61.2 ของเด็กเล็ก อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ
เด็กอยางนอย 3 เลม
แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม ประเภทหนังสือ
พ.ศ. 2551
รอยละ
80
60

61.2

40

40.7

20
0

ทั่วราชอาณาจักร
หนังสือไมใชสาหรับเด็ก
ํ
(อยางนอย 3 เลม)

หนังสือสําหรับเด็ก
(อยางนอย 3 เลม)

สํานักงานสถิติแหงชาติ
x

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

4. การศึกษา
การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุตากวา 5 ป ใน
่ํ
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน
จากการสํารวจในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 - 4 ปทั้งสิ้น 1.8
ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียนใน
โปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถานรับเลี้ยง
เด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อพิจารณาเปนรายภาคและ
เขตการปกครองพบวา ทุกภาคมีอัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนทุกประเภท
สูงกวารอยละ 60 และสวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็กมากกวา
ประเภทอื่น (รอยละ 59.6) โดยเด็กทีอยูนอกเขตเทศบาลเรียนในศูนยเด็กเล็ก
่ 
สูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล (รอยละ66.2 และ 44.8ตามลําดับ)
เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในปการศึกษา 2551 พบวา
รอยละ 97.8 เรียนในระดับกอนประถมศึกษา อีกรอยละ 2.2 เรียนในระดับ
ประถมศึกษา และ การศึกษาอืนๆ
่
เด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป มีทั้งสิ้น 19.2 ลานคน เปนผูทกําลัง
ี่
เรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือรอยละ 67.5 เด็กเล็ก
อายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือระดับประถมศึกษา
มากกกวา รอยละ 90 ของทุกภาค เด็กที่เรียนระดับมัธยมศึกษา (12 – 17 ป)
มีอัตราการเขาเรียนเกินกวารอยละ 70 ในขณะที่อัตราการเขาเรียนระดับ
อุดมศึกษา (18 – 24 ป) มีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุดเพียงรอยละ 28.4

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

xi

สรุปประเด็นเดน
ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
1. การอยูอาศัยกับพอแม

เด็กอายุ 0 – 17 ป มีจํานวน 17.4 ลานคน เปนเด็กที่อาศัยอยูกับ
พอและแม (รอยละ 61.8) ที่ไมไดอยูกับพอและแม (รอยละ 20.1) ซึ่งภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนสูงกวาภาคอื่น (รอยละ 26.0)
2. ภาวะกําพรา
้
เด็กที่มภาวะกําพราคือ พอหรือแมคนใดคนหนึ่งหรือทังพอและแม
ี
เสียชีวิต ซี่งเด็กที่พอหรือแมคนใดคนหนึ่งเสียชีวิตมีรอยละ 90.8 และ
รอยละ 9.2 เปนเด็กกําพราที่ทงพอและแมเสียชีวิต
ั้
การดูแลพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป)
3. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
เด็กอายุตากวา 5 ป รอยละ 95.9 ไดรับการดูแลจากสมาชิกใน
่ํ
ครัวเรือน ในการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมสงเสริมการเรียนรู และการ
เตรียมตัวไปโรงเรียนของเด็กอยางนอย 4 กิจกรรม โดยสมาชิกในครัวเรือน
มีคาเฉลียของจํานวนกิจกรรมทีมีสัดสวนประมาณ 4.6 กิจกรรม จากทั้งหมด
่
่
6 กิจกรรม
4. หนังสือสําหรับเด็กในบาน
การมีหนังสือที่บานสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ
เด็ก (อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) จะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอาน
หนังสือจากเด็กที่โตกวา และมีผลตอการเขาเรียนและไอคิวของเด็ก โดย
สํานักงานสถิติแหงชาติ
xii

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

ครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็กมีรอยละ 61.2 สวนหนังสือ
สําหรับเด็ก มีเพียงรอยละ 40.7
การศึกษา
5. การศึกษากอนวันเรียน (อายุ 3 – 4 ป)
เด็กเล็กอายุ 3 – 4 ป มีอัตราการเขาเรียนในระดับกอนวัยเรียน
ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งรอยละ 73.0 สวนใหญเด็กที่อยูในเขตเทศบาล
เขาเรียนในโรงเรียนอนุบาล (รอยละ 56.2) เด็กที่อยูนอกเขตเทศบาล
เขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก (รอยละ 66.2)
6. การเขาเรียนในโรงเรียน
เด็กและเยาวชนที่อยูในวัยเรียนอายุ 6 – 24 ป จํานวน 19.2 ลานคน

มีอัตราการเขาเรียนในปการศึกษา 2551 รอยละ 67.5 เด็กกลุมอายุ 6 - 11 ป
มีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด รอยละ 99.4
7. เหตุผลทีไมเรียน
่
เหตุผลของเด็กและเยาวชนที่ไมเรียนในปการศึกษา 2551 มากที่สุด
คือ เรียนจบการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลวรอยละ 61.1 โดยเปนผูที่จบ
ระดับมัธยมศึกษามากที่สุดรอยละ 67.2 เหตุผลรองลงมาคือ ไมมีเงินเรียน
รอยละ 21.7
ความสนใจใน IT
8. ความสนใจใน IT
ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ มีอัตราการใชคอมพิวเตอร
ของเด็กและเยาวชน (5 – 24 ป) รอยละ 55.6 โดยกลุมเด็กอายุ 11 -17 ป
มีอัตราการใชสูงที่สดรอยละ 82.6
ุ
สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

xiii

สารบัญ
หนา
คําปรารภ
คํานํา
บทสรุปผูบริหาร
สรุปประเด็นเดน
สารบัญแผนภูมิ
สารบัญตาราง
สรุปผลการสํารวจ
1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน
2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
1.1 การอยูอาศัยกับพอแม
1.2 การไมไดอยูกับพอแม
3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุตากวา 5 ป)
่ํ
3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน
3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน
4. การศึกษา
4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป)
4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป
4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน (6 – 24 ป)
4.4 เหตุผลที่ไมเรียน

สํานักงานสถิติแหงชาติ

i
iii
v
xi
xv
xix
1

2
4
5
6
9
9
13
15
16
16
18
19
21
xiv

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สารบัญ (ตอ)
5. ความสนใจใน IT
5.1 เหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอร
5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร
5.3 กิจกรรมที่ใชคอมพิวเตอร
6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส

6.1 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส
6.2 ความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส
ภาคผนวก
ความเปนมา
วัตถุประสงค
ประโยชน
ขอบขายและคุมรวม
เวลาอางอิง
รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม
ระเบียบวิธีการดําเนินการสํารวจ
คํานิยาม

สํานักงานสถิติแหงชาติ

หนา
22
23
24
25
27
28
29
31
31
32
32
32
33
33
34
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

xv

สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิ 1
แผนภูมิ 2

แผนภูมิ 3
แผนภูมิ 4
แผนภูมิ 5

แผนภูมิ 6
แผนภูมิ 7

หนา
จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ
2
กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีไมไดอยูกบพอและแม
่
ั
6
จําแนกตามเขตการปกครองและภาค พ.ศ. 2548 - 49
และ พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีมีภาวะกําพรา จําแนกตาม 7
่
ลักษณะของการกําพรา และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวม 10
ในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551
รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรม 12
สงเสริมการเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภท
กิจกรรมพ.ศ. 2551
รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม 13
ประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551
รอยละของเด็กอายุตากวา 5 ป ที่มีการเลนอุปกรณของเลน 15
่ํ
เมื่ออยูท่ีบาน จําแนกตามประเภทของเลน พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
xvi

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สารบัญแผนภูมิ (ตอ)
แผนภูมิ

แผนภูมิ
แผนภูมิ
แผนภูมิ
แผนภูมิ

แผนภูมิ

แผนภูมิ

หนา
8 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน 17
ของเด็กอายุ 3 – 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัย
ในศูนยเด็กเล็ก ของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค
และเขตการปกครองพ.ศ. 2551
9 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ
18
และการเขาเรียนในปการศึกษา 2551
10 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป
19
จําแนกตามกลุมอายุและภาค ป 2551
11 อัตราการการเขาเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป 20
จําแนกตามระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551
12 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป
21
ที่ไมเรียน จําแนกตามเหตุผลทีไมเรียน
่
ในปการศึกษา 2551
13 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป
22
ที่เคยใชคอมพิวเตอรในระหวาง 12 เดือนกอน
วันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551
14 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป
23
ที่ไมใชคอมพิวเตอรในระหวาง 12 เดือนกอน
วันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลที่ไมใช และ
กลุมอายุ พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

xvii

สารบัญแผนภูมิ (ตอ)
แผนภูมิ

แผนภูมิ

แผนภูมิ

แผนภูมิ

หนา
15 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป 24
ที่ใชคอมพิวเตอรมากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ
พ.ศ. 2551
16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป
25
ที่ใชคอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม จําแนกตาม
ประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
17 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 – 24 ป ที่เคยไดยิน 28
เกี่ยวกับโรคเอดส และความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ
HIV/AIDS เปนอยางดี พ.ศ. 2551
18 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 – 24 ป ที่มี
29
ความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิดที่มักเขาใจผิด
เกี่ยวกับโรคเอดส พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
xviii

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

xix

สารบัญตาราง
หนา
3

ตาราง 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 – 24 ป จําแนกตามเพศ
เขตการปกครอง ภาค และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
ตาราง 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป
4
จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551
ตาราง 3 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีมีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ 8
่
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
xx

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

1

สรุปผลการสํารวจ
สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551
โดยเก็บรวบรวมขอมูลของเด็กและเยาวชนอายุไมเกิน 24 ป ในเดือน
กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน พ.ศ. 2551 จากจํานวนครัวเรือนตัวอยาง
ประมาณ 59,000 ครัวเรือน
การสํารวจเด็กและเยาวชนครั้งนี้ เพื่อใหมีขอมูลสําหรับนําไปใช
ประเมินสถานการณเด็กและเยาวชนในประเทศ การคํานวณตัวชี้วัดตางๆ
และสามารถใชติดตามความกาวหนาของนโยบาย และแผนยุทธศาสตร
ระดับชาติดานการพัฒนาเด็กตามแนวทางโลกทีเ่ หมาะสมสําหรับเด็ก

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

2

1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน
เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีอยูประมาณ 24.7 ลานคน

เปนชาย 12.6 ลานคน (รอยละ51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9)
ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1
และเยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7
แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ กลุมอายุ และภาค
พ.ศ. 2551
เพศ
ชาย 51.1%
24.7
ลานคน
หญิง 48.9%

0–5
22.2%
18 – 24
29.7%

6 – 17
48.1%

กรุงเทพมหานคร

ใต

15.6 %

8.2 %
22.5 %

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

กลุมอายุ (ป)

36.5 %
17.2%
เหนือ

ภาค

สํานักงานสถิติแหงชาติ

กลาง
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

3

หากจําแนกเด็กและเยาวชนเหลานี้เปน 4 กลุมยอย จะพบวา เปน
กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มากที่สุดคือ 7.3 ลานคน และประมาณ 3 ใน 4
ของเด็กและเยาวชนอยูนอกเขตเทศบาล (17.6 ลานคน) โดยภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ มีเด็กและเยาวชนมากที่สุด 9.0 ลานคน (รอยละ 36.5) และ
กรุงเทพมหานคร พบวา มีเด็กและเยาวชนนอยที่สด 2.0 ลานคน (รอยละ 8.2)
ุ
และมีเด็กและเยาวชน เปนสัดสวนนอยที่สุดในทุกกลุมอายุ
ตาราง 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค
และกลุ ม อายุ พ.ศ. 2551
(หนวยเปนพัน)
เพศ
เขตการปกครอง
และภาค
ทั่วราชอาณาจักร
เพศ
ชาย
หญิง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

กลุมอายุ (ป)
รวม

0 – 5 ป

6 – 11 ป

12 – 17 ป

18 – 24 ป

24,797.1

5,500.2

5,762.7

6,159.4

7,374.8

12,667.8
12,129.3

2,802.6
2,697.6

2,950.4
2,812.3

3,154.2
3,005.3

3,760.6
3,614.1

7,138.2
17,658.9

1,745.5
3,754.7

1,671.3
4,091.3

1,660.6
4,498.8

2,060.7
5,314.1

2,036.4
5,571.9
4,266.0
9,042.0
3,880.8

588.0
1,261.6
834.9
1,908.1
907.7

490.9
1,280.7
962.8
2,135.9
892.4

415.5
1,335.8
1,126.3
2,341.9
939.9

542.0
1,693.7
1,342.1
2,656.1
1,140.8

สํานักงานสถิติแหงชาติ
4

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป)
สภาพสังคมและเศรษฐกิจปจจุบัน ทําใหเด็กบางคนขาดการดูแล
จากพอแม ตองอยูหางไกลจากพอแมผูใหกําเนิด หรือเปนเด็กกําพรา ซึ่ง
ภาวะเชนนี้ทําใหเด็กตองเผชิญกับปญหาตางๆ เชน ภาวะขาดแคลน การถูก
ทอดทิ้งการถูกเอารัดเอาเปรียบดานแรงงาน หรือทางเพศในรูปแบบตางๆ
ฉะนั้นการเฝาติดตาม ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก และการจัดหาที่อยูอาศัย

ใหกับเด็ก จะชวยใหสามารถปองกันเด็กจากภาวะเสี่ยงดังกลาวได
ตาราง 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตาม การอยูอาศัยกับพอ แม
พ.ศ. 2551
เพศ
เขตการปกครอง
และภาค
ทั่วราชอาณาจักร
เพศ
ชาย
หญิง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุงเทพมหานคร
กลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

17,416,851

อยูกับ
พอและ
แม
61.8

อยูกับ
แม
เทานั้น
15.0

อยูกับ
พอ
เทานั้น
3.1

ไมไดอยูกบ
ั
พอ และ
แม
20.1

8,904,749
8,512,101

62.5
61.1

14..7
15..3

3.0
3.2

19.8
20.4

5,075,774
12,341,076

64.6
60.7

15.2
14.9

3.7
2.8

16.5
21.6

1,494,410
3,876,718
2,922,048
6,383,907
2,739,767

70.5
64.2
57.2
54.8
75.1

13.1
14.3
16.8
16.8
10.8

4.5
3.8
3.2
2.4
2.7

11.9
17.7
22.8
26.0
11.4

รวม

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

5

2.1 การอยูอาศัยกับพอแม

เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน เปนเด็กผูชาย 8.9 ลานคน
และเปนเด็กผูหญิง 8.5 ลานคน ในจํานวนนี้มีเด็กที่อาศัยอยูกับพอและแม
รอยละ 61.8 และรอยละ 20.1 ที่ไมไดอยูกับพอและแมหรือเปนเด็กกําพรา

่ 
สําหรับเด็กที่อาศัยอยูกับพอหรือแมฝายใดฝายหนึงมีรอยละ 18.1
ซึ่งอาจเนืองจากการหยาราง หรือพอแมแยกกันอยูเนื่องจากการทํางาน โดย
่
พบวา สัดสวนของเด็กที่อยูกบแมสูงกวาอยูกับพอถึง 5 เทา (รอยละ 15.0
ั
และ 3.1 ตามลําดับ)
เมื่อพิจารณาตามเขตที่อยูอาศัย พบวา เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม
นอกเขตเทศบาล มีสัดสวนสูงกวาในเขตเทศบาล (รอยละ 21.6 และ 16.5
ตามลําดับ) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ จะมีสัดสวนดังกลาว
สูงกวาภาคอื่นคือ รอยละ 26.0 และ 22.8 ตามลําดับ ขณะที่ภาคใตมี
สัดสวนต่ําสุดเพียงรอยละ 11.4 เทานั้น

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

6

2.2 การไมไดอยูกับพอแม
เมือเปรียบเทียบกับผลการสํารวจสถานการณเด็ก ซึ่งเปนโครงการ
่
ที่สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการรวมกับ UNICEF ใน พ.ศ. 2548 - 49
พบวา รอยละของเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมเพิ่มขึ้นเล็กนอย ทั้งในเขต
เทศบาลและนอกเขตเทศบาล และเมื่อพิจารณาเปนรายภาคพบวา ทุกภาค
มีสัดสวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาคใตเพิ่มขึ้นมากกวาภาคอืนคือ จากรอยละ 9.8
่
ใน พ.ศ. 2548 - 49 เปนรอยละ 11.4 ในพ.ศ. 2551
แตอยางไรก็ตาม เมือเทียบกับภาคอืนๆ อัตราการไมไดอยูกับพอแม
่
่
ของภาคใตก็ยังเปนสัดสวนที่ต่ําสุด ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคง
สูงที่สุดเชนเดิม
แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกับพอและแม จําแนกตาม
เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551
30

รอยละ
26.0

20

10

22.8

21.6
16.5
15.2

16.0
15.1

20.9

21.3

25.6

11.4

9.8

0

ในเขต
เทศบาล

นอกเขต
เทศบาล

กทม.
และกลาง
1/

ป 2548 - 49

เหนือ ตะวันออกเฉียง
เหนือ

ป 2551

1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ใต

เขตการ
ปกครอง
และภาค
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

7

สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา คือพอหรือแมคนใดคนหนึ่งหรือทั้งพอ
และแมเสียชีวิต พบวา ทั้งประเทศมีเด็กที่มีภาวะกําพราที่พอหรือแมคนใด
คนหนึ่งเสียชีวิตมากกวาทั้งพอและแมเสียชีวิตคือ รอยละ 90.8 โดยภาคใต
มีเด็กกําพราลักษณะนี้มากที่สดถึงรอยละ 95.5 (แผนภูมิ 3)
ุ
แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะของการ
กําพรา และภาค พ.ศ. 2551
รอยละ

100

9.2

12.6

10.3

11.2

8.4

4.5

90.8

87.4

89.7

88.8

91.6

95.5

80
60
40
20
0

ทั่วราชอาณาจักร

กทม.

พอและแมเสียชีวิต

กลาง

เหนือ

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

พอ/แม คนใดคนหนึ่งเสียชีวต
ิ

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ใต

ภาค
8

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

สําหรับภาวะกําพราเมื่อเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2548 - 49 พบวามี
สัดสวนลดลงคือ จากรอยละ 4.7 เปน รอยละ 4.0 โดยเด็กชายมีภาวะกําพรา
นอยกวาเด็กหญิง (รอยละ 3.8 และ 4.1 ตามลําดับ)
ในเขตเทศบาลมีภาวะกําพราสูงกวานอกเขตเทศบาล โดยพบวา
เด็กกําพราในเขตเทศบาลลดลงเล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลง
มากกวาจากรอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 และภาวะกําพราของเด็กในภาค
ตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค โดยลดลงประมาณ รอยละ 1 สวนภาคใตลดลง
เพียงรอยละ 0.4
ตาราง 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง
และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551
เพศ เขตการปกครอง
และภาค
ทั่วราชอาณาจักร
เพศ
ชาย
หญิง
เขตการปกครอง
ในเขตเทศบาล
นอกเขตเทศบาล
ภาค
กรุงเทพมหานครและภาคกลาง
เหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต

ภาวะกําพรา
ป 2548 - 49
4.7

ป 2551
4.0

4.6
4.9

3.8
4.1

4.6
4.8

4.1
3.9

4.5
6.5
4.3
4.5

3.9
5.3
3.3
4.1

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

9

3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุตากวา 5 ป)
่ํ
ในชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด
โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ปของชีวิต การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด
ตอการพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ
สํา หรับ เด็ก และอุป กรณห รือ ของเลน ในบานจึงเปนปจจัยแวดลอมที่
สําคัญ
3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
สําหรับกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู เปนการเปรียบเทียบการมีสวนรวม

ในกิจกรรม 6 ประเภท ระหวางพอแมและคนอื่นๆ ในครัวเรือนเปนกิจกรรม
ที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน ไดแก
1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตางๆ
ใหเด็กฟง 3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/รองเพลงกลอมเด็ก 4. การพาเด็ก
ไปนอกบาน 5. การเลนกับเด็ก 6. การทํากิจกรรมรวมกับเด็ก เชน เรียกชื่อ
นับเลข วาดรูป เปนตน

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

10

แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม

การเรียนรู พ.ศ. 2551
รอยละ
100 95.9

97.7

95.5

95.5

94.4

98.4

80
60
40

74.8

76.2
65.3

60.7

59.5
46.3

20
0

ทั่วราชอาณาจักร

กทม.

กลาง

เหนือ

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป
พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ใต

ภาค
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

11

จากผลการสํารวจแสดงใหเห็นวา เด็กเล็ก รอยละ 95.9 ไดรับการ
ดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน โดยสมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมในการทํา
กิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน
อยางนอย 4 กิจกรรม ซึ่งคาเฉลี่ยของจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือน
มีสวนเกี่ยวของคือ ประมาณ 4.6 กิจกรรม และผลการสํารวจไดชี้ใหเห็น
วา พอมีสวนรวมทํากิจกรรมดังกลาวอยางนอย 1 กิจกรรม มีรอยละ 60.7

นอกจากนี้ยังพบความแตกตางระหวางภาคอยางเห็นไดชัด สําหรับการทํา
กิจกรรมรวมกับพอของเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 46.3)
และภาคเหนือ(รอยละ 59.5) ทั้งนี้เนื่องจากเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ไมไดอยูกับพอมากที่สุด รองลงมาเปนภาคเหนือ (แผนภูมิ 4)

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

12

หากพิจารณาตามประเภทกิจกรรมระหวางพอแม และคนอื่นใน
ครัวเรือน ในการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ กับเด็กเล็กอายุต่ํากวา 5 ป
เพื่อสงเสริมการเรียนรู และการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน พบวา
แมเ ปน ผูที่มีสว นรว มในกิจ กรรมทุก ประเภทกับ เด็ก เล็ก ในสัด สว นที่
สูงสุด โดยเฉพาะการเลนรวมกัน (รอยละ 74.8) รองลงมาคือ คนอื่นๆ ใน
ครัวเรือน และพอ (สัดสวนต่ําสุดในทุกกิจกรรม) และเมื่อพิจารณาเปน
รายกิจกรรมพบวา กิจกรรมที่บุคคลในครัวเรือน มีสวนรวมในการทํา
กิจกรรมกับเด็กเล็กมากที่สุดคือ การเลนรวมกัน รองลงมาคือ การพาไป
นอกบาน สวนกิจกรรมที่ทํารวมกับเด็กเล็กนอยที่สุดคือ การเลานิทาน
เลาเรื่องตางๆ
แผนภูมิ 5 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551
กิจกรรม
35.8

การอ านหนังสื อ /ดูส มุดภาพ

26.2

34.4

การรอ งเพลง

14.5

พ อ
53.4

คนอื่ น ๆ ในครัวเรือ น
ไมมีใครรวมในกิจกรรมนี้
63.6

47.1
54.1

การพาไปนอกบาน

4.1

72.9
59.7

57.3

การเล นรวมกัน
ทํากิจกรรมอื่ น

41.0

30.1
36.7
29.1

การเล านิทาน/เล าเรื่อ งตาง ๆ

2.5
1/

42.5
18.5

0

25

แม

56.3

74.8
66.5

61.6
50.3

รอยละ
50

1/ : กิจกรรมอื่น ไดแก เรียกชื่อ สิ่งของ นับเลข วาดรูป เปนตน

สํานักงานสถิติแหงชาติ

75

100
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

13

3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน
การมีหนังสือสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็ก
(อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) ที่บานจะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการ

อานหนังสือจากเด็กที่โตกวา ซึ่งจะมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็ก
แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม ประเภทหนังสือ
และภาค พ.ศ. 2551
80

รอยละ
69.1

60
40

64.8

61.2
50.9

65.8
58.5

46.1

53.6

41.5

40.7

35.9

35.6

20
0

ทั่วราชอาณาจักร

กทม.

กลาง

ภาค
เหนือ

หนังสือที่ไมใชสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม)
หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม)

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ตะวันออก
เฉียงเหนือ

ใต
14

สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

ผลการสํารวจพบวา เด็กอายุต่ํากวา 5 ป รอยละ 40.7 อาศัยอยูใน
ครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็ก อยางนอย 3 เลม โดยกรุงเทพมหานครมี
สัดสวนมากที่สุด (รอยละ 50.9) และรอยละ 61.2 ของเด็กเล็ก อาศัยอยูใน
ครัวเรือนที่มีหนัง สือ ที่ไ มใชห นัง สือ สํา หรับ เด็ก อยางนอย 3 เลม โดย
กรุงเทพมหานครมีสัดสวนมากที่สุด (รอยละ 69.1) รองลงมาคือ ภาคเหนือ
รอยละ 65.8 (แผนภูมิ 6)
หากพิจ ารณาหาคา เฉลี ่ย ของจํ า นวนหนั งสื อที่ มี ในบ านพบว า
ครัวเรือนที่มีเด็กเล็ก มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็กโดยเฉลี่ยจํานวน
7 เลมตอคน ในขณะที่มีหนังสือสําหรับเด็ก โดยเฉลี่ยจํานวน 4 เลมตอคน

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

15

3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน
ผลการสํารวจเด็กอายุต่ํากวา 5 ป มีทั้งสิ้น 4.5 ลานคน พบวา
สวนใหญมีของเลนที่ซื้อมา/ไดมา มากที่สุด (รอยละ 81.8) รองลงมาเปน
ของเลนทีเ่ ปนสิ่งของนอกบาน ไดแก กิ่งไม หิน สัตว เปลือกหอย หรือ
ใบไม (รอยละ 36.6) เปนสิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน เชน ชาม จาน
ถวย หมอ (รอยละ 33.6) และเปนของเลนที่ทําขึ้นเอง ไดแก ตุกตา รถ
นอยที่สุดเพียงรอยละ 32.3
แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มีการเลนอุปกรณของเลน เมื่ออยูท่ีบาน
จําแนกตาม ประเภทของเลน พ.ศ. 2551

100

รอยละ
81.8

80
60
40

33.6

36.6

32.3

20
ทั่วราชอาณาจักร

0
A

B

C

D

A = สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน

B = สิ่งของจากนอกบาน

C = ของเลนที่ทําขึ้นเอง

D = ของเลนที่ซื้อมา/ไดมา

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

16

4. การศึกษา
4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป)
การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุ 3 – 4 ป ใน
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน
จากการสํารวจในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 – 4 ป ทั้งสิ้น
1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียน
ในโปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถาน
รับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค
และเขตการปกครองพบวา ทุกภาคมีอัตราการเขาเรียนกอนวัยทุกประเภท
สูงกวารอยละ 60 โดยภาคเหนือมีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด (รอยละ 82.0)
เด็กที่อยูนอกเขตเทศบาล มีอัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนสูงกวาเด็กที่อยู
ในเขตเทศบาล (รอยละ 74.5 และ 69.6 ตามลําดับ)
เมื่อพิจารณาประเภทของสถานศึกษาที่เด็กกอนวัยเรียนเขาเรียน พบวา
เด็กที่กําลังเรียนในโปรแกรมกอนวัยเรียน สวนใหญเขาเรียนในโรงเรียน
ศูนยเด็กเล็กมากกวาประเภทอืน (รอยละ 59.6) โดยเด็กเล็กในภาคตะวันออก
่
เฉียงเหนือ มีอัตราการเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กมากที่สุดถึงรอยละ 78.6
นอกจากนี้พบวา เด็กเล็กที่อยูนอกเขตเทศบาลเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวา

เด็กเล็กที่อยูในเขตเทศบาลอยางเห็นไดชัด (รอยละ 66.2 และ 44.8 ตามลําดับ)

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

17

แผนภูมิ 8 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน ของเด็กอายุ 3 – 4 ป
และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนก
ตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ. 2551

100
80

รอยละ
82.0

75.6

73.0
62.6

60
40

59.6

67.9

72.5

69.6

41.0 41.4 55.1 78.6 56.4

74.5

44.8 66.2

20
0

ทั่วราชอาณาจักร

กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต
เฉียงเหนือ

ในเขต นอกเขต
เทศบาล เทศาล

อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป)
อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน)

สํานักงานสถิติแหงชาติ

เขตการปกครอง
และภาค
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

18

4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป
เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่ไดเขาเรียน
ในระดับกอนประถมศึกษาและประถมศึกษา ในปการศึกษา 2551 รอยละ 97.1
โดยเรียนในระดับกอนประถมศึกษา รอยละ 97.8 และ เรียนในระดับประถมศึกษา
และการศึกษาอืนๆ รอยละ 2.2 ไดแก เรียนศาสนา
่
แผนภูมิ 9 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และการเขาเรียนใน
ปการศึกษา 2551
ไมเรียน 2.9 %

ประถมศึกษา
และอื่น ๆ
2.2 %

ชาย 51.1 %
9.3
แสนคน

เรียน
97.1 %

หญิง 48.9 %

สํานักงานสถิติแหงชาติ

กอน
ประถมศึกษา
97.8 %
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

19

4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน ( 6 – 24 ป)
เด็กและเยาวชนทีอยูในวัยเรียน อายุ 6 – 24 ป จํานวน 19.2 ลานคน
่ 
เปนผูที่กาลังเรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือคิดเปน
ํ
อัตราการเขาเรียน รอยละ 67.5
หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมอายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียน

มากที่สุด (รอยละ 99.4) รองลงมาคือ เด็กกลุมอายุ 12 – 17 ป (รอยละ87.1)
และเยาวชนอายุ 18 – 24 ป (รอยละ 26.1) กรุงเทพมหานคร มีอัตราการ
เขาเรียนสูงสุด (รอยละ 73.5) สวนภาคอืนๆ ที่เหลือมีสัดสวนใกลเคียงกัน
่
โดยภาคใตมีอัตราต่าที่สุดคือ รอยละ 65.3
ํ
แผนภูมิ 10 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป จําแนกตามกลุม
อายุ และภาค ป 2551

100

รอยละ

ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 67.5

99.4

87.1
73.5 66.2 67.7 67.8
65.3

80
60
40

26.1

20
0

ภาค

กลุมอายุ
6-11 ป
12-17 ป

กทม.
กลาง

18-24 ป

เหนือ

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใต
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

20

หากพิจารณาอัตราการเขาเรียนตามระดับการศึกษาและภาค พบวา
อัตราการเขาเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกภาค
มีอัตราการเขาเรียนประมาณ 90% (ภาคเหนือสูงสุดคือ รอยละ 92.5) และ
อัตราเริ่มลดลงในระดับมัธยมศึกษา แตยังเปนอัตราที่คอนขางสูงคือ เกินกวา
รอยละ 70.0 (ภาคเหนือสูงสุดคือรอยละ 80.1) สวนอัตราการเขาเรียน
ระดับอุดมศึกษามีความแตกตางระหวางกรุงเทพมหานคร และภาคอื่นๆ
อยางเห็นไดชัดคือ อัตราการเขาเรียนระดับอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร
สูงที่สุดคือ รอยละ 28.4 ในขณะที่ภาคอื่นมีอัตราไมเกินรอยละ 13.0 ซึ่ง
อาจเนื่องจากสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สวนใหญอยูในกรุงเทพมหานคร
แผนภูมิ 11 อัตราการการเขาเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป จําแนกตาม
ระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551
รอยละ 92.5

กรุง เทพมหานคร

80.1

100

กลาง
เหนือ

80

ตะวันออกเฉียงเหนือ

60

ใต

40

28.4

20
0

ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา

อุดมศึกษา

สํานักงานสถิติแหงชาติ

ภาค
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

21

4.4 เหตุผลทีไมเรียน
่
สําหรับเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียนในปการศึกษา
2551 มีทั้งสิ้น 6.2 ลานคนนั้นพบวา เหตุผลที่ไมเรียนมากที่สุดคือ เปน
ผูสําเร็จการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลว (รอยละ 61.1) ซึ่งในกลุมนี้สวนใหญ
เปนผูที่เรียนจบระดับมัธยมศึกษา (รอยละ 67.2) เหตุผลรองลงมาคือ ไมมี
เงินเรียนรอยละ 21.7 ปวย/พิการรอยละ 2.5 นอกนันไมเรียนเพราะเหตุผล
้
อื่นๆ เชน ตองทํางาน โรงเรียนอยูไกล ไมมีสูติบัตร/ใบแจงเกิด การไมมี
สัญชาติไทย การมีปญหาเรื่องภาษา เปนตน
แผนภูมิ 12 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียน จําแนกตาม
เหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551
ระดับการศึกษาของผูที่จบ

เหตุผลที่ไมเรียน
เหตุผลอื่น
ปวย/พิการ

17.3

21.7%

6.2 ลานคน

61.1%

ไมมีเงินเรียน

67.2

มัธยมศึกษา

15.4

14.7%
2.5%

ประถมศึกษา

สูงกวามัธยมศึกษา
อื่น ๆ

0.1

เรียนจบการศึกษาแลว

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

22

5. ความสนใจใน IT
ผลการสํารวจเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป พบวา เปนเด็กและ
เยาวชน จํานวน 20.2 ลานคน และในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ
มีอัตราการใชคอมพิวเตอร รอยละ 55.6
หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป มีอัตรา

การใชสูงที่สุด รอยละ 82.6 รองลงมาเปน กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอตราการใช

ั
รอยละ 44.2 และกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มีอัตราการใชนอยที่สุดคือ
รอยละ 37.7
แผนภูมิ 13 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่เคยใชคอมพิวเตอรใน
ระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ

100
82.6

80
60

55.6
44.2

37.7

40
20
0

ทั่วราชอาณาจักร

5 - 10

11 - 17

สํานักงานสถิติแหงชาติ

18 - 24

กลุมอายุ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

23

5.1 เหตุผลทีไมใชคอมพิวเตอร
่
เมื่อพิจารณาเหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอรของกลุมเด็กและเยาวชน
อายุ 5 – 24 ป พบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป สวนใหญไมใชเพราะยังใชไมเปน
(รอยละ 63.8) กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ไมใชคอมพิวเตอรดวยสาเหตุเพราะ

บานไมมีคอมพิวเตอรมากที่สุด (รอยละ 38.3) รองลงมาคือ ใชไมเปน
(รอยละ 34.5) สําหรับสาเหตุที่ไมใชคอมพิวเตอรของกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป
มีหลายเหตุผลรวมๆ กัน มากที่สุด (รอยละ 37.2) ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา
และบานไมมีคอมพิวเตอร (รอยละ 32.4) เปนสาเหตุรองลงมา
แผนภูมิ 14 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ไมใชคอมพิวเตอรใน
ระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลทีไมใช และกลุม
่
อายุ พ.ศ. 2551
รอยละ
100

11.4

80
60

63.8

34.5
3.4

40
20

23.8

4.3

20.5
5 – 10

38.3
11 - 17

37.2
30.2
0.2
32.4
18 - 24

บานไมมีคอมพิวเตอร

โรงเรียนไมมคอมฯ
ี

ใชไมเปน

อื่นๆ ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา

สํานักงานสถิติแหงชาติ

กลุมอายุ (ป)
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

24

5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร
จากการสํารวจแหลงที่เด็กและเยาวชนใชคอมพิวเตอร พบวา ทุกกลุม
อายุ ใชคอมพิวเตอรที่สถานศึกษามากทีสุด โดยกลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป มี
่
สัดสวนการใชมากทีสุด (รอยละ 77.9) แหลงที่ใชรองลงมา พบวา กลุม
่
เด็กอายุ 5 – 10 ป ใชที่บาน และที่อื่นๆ (รอยละ 23.1 และ 1.1 ตามลําดับ)
โดยพบวา ใชที่รานอินเตอรเน็ตเพียงรอยละ 0.7

กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ใชที่บานและรานอินเตอรเน็ต (รอยละ 19.4
และ 1.6 ตามลําดับ) สําหรับกลุมเยาวชน 18 – 24 ป ใชที่บาน ที่ทํางาน และ


รานอินเตอรเน็ต ในสัดสวนที่สูงกวาทุกกลุม คือ รอยละ 34.6 11.4 และ
6.2 ตามลําดับ) เนืองจากเปนกลุมที่เปนผูทํางานแลวบางสวน
่

แผนภูมิ 15 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอร
มากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ
100

1.1

0.8
0.7

1.7

1.6

6.2

80
60

75.1

46.1

77.9

40
20

11.4
0.3

23.1

19.4

5 – 10

11 - 17

ที่บาน

ที่ทํางาน

ราน

อื่น ๆ

34.6
18 - 24
สถานศึกษา

1/

1/ : อื่นๆ ไดแก บานเพื่อน ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน ที่ทํางานของพอ/แม

สํานักงานสถิติแหงชาติ

กลุมอายุ (ป)
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

25

5.3 กิจกรรมทีใชคอมพิวเตอร
่
เมือพิจารณาการใชคอมพิวเตอรของเด็กและเยาวชน ในการทํากิจกรรม
่
พบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป ใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนมากที่สุด (รอยละ
85.2) รองลงมาใชเพือการบันเทิง และหาความรู (รอยละ 11.1 และ 2.8
่
ตามลําดับ) กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ใชเพื่อการเรียนมากทีสุดเชนกัน คือ
่
รอยละ90.0 รองลงมาใชเพือการบันเทิงเชนกันคือ รอยละ 4.6 และเพื่อหา
่
ความรู รอยละ 3.8 ในขณะที่กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ใชคอมพิวเตอร
เพื่อการเรียนมากที่สุดเชนกัน (รอยละ 61.1) รองลงมาคือ ใชเพื่อการทํางาน
(รอยละ 15.0) และมีอัตราการใชคอมพิวเตอรเพื่อการบันเทิง และหาความรู
ในอัตราทีสูงกวา 2 กลุมแรกคือ รอยละ 11.8 และ 8.3 ตามลําดับ
่
สําหรับการใชคอมพิวเตอร เพือทองอินเตอรเน็ต กลุมอายุ 18 – 24 ป
่

มีอัตราสูงกวากลุมอืน (รอยละ 3.6) และการใชเพือกิจกรรมอืนๆ นอกเหนือ
่
่
่
จากที่กลาว ไดแก การใชอุปกรณรวมกับคอมพิวเตอร เพื่อการฝกหัด
การพิมพของเด็กเล็ก กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอัตราการใชมากกวากลุมอื่น
(รอยละ 0.4)

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

26

แผนภูมิ 16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรในการ
ทํากิจกรรม จําแนกตามประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551
รอยละ
100

0.4

80

11.1
2.8

0.1
0.5

0.2

1.1

3.6

4.6
3.8

11.8
8.3

60
40

85.2

90.0

61.1

20
0.4

15.0

5 – 10

11 - 17

ทํางาน

การเรียน

หาความรู

บันเทิง

ทองอินเทอรเน็ต

อื่น ๆ

สํานักงานสถิติแหงชาติ

18 - 24

กลุมอายุ (ป)
สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551

27

6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส
ความรูและความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับเชื้อเอดส เปนปจจัยสําคัญ
ที่ตองใหมการตระหนักรูอยางยิง ซึ่งจะชวยลดอัตราการติดเชือเอดสไดทางหนึ่ง
ี

่
้
และควรใหเกิดการใหความรูทถูกตอง เพื่อใหเปนเครืองมือสําหรับเยาวชน
ี่
่
หรือผูเ ยาว นําไปใชในการปองกันตนเองจากการติดเชือ
้

สํานักงานสถิติแหงชาติ
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551

More Related Content

Viewers also liked

โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_Mr-Dusit Kreachai
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน Mr-Dusit Kreachai
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteLari Aveiro
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนMr-Dusit Kreachai
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015Lari Aveiro
 
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้Mr-Dusit Kreachai
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557Mr-Dusit Kreachai
 
Power point
Power pointPower point
Power pointdethaa
 

Viewers also liked (13)

โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015
 
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 

Similar to สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551

สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551Mr-Dusit Kreachai
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011Boonlert Aroonpiboon
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ FURD_RSU
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 

Similar to สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551 (7)

สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
 
The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011The Reading of Population Survey 2011
The Reading of Population Survey 2011
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
 
Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008
 
Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008Thailand E Commerce Info 2008
Thailand E Commerce Info 2008
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 

สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551

  • 1.
  • 3. หนวยงานเจาของเรือง ่ สํานักสถิติเศรษฐกิจสังคมและประชามติ 2 สํานักงานสถิติแหงชาติ โทรศัพท 0 2281 0333 ตอ 1220 โทรสาร 0 2281 8617 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส : areerat@nso.go.th หนวยงานที่เผยแพร สํานักสถิติพยากรณ สํานักงานสถิติแหงชาติ ถนนหลานหลวง เขตปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 โทรศัพท 0 2281 0333 ตอ 1413 โทรสาร 0 2281 6438 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส services@nso.go.th ปที่จัดพิมพ 2552 จัดพิมพโดย บริษัท เท็กซ แอนด เจอรนัล พับลิเคชัน จํากัด ่ โทรศัทพ 0 2617 8611-2 โทรสาร 0 2617 8616
  • 4. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 i คําปรารภ สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดจัดทําการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 เพื่อใหมีขอมูลพื้นฐานทางประชากรและสังคมของเด็กและเยาวชน ไดแก อายุ เพศ ลักษณะการอยูอาศัย การการสงเสริมพัฒนาการในเด็กเล็ก การศึกษา กอนวัยเรียน การศึกษาของเด็กและเยาวชน ความสนใจใน IT และความรู เกี่ยวกับเชือ HIV/AIDS ของเยาวชน ซึ่งขอมูลเหลานี้จะนําไปใชประเมิน ้ สถานการณเด็กและเยาวชนในประเทศ และเปนประโยชนในการคํานวณ ตัวชี้วัดตางๆ เชน อัตราการเขาเรียน อัตราการไมเขาเรียน อัตราของเด็ก กําพรา เปนตน นอกจากนี้ยังเปนขอมูลที่สามารถใชติดตามความกาวหนาของ นโยบายและแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ดานการพัฒนาเด็กตามแนวทางโลก ที่เหมาะสมสําหรับเด็ก การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ครั้งนี้ ไดจัดทําแบบสอบถาม ที่ใชในการสํารวจใหมีความสอดคลองกับโครงการสํารวจสถานการณเด็ก ในประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2549 ซึ่งจัดทําเพื่อใหมีฐานขอมูลเกี่ยวกับ เด็กที่เปนมาตรฐานสากล และสามารถนําไปเปรียบเทียบกับนานาชาติได นอกจากนียังสามารถนําไปใชเปนตัวชี้วด ในการประเมินแผนการปฏิบัตงาน ้ ั ิ ของหนวยงานทีเ่ กี่ยวของดานเด็กและเยาวชน การสํารวจครั้งนี้หนวยงานตางๆ เชน Unicef กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพ และพิ ทั ก ษ เ ด็ ก และเยาวชน ผู ด อ ยโอกาสและผู สู ง อายุ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดมารวมพิจารณา แบบสอบถามใหมีความสมบูรณครบถวน ทั้งนี้เพื่อใหผลของการสํารวจ ตอบสนองตอความตองการที่แทจริงของผูใชขอมูลหลัก ซึ่งจะนําขอมูลไป ศึกษาวิเคราะหเชิงลึกตอไป สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 5. ii สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 นอกจากนี้มีหลายหนวยงานที่ไดนําผลจากการสํารวจที่ผานมา ไปใช เชน กระทรวงศึกษาธิการไดใชขอมูลดานการศึกษาเปนฐานขอมูล ดานครัวเรือนในการวางแผนและบริหารจัดการทางการศึกษา เพื่อนําไปใช ในเชิงนโยบายการวางแผนทางดานการทํางาน การปรับหลักสูตรการสอน เด็ก การพัฒนาการอานของเด็ก และนําไปคํานวณตัวชี้วัดเพื่อสะทอนภาพ สถานการณของเด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย นําไปจัดทํายุทธศาสตรการใหความรู การอบรมเด็กเล็กในแตละ ชวงวัย เพื่อเปนการวางแผนคุณภาพชีวิตของเด็กบนพื้นฐานที่เริ่มตนมาจาก ครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขนําไปใชเปนแนวคิดเรื่องการพัฒนาการ ของเด็ก เปนตน (นางธนนุช ตรีทิพยบุตร) เลขาธิการสถิติแหงชาติ สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 6. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 iii คํานํา ผลการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 พบประเด็นที่สําคัญดังนี้ เด็กและเยาวชน อายุ 0 – 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่ อาศัยอยูกับพอและแมรอยละ 61.8 เปนเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมรอยละ 20.1 ที่เหลือคืออยูกับพอหรือแมคนใดคนหนึ่ง สําหรับเด็กที่ไมไดอยูกับ พอและแม พบวา เด็กอาศัยอยูนอกเขตเทศบาลมากกวาในเขตเทศบาล (รอยละ 21.6 และ 16.5 ตามลําดับ) เด็กเหลานี้มีภาวะกําพราที่พอหรือแม คนใดคนหนึ่งเสียชีวิตรอยละ 90.8 และเปนเด็กที่ทั้งพอและแมเสียชีวิต รอยละ 9.2 และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค พบวา ลักษณะของภาวะกําพรา ที่พอหรือแมคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต ภาคใตมีอัตราสูงที่สุดคือรอยละ 95.5 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอัตราดังกลาวรองลงมา (รอยละ 91.6) นอกจากนี้ เมื่อ ศึก ษาถึง การมีสว นรว มในกิจ กรรมตา งๆ ของ สมาชิกในครัวเรือนกับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป เพื่อเปนการสงเสริมการเรียนรู และการเตรีย มความพรอ มกอ นเขา โรงเรีย นของเด็ก เล็ก พบวา พอ มี สัดสวนต่ําสุดในทุกกิจกรรมจากการสํารวจทั้งหมด 6 กิจกรรม และการมี หนังสือสําหรับเด็กในครัวเรือน ซึ่งกําหนดใหมีอยางนอย 3 เลม พบวา สวนใหญเด็กอาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็กเพียงรอยละ 40.7 สวนสาเหตุที่เด็กและเยาวชนไมเรียนหนังสือในปการศึกษา 2551 พบวา เพราะสําเร็จการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลวมีสัดสวนสูงสุดคือรอยละ 61.1 รองลงมาคือ เด็กไมมีเงินเรียนรอยละ 21.7 หากเปรียบเทียบกับการสํารวจที่ผานมา เชน การสํารวจสถานการณ เด็ก พ.ศ. 2548 - 49 พบวา เด็กกําพราในเขตเทศบาลลดลงเล็กนอย ในขณะที่ นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวาคือจากรอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 และภาวะ กําพราของเด็กในภาคตางๆ มีสดสวนลดลงเกือบทุกภาค โดยลดลงประมาณ ั สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 7. iv สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 รอยละ 1 ภาคใตลดลงนอยที่สุดเพียงรอยละ 0.4 ในขณะที่ลักษณะการ ไมไดอยูกบพอและแมของเด็กและเยาวชนกลับเพิ่มขึ้นจากรอยละ 15.2 เปน ั 16.5 ซึ่งสะทอนใหเห็นภาวะเสี่ยงของเด็กและเยาวชนในสังคมอีกดานหนึ่ง ในขณะที่ประเทศกําลังกาวเขาสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู คนในสังคมจะตองมีความตื่นตัวตอการพัฒนาเด็กและเยาวชน ซึ่งเปนพลัง สําคัญของชาติ ฉะนั้นผูมีสวนเกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนควรใหความสําคัญ กับการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามแนวทางทีเ่ หมาะสมใหมากขึ้น ตลอดจน รวมกันสงเสริมใหเด็กมีโอกาสในการเรียนรูเพิ่มขึ้น เชน การมีศูนยดูแลเด็กเล็ก ที่มีคุณภาพ การเปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนแสดงออกอยางอิสระ การมี หองสมุดเคลื่อนที่ เปนตน นอกจากนี้ควรมีการรณรงคใหยติการใชความ ุ รุนแรงกับเด็ก และมีมาตรการในการแกไขปญหาตางๆ ซึ่งเปนอุปสรรค ตอการเขาถึงการศึกษา ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพเด็กและเยาวชนของประเทศ ใหมีคุณภาพตอไป สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 8. v สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 บทสรุปผูบริหาร 1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีประมาณ 24.7 ลานคน เปนชาย 12.6ลานคน (รอยละ 51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9) ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1 และเยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7 แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 0–5 22.2% ชาย 51.1% 24.7 ลานคน 18 – 24 29.7% หญิง 48.9% เพศ 6 – 17 48.1% กลุมอายุ (ป) สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 9. vi สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิน 17.4 ลานคน พบวาเปนเด็กทีอาศัย ้ ่ อยูกับพอและแมรอยละ 61.8 และรอยละ 20.1 ไมไดอยูกับพอและแมหรือ เปนเด็กกําพรา แผนภูมิ 2 รอยละของเด็ก 0 – 17 ป จําแนกตามลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก พ.ศ. 2551 อยูกับแมเทานั้น อยูกับพอเทานั้น 11.9 1/ 22.8 เหนือ 26.0 อื่น ๆ กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ 11.4 61.8 % 17.4 ลานคน 20.1 % กรุงเทพมหานคร 17.7 15.0 % 3.1% ใต อยูกับพอและแม 1/ อื่นๆ หมายถึง เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม หรือเปนเด็กกําพราที่พอ/แม เสียชีวิต หรือ กําพราทั้งพอและแม สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 10. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 vii สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา ซึ่งอาจกําพราทั้งพอและแมหรือคนใด คนหนึ่งนั้นพบวา มีแนวโนมลดลงทั้งเด็กหญิงและชาย เมื่อเปรียบเทียบ กับการสํารวจในป 2548 - 49 โดยพบวา เด็กกําพราในเขตเทศบาลมีสัดสวน ลดลงเล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลงมากกวา คือจากรอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 ภาวะกําพราของเด็กในภาคตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค โดยลดลงประมาณรอยละ 1 สวนภาคใตลดลงเพียงรอยละ 0.4 แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ที่มภาวะกําพรา จําแนกตามเขตการปกครอง ี และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และพ.ศ. 2551 รอยละ 7 6.5 6 5 4.8 4.6 4.5 4.3 4 3 3.9 3.9 5.3 ในเขต นอกเขต เทศบาล เทศบาล กทม. และกลาง เหนือ 4.1 3.3 4.5 4.1 2 1 0 ป 2548 - 49 1/ ตะวันออก เฉียงเหนือ ป 2551 1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49 สํานักงานสถิติแหงชาติ ใต เขตการปกครอง และภาค
  • 11. viii สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป) ชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ป ของชีวิต การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด ตอการพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ สําหรับเด็กและสภาพการเลี้ยงดูในบานจึงเปนปจจัยแวดลอมที่สําคัญ ผลการสํารวจพบวา เด็กเล็กในประเทศ รอยละ 95.9 ไดรับการ ดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน ในการทํากิจกรรมรวมกันอยางนอย 4 กิจกรรม ในขณะที่เด็กที่มีพอรวมทํากิจกรรมอยางนอย 1 กิจกรรมมีรอยละ 60.7 1/ แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็กที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม การเรียนรู พ.ศ. 2551 รอยละ 1/ กิจกรรม 6 ประเภท ระหวางพอแม และคน อื่นๆ 100 80 60 40 20 95.9 60.7 ในครัวเรือนกับเด็กเล็ก 1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพ รวมกับเด็ก 2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตางๆ ใหเด็กฟง 3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/ รองเพลงกลอมเด็ก 4. การพาเด็กไปนอกบาน 5. การเลนกับเด็ก 6. การทํากิจกรรมอื่น เชน เรียกชื่อ นับเลข วาดรูป เปนตน ทั่วราชอาณาจักร 0 สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 12. ix สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 การมีหนังสือที่บานสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ เด็ก ซึ่งจะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอานหนังสือจากเด็กที่โตกวา และมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็กนั้น เด็กเล็กรอยละ 40.7 อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็กอยางนอย 3 เลมในขณะที่ รอยละ 61.2 ของเด็กเล็ก อาศัยอยูในครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ เด็กอยางนอย 3 เลม แผนภูมิ 5 รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม ประเภทหนังสือ พ.ศ. 2551 รอยละ 80 60 61.2 40 40.7 20 0 ทั่วราชอาณาจักร หนังสือไมใชสาหรับเด็ก ํ (อยางนอย 3 เลม) หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 13. x สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 4. การศึกษา การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุตากวา 5 ป ใน ่ํ รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน จากการสํารวจในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 - 4 ปทั้งสิ้น 1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียนใน โปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถานรับเลี้ยง เด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อพิจารณาเปนรายภาคและ เขตการปกครองพบวา ทุกภาคมีอัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนทุกประเภท สูงกวารอยละ 60 และสวนใหญเขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็กมากกวา ประเภทอื่น (รอยละ 59.6) โดยเด็กทีอยูนอกเขตเทศบาลเรียนในศูนยเด็กเล็ก ่  สูงกวาเด็กที่อยูในเขตเทศบาล (รอยละ66.2 และ 44.8ตามลําดับ) เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในปการศึกษา 2551 พบวา รอยละ 97.8 เรียนในระดับกอนประถมศึกษา อีกรอยละ 2.2 เรียนในระดับ ประถมศึกษา และ การศึกษาอืนๆ ่ เด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป มีทั้งสิ้น 19.2 ลานคน เปนผูทกําลัง ี่ เรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือรอยละ 67.5 เด็กเล็ก อายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือระดับประถมศึกษา มากกกวา รอยละ 90 ของทุกภาค เด็กที่เรียนระดับมัธยมศึกษา (12 – 17 ป) มีอัตราการเขาเรียนเกินกวารอยละ 70 ในขณะที่อัตราการเขาเรียนระดับ อุดมศึกษา (18 – 24 ป) มีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุดเพียงรอยละ 28.4 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 14. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 xi สรุปประเด็นเดน ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) 1. การอยูอาศัยกับพอแม  เด็กอายุ 0 – 17 ป มีจํานวน 17.4 ลานคน เปนเด็กที่อาศัยอยูกับ พอและแม (รอยละ 61.8) ที่ไมไดอยูกับพอและแม (รอยละ 20.1) ซึ่งภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดสวนสูงกวาภาคอื่น (รอยละ 26.0) 2. ภาวะกําพรา ้ เด็กที่มภาวะกําพราคือ พอหรือแมคนใดคนหนึ่งหรือทังพอและแม ี เสียชีวิต ซี่งเด็กที่พอหรือแมคนใดคนหนึ่งเสียชีวิตมีรอยละ 90.8 และ รอยละ 9.2 เปนเด็กกําพราที่ทงพอและแมเสียชีวิต ั้ การดูแลพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุต่ํากวา 5 ป) 3. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู เด็กอายุตากวา 5 ป รอยละ 95.9 ไดรับการดูแลจากสมาชิกใน ่ํ ครัวเรือน ในการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมสงเสริมการเรียนรู และการ เตรียมตัวไปโรงเรียนของเด็กอยางนอย 4 กิจกรรม โดยสมาชิกในครัวเรือน มีคาเฉลียของจํานวนกิจกรรมทีมีสัดสวนประมาณ 4.6 กิจกรรม จากทั้งหมด ่ ่ 6 กิจกรรม 4. หนังสือสําหรับเด็กในบาน การมีหนังสือที่บานสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับ เด็ก (อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) จะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการอาน หนังสือจากเด็กที่โตกวา และมีผลตอการเขาเรียนและไอคิวของเด็ก โดย สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 15. xii สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ครัวเรือนที่มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็กมีรอยละ 61.2 สวนหนังสือ สําหรับเด็ก มีเพียงรอยละ 40.7 การศึกษา 5. การศึกษากอนวันเรียน (อายุ 3 – 4 ป) เด็กเล็กอายุ 3 – 4 ป มีอัตราการเขาเรียนในระดับกอนวัยเรียน ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งรอยละ 73.0 สวนใหญเด็กที่อยูในเขตเทศบาล เขาเรียนในโรงเรียนอนุบาล (รอยละ 56.2) เด็กที่อยูนอกเขตเทศบาล เขาเรียนในโรงเรียนศูนยเด็กเล็ก (รอยละ 66.2) 6. การเขาเรียนในโรงเรียน เด็กและเยาวชนที่อยูในวัยเรียนอายุ 6 – 24 ป จํานวน 19.2 ลานคน  มีอัตราการเขาเรียนในปการศึกษา 2551 รอยละ 67.5 เด็กกลุมอายุ 6 - 11 ป มีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด รอยละ 99.4 7. เหตุผลทีไมเรียน ่ เหตุผลของเด็กและเยาวชนที่ไมเรียนในปการศึกษา 2551 มากที่สุด คือ เรียนจบการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลวรอยละ 61.1 โดยเปนผูที่จบ ระดับมัธยมศึกษามากที่สุดรอยละ 67.2 เหตุผลรองลงมาคือ ไมมีเงินเรียน รอยละ 21.7 ความสนใจใน IT 8. ความสนใจใน IT ในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ มีอัตราการใชคอมพิวเตอร ของเด็กและเยาวชน (5 – 24 ป) รอยละ 55.6 โดยกลุมเด็กอายุ 11 -17 ป มีอัตราการใชสูงที่สดรอยละ 82.6 ุ สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 16. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 xiii สารบัญ หนา คําปรารภ คํานํา บทสรุปผูบริหาร สรุปประเด็นเดน สารบัญแผนภูมิ สารบัญตาราง สรุปผลการสํารวจ 1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน 2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) 1.1 การอยูอาศัยกับพอแม 1.2 การไมไดอยูกับพอแม 3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุตากวา 5 ป) ่ํ 3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู 3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน 3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน 4. การศึกษา 4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป) 4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป 4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน (6 – 24 ป) 4.4 เหตุผลที่ไมเรียน สํานักงานสถิติแหงชาติ i iii v xi xv xix 1 2 4 5 6 9 9 13 15 16 16 18 19 21
  • 17. xiv สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 สารบัญ (ตอ) 5. ความสนใจใน IT 5.1 เหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอร 5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร 5.3 กิจกรรมที่ใชคอมพิวเตอร 6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส  6.1 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 6.2 ความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส ภาคผนวก ความเปนมา วัตถุประสงค ประโยชน ขอบขายและคุมรวม เวลาอางอิง รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม ระเบียบวิธีการดําเนินการสํารวจ คํานิยาม สํานักงานสถิติแหงชาติ หนา 22 23 24 25 27 28 29 31 31 32 32 32 33 33 34
  • 18. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 xv สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิ 1 แผนภูมิ 2 แผนภูมิ 3 แผนภูมิ 4 แผนภูมิ 5 แผนภูมิ 6 แผนภูมิ 7 หนา จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ 2 กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีไมไดอยูกบพอและแม ่ ั 6 จําแนกตามเขตการปกครองและภาค พ.ศ. 2548 - 49 และ พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีมีภาวะกําพรา จําแนกตาม 7 ่ ลักษณะของการกําพรา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวม 10 ในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. 2551 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรม 12 สงเสริมการเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภท กิจกรรมพ.ศ. 2551 รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม 13 ประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551 รอยละของเด็กอายุตากวา 5 ป ที่มีการเลนอุปกรณของเลน 15 ่ํ เมื่ออยูท่ีบาน จําแนกตามประเภทของเลน พ.ศ. 2551 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 19. xvi สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 สารบัญแผนภูมิ (ตอ) แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ หนา 8 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน 17 ของเด็กอายุ 3 – 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัย ในศูนยเด็กเล็ก ของเด็กที่เขาเรียน จําแนกตามภาค และเขตการปกครองพ.ศ. 2551 9 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ 18 และการเขาเรียนในปการศึกษา 2551 10 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป 19 จําแนกตามกลุมอายุและภาค ป 2551 11 อัตราการการเขาเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป 20 จําแนกตามระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551 12 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป 21 ที่ไมเรียน จําแนกตามเหตุผลทีไมเรียน ่ ในปการศึกษา 2551 13 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป 22 ที่เคยใชคอมพิวเตอรในระหวาง 12 เดือนกอน วันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 14 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป 23 ที่ไมใชคอมพิวเตอรในระหวาง 12 เดือนกอน วันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลที่ไมใช และ กลุมอายุ พ.ศ. 2551 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 20. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 xvii สารบัญแผนภูมิ (ตอ) แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ หนา 15 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป 24 ที่ใชคอมพิวเตอรมากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป 25 ที่ใชคอมพิวเตอรในการทํากิจกรรม จําแนกตาม ประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 17 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 – 24 ป ที่เคยไดยิน 28 เกี่ยวกับโรคเอดส และความเขาใจเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV/AIDS เปนอยางดี พ.ศ. 2551 18 รอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 13 – 24 ป ที่มี 29 ความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับความคิดที่มักเขาใจผิด เกี่ยวกับโรคเอดส พ.ศ. 2551 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 22. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 xix สารบัญตาราง หนา 3 ตาราง 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 – 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 ตาราง 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป 4 จําแนกตามการอยูอาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551 ตาราง 3 รอยละของเด็กอายุ 0 – 17 ป ทีมีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ 8 ่ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 24. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 1 สรุปผลการสํารวจ สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 โดยเก็บรวบรวมขอมูลของเด็กและเยาวชนอายุไมเกิน 24 ป ในเดือน กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน พ.ศ. 2551 จากจํานวนครัวเรือนตัวอยาง ประมาณ 59,000 ครัวเรือน การสํารวจเด็กและเยาวชนครั้งนี้ เพื่อใหมีขอมูลสําหรับนําไปใช ประเมินสถานการณเด็กและเยาวชนในประเทศ การคํานวณตัวชี้วัดตางๆ และสามารถใชติดตามความกาวหนาของนโยบาย และแผนยุทธศาสตร ระดับชาติดานการพัฒนาเด็กตามแนวทางโลกทีเ่ หมาะสมสําหรับเด็ก สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 25. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 2 1. ลักษณะทั่วไปของเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่มีอายุไมเกิน 24 ป มีอยูประมาณ 24.7 ลานคน  เปนชาย 12.6 ลานคน (รอยละ51.1) และหญิง 12.1 ลานคน (รอยละ 48.9) ประกอบดวยเด็กเล็ก (0 – 5 ป) รอยละ 22.2 เด็ก (6 - 17 ป) รอยละ 48.1 และเยาวชน (18 - 24 ป) รอยละ 29.7 แผนภูมิ 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ กลุมอายุ และภาค พ.ศ. 2551 เพศ ชาย 51.1% 24.7 ลานคน หญิง 48.9% 0–5 22.2% 18 – 24 29.7% 6 – 17 48.1% กรุงเทพมหานคร ใต 15.6 % 8.2 % 22.5 % ตะวันออก เฉียงเหนือ กลุมอายุ (ป) 36.5 % 17.2% เหนือ ภาค สํานักงานสถิติแหงชาติ กลาง
  • 26. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 3 หากจําแนกเด็กและเยาวชนเหลานี้เปน 4 กลุมยอย จะพบวา เปน กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มากที่สุดคือ 7.3 ลานคน และประมาณ 3 ใน 4 ของเด็กและเยาวชนอยูนอกเขตเทศบาล (17.6 ลานคน) โดยภาคตะวันออก เฉียงเหนือ มีเด็กและเยาวชนมากที่สุด 9.0 ลานคน (รอยละ 36.5) และ กรุงเทพมหานคร พบวา มีเด็กและเยาวชนนอยที่สด 2.0 ลานคน (รอยละ 8.2) ุ และมีเด็กและเยาวชน เปนสัดสวนนอยที่สุดในทุกกลุมอายุ ตาราง 1 จํานวนเด็กและเยาวชนอายุ 0 - 24 ป จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และกลุ ม อายุ พ.ศ. 2551 (หนวยเปนพัน) เพศ เขตการปกครอง และภาค ทั่วราชอาณาจักร เพศ ชาย หญิง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต กลุมอายุ (ป) รวม 0 – 5 ป 6 – 11 ป 12 – 17 ป 18 – 24 ป 24,797.1 5,500.2 5,762.7 6,159.4 7,374.8 12,667.8 12,129.3 2,802.6 2,697.6 2,950.4 2,812.3 3,154.2 3,005.3 3,760.6 3,614.1 7,138.2 17,658.9 1,745.5 3,754.7 1,671.3 4,091.3 1,660.6 4,498.8 2,060.7 5,314.1 2,036.4 5,571.9 4,266.0 9,042.0 3,880.8 588.0 1,261.6 834.9 1,908.1 907.7 490.9 1,280.7 962.8 2,135.9 892.4 415.5 1,335.8 1,126.3 2,341.9 939.9 542.0 1,693.7 1,342.1 2,656.1 1,140.8 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 27. 4 สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 2. ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก (0 – 17 ป) สภาพสังคมและเศรษฐกิจปจจุบัน ทําใหเด็กบางคนขาดการดูแล จากพอแม ตองอยูหางไกลจากพอแมผูใหกําเนิด หรือเปนเด็กกําพรา ซึ่ง ภาวะเชนนี้ทําใหเด็กตองเผชิญกับปญหาตางๆ เชน ภาวะขาดแคลน การถูก ทอดทิ้งการถูกเอารัดเอาเปรียบดานแรงงาน หรือทางเพศในรูปแบบตางๆ ฉะนั้นการเฝาติดตาม ลักษณะการอยูอาศัยของเด็ก และการจัดหาที่อยูอาศัย  ใหกับเด็ก จะชวยใหสามารถปองกันเด็กจากภาวะเสี่ยงดังกลาวได ตาราง 2 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป จําแนกตาม การอยูอาศัยกับพอ แม พ.ศ. 2551 เพศ เขตการปกครอง และภาค ทั่วราชอาณาจักร เพศ ชาย หญิง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุงเทพมหานคร กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต 17,416,851 อยูกับ พอและ แม 61.8 อยูกับ แม เทานั้น 15.0 อยูกับ พอ เทานั้น 3.1 ไมไดอยูกบ ั พอ และ แม 20.1 8,904,749 8,512,101 62.5 61.1 14..7 15..3 3.0 3.2 19.8 20.4 5,075,774 12,341,076 64.6 60.7 15.2 14.9 3.7 2.8 16.5 21.6 1,494,410 3,876,718 2,922,048 6,383,907 2,739,767 70.5 64.2 57.2 54.8 75.1 13.1 14.3 16.8 16.8 10.8 4.5 3.8 3.2 2.4 2.7 11.9 17.7 22.8 26.0 11.4 รวม สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 28. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 5 2.1 การอยูอาศัยกับพอแม  เด็กอายุไมเกิน 17 ป มีทั้งสิ้น 17.4 ลานคน เปนเด็กผูชาย 8.9 ลานคน และเปนเด็กผูหญิง 8.5 ลานคน ในจํานวนนี้มีเด็กที่อาศัยอยูกับพอและแม รอยละ 61.8 และรอยละ 20.1 ที่ไมไดอยูกับพอและแมหรือเปนเด็กกําพรา  ่  สําหรับเด็กที่อาศัยอยูกับพอหรือแมฝายใดฝายหนึงมีรอยละ 18.1 ซึ่งอาจเนืองจากการหยาราง หรือพอแมแยกกันอยูเนื่องจากการทํางาน โดย ่ พบวา สัดสวนของเด็กที่อยูกบแมสูงกวาอยูกับพอถึง 5 เทา (รอยละ 15.0 ั และ 3.1 ตามลําดับ) เมื่อพิจารณาตามเขตที่อยูอาศัย พบวา เด็กที่ไมไดอยูกับพอและแม นอกเขตเทศบาล มีสัดสวนสูงกวาในเขตเทศบาล (รอยละ 21.6 และ 16.5 ตามลําดับ) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ จะมีสัดสวนดังกลาว สูงกวาภาคอื่นคือ รอยละ 26.0 และ 22.8 ตามลําดับ ขณะที่ภาคใตมี สัดสวนต่ําสุดเพียงรอยละ 11.4 เทานั้น สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 29. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 6 2.2 การไมไดอยูกับพอแม เมือเปรียบเทียบกับผลการสํารวจสถานการณเด็ก ซึ่งเปนโครงการ ่ ที่สํานักงานสถิติแหงชาติ ดําเนินการรวมกับ UNICEF ใน พ.ศ. 2548 - 49 พบวา รอยละของเด็กที่ไมไดอยูกับพอและแมเพิ่มขึ้นเล็กนอย ทั้งในเขต เทศบาลและนอกเขตเทศบาล และเมื่อพิจารณาเปนรายภาคพบวา ทุกภาค มีสัดสวนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะภาคใตเพิ่มขึ้นมากกวาภาคอืนคือ จากรอยละ 9.8 ่ ใน พ.ศ. 2548 - 49 เปนรอยละ 11.4 ในพ.ศ. 2551 แตอยางไรก็ตาม เมือเทียบกับภาคอืนๆ อัตราการไมไดอยูกับพอแม ่ ่ ของภาคใตก็ยังเปนสัดสวนที่ต่ําสุด ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังคง สูงที่สุดเชนเดิม แผนภูมิ 2 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่ไมไดอยูกับพอและแม จําแนกตาม เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551 30 รอยละ 26.0 20 10 22.8 21.6 16.5 15.2 16.0 15.1 20.9 21.3 25.6 11.4 9.8 0 ในเขต เทศบาล นอกเขต เทศบาล กทม. และกลาง 1/ ป 2548 - 49 เหนือ ตะวันออกเฉียง เหนือ ป 2551 1/ โครงการสํารวจสถานการณเด็กในประเทศไทย ธ.ค. 48 – ก.พ. 49 สํานักงานสถิติแหงชาติ ใต เขตการ ปกครอง และภาค
  • 30. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 7 สําหรับเด็กที่มีภาวะกําพรา คือพอหรือแมคนใดคนหนึ่งหรือทั้งพอ และแมเสียชีวิต พบวา ทั้งประเทศมีเด็กที่มีภาวะกําพราที่พอหรือแมคนใด คนหนึ่งเสียชีวิตมากกวาทั้งพอและแมเสียชีวิตคือ รอยละ 90.8 โดยภาคใต มีเด็กกําพราลักษณะนี้มากที่สดถึงรอยละ 95.5 (แผนภูมิ 3) ุ แผนภูมิ 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามลักษณะของการ กําพรา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละ 100 9.2 12.6 10.3 11.2 8.4 4.5 90.8 87.4 89.7 88.8 91.6 95.5 80 60 40 20 0 ทั่วราชอาณาจักร กทม. พอและแมเสียชีวิต กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ พอ/แม คนใดคนหนึ่งเสียชีวต ิ สํานักงานสถิติแหงชาติ ใต ภาค
  • 31. 8 สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 สําหรับภาวะกําพราเมื่อเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2548 - 49 พบวามี สัดสวนลดลงคือ จากรอยละ 4.7 เปน รอยละ 4.0 โดยเด็กชายมีภาวะกําพรา นอยกวาเด็กหญิง (รอยละ 3.8 และ 4.1 ตามลําดับ) ในเขตเทศบาลมีภาวะกําพราสูงกวานอกเขตเทศบาล โดยพบวา เด็กกําพราในเขตเทศบาลลดลงเล็กนอย ในขณะที่นอกเขตเทศบาลลดลง มากกวาจากรอยละ 4.8 เปนรอยละ 3.9 และภาวะกําพราของเด็กในภาค ตางๆ มีสัดสวนลดลงทุกภาค โดยลดลงประมาณ รอยละ 1 สวนภาคใตลดลง เพียงรอยละ 0.4 ตาราง 3 รอยละของเด็กอายุ 0 - 17 ป ที่มีภาวะกําพรา จําแนกตามเพศ เขตการปกครอง และภาค พ.ศ. 2548 – 49 และ พ.ศ. 2551 เพศ เขตการปกครอง และภาค ทั่วราชอาณาจักร เพศ ชาย หญิง เขตการปกครอง ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล ภาค กรุงเทพมหานครและภาคกลาง เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต ภาวะกําพรา ป 2548 - 49 4.7 ป 2551 4.0 4.6 4.9 3.8 4.1 4.6 4.8 4.1 3.9 4.5 6.5 4.3 4.5 3.9 5.3 3.3 4.1 สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 32. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 9 3. การสงเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก (อายุตากวา 5 ป) ่ํ ในชวงอายุต่ํากวา 5 ป เปนชวงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด โดยเฉพาะในชวง 3 - 4 ปของชีวิต การเลี้ยงดูในบานจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด ตอการพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นกิจกรรมระหวางผูใหญและเด็ก หนังสือ สํา หรับ เด็ก และอุป กรณห รือ ของเลน ในบานจึงเปนปจจัยแวดลอมที่ สําคัญ 3.1 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู สําหรับกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู เปนการเปรียบเทียบการมีสวนรวม  ในกิจกรรม 6 ประเภท ระหวางพอแมและคนอื่นๆ ในครัวเรือนเปนกิจกรรม ที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน ไดแก 1. การอานหนังสือ/ดูสมุดภาพรวมกับเด็ก 2. การเลานิทาน/เลาเรื่องตางๆ ใหเด็กฟง 3. การรองเพลงรวมกับเด็ก/รองเพลงกลอมเด็ก 4. การพาเด็ก ไปนอกบาน 5. การเลนกับเด็ก 6. การทํากิจกรรมรวมกับเด็ก เชน เรียกชื่อ นับเลข วาดรูป เปนตน สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 33. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 10 แผนภูมิ 4 รอยละของเด็กเล็ก ที่สมาชิกในครัวเรือน/พอมีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริม  การเรียนรู พ.ศ. 2551 รอยละ 100 95.9 97.7 95.5 95.5 94.4 98.4 80 60 40 74.8 76.2 65.3 60.7 59.5 46.3 20 0 ทั่วราชอาณาจักร กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ สมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 4 กิจกรรมขึ้นไป พอมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกับเด็กเล็ก 1 กิจกรรมขึ้นไป สํานักงานสถิติแหงชาติ ใต ภาค
  • 34. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 11 จากผลการสํารวจแสดงใหเห็นวา เด็กเล็ก รอยละ 95.9 ไดรับการ ดูแลจากสมาชิกในครัวเรือน โดยสมาชิกในครัวเรือนมีสวนรวมในการทํา กิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรูและการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน อยางนอย 4 กิจกรรม ซึ่งคาเฉลี่ยของจํานวนกิจกรรมที่สมาชิกในครัวเรือน มีสวนเกี่ยวของคือ ประมาณ 4.6 กิจกรรม และผลการสํารวจไดชี้ใหเห็น วา พอมีสวนรวมทํากิจกรรมดังกลาวอยางนอย 1 กิจกรรม มีรอยละ 60.7  นอกจากนี้ยังพบความแตกตางระหวางภาคอยางเห็นไดชัด สําหรับการทํา กิจกรรมรวมกับพอของเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รอยละ 46.3) และภาคเหนือ(รอยละ 59.5) ทั้งนี้เนื่องจากเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมไดอยูกับพอมากที่สุด รองลงมาเปนภาคเหนือ (แผนภูมิ 4) สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 35. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 12 หากพิจารณาตามประเภทกิจกรรมระหวางพอแม และคนอื่นใน ครัวเรือน ในการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ กับเด็กเล็กอายุต่ํากวา 5 ป เพื่อสงเสริมการเรียนรู และการเตรียมความพรอมเพื่อเขาโรงเรียน พบวา แมเ ปน ผูที่มีสว นรว มในกิจ กรรมทุก ประเภทกับ เด็ก เล็ก ในสัด สว นที่ สูงสุด โดยเฉพาะการเลนรวมกัน (รอยละ 74.8) รองลงมาคือ คนอื่นๆ ใน ครัวเรือน และพอ (สัดสวนต่ําสุดในทุกกิจกรรม) และเมื่อพิจารณาเปน รายกิจกรรมพบวา กิจกรรมที่บุคคลในครัวเรือน มีสวนรวมในการทํา กิจกรรมกับเด็กเล็กมากที่สุดคือ การเลนรวมกัน รองลงมาคือ การพาไป นอกบาน สวนกิจกรรมที่ทํารวมกับเด็กเล็กนอยที่สุดคือ การเลานิทาน เลาเรื่องตางๆ แผนภูมิ 5 รอยละของสมาชิกในครัวเรือน ที่มีสวนรวมในกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู กับเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จําแนกตามประเภทกิจกรรม พ.ศ. 2551 กิจกรรม 35.8 การอ านหนังสื อ /ดูส มุดภาพ 26.2 34.4 การรอ งเพลง 14.5 พ อ 53.4 คนอื่ น ๆ ในครัวเรือ น ไมมีใครรวมในกิจกรรมนี้ 63.6 47.1 54.1 การพาไปนอกบาน 4.1 72.9 59.7 57.3 การเล นรวมกัน ทํากิจกรรมอื่ น 41.0 30.1 36.7 29.1 การเล านิทาน/เล าเรื่อ งตาง ๆ 2.5 1/ 42.5 18.5 0 25 แม 56.3 74.8 66.5 61.6 50.3 รอยละ 50 1/ : กิจกรรมอื่น ไดแก เรียกชื่อ สิ่งของ นับเลข วาดรูป เปนตน สํานักงานสถิติแหงชาติ 75 100
  • 36. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 13 3.2 การมีหนังสือสําหรับเด็กในบาน การมีหนังสือสําหรับเด็กรวมทั้งหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลมในครัวเรือน) ที่บานจะชวยทําใหเด็กมีโอกาสไดเห็นการ  อานหนังสือจากเด็กที่โตกวา ซึ่งจะมีผลตอการอยากเขาเรียนและไอคิวของเด็ก แผนภูมิ 6 รอยละของเด็กเล็ก ที่มีหนังสือในครัวเรือน จําแนกตาม ประเภทหนังสือ และภาค พ.ศ. 2551 80 รอยละ 69.1 60 40 64.8 61.2 50.9 65.8 58.5 46.1 53.6 41.5 40.7 35.9 35.6 20 0 ทั่วราชอาณาจักร กทม. กลาง ภาค เหนือ หนังสือที่ไมใชสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) หนังสือสําหรับเด็ก (อยางนอย 3 เลม) สํานักงานสถิติแหงชาติ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต
  • 37. 14 สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ผลการสํารวจพบวา เด็กอายุต่ํากวา 5 ป รอยละ 40.7 อาศัยอยูใน ครัวเรือนที่มีหนังสือสําหรับเด็ก อยางนอย 3 เลม โดยกรุงเทพมหานครมี สัดสวนมากที่สุด (รอยละ 50.9) และรอยละ 61.2 ของเด็กเล็ก อาศัยอยูใน ครัวเรือนที่มีหนัง สือ ที่ไ มใชห นัง สือ สํา หรับ เด็ก อยางนอย 3 เลม โดย กรุงเทพมหานครมีสัดสวนมากที่สุด (รอยละ 69.1) รองลงมาคือ ภาคเหนือ รอยละ 65.8 (แผนภูมิ 6) หากพิจ ารณาหาคา เฉลี ่ย ของจํ า นวนหนั งสื อที่ มี ในบ านพบว า ครัวเรือนที่มีเด็กเล็ก มีหนังสือที่ไมใชหนังสือสําหรับเด็กโดยเฉลี่ยจํานวน 7 เลมตอคน ในขณะที่มีหนังสือสําหรับเด็ก โดยเฉลี่ยจํานวน 4 เลมตอคน สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 38. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 15 3.3 อุปกรณหรือของเลนในบาน ผลการสํารวจเด็กอายุต่ํากวา 5 ป มีทั้งสิ้น 4.5 ลานคน พบวา สวนใหญมีของเลนที่ซื้อมา/ไดมา มากที่สุด (รอยละ 81.8) รองลงมาเปน ของเลนทีเ่ ปนสิ่งของนอกบาน ไดแก กิ่งไม หิน สัตว เปลือกหอย หรือ ใบไม (รอยละ 36.6) เปนสิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน เชน ชาม จาน ถวย หมอ (รอยละ 33.6) และเปนของเลนที่ทําขึ้นเอง ไดแก ตุกตา รถ นอยที่สุดเพียงรอยละ 32.3 แผนภูมิ 7 รอยละของเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่มีการเลนอุปกรณของเลน เมื่ออยูท่ีบาน จําแนกตาม ประเภทของเลน พ.ศ. 2551 100 รอยละ 81.8 80 60 40 33.6 36.6 32.3 20 ทั่วราชอาณาจักร 0 A B C D A = สิ่งของเครื่องใชในครัวเรือน B = สิ่งของจากนอกบาน C = ของเลนที่ทําขึ้นเอง D = ของเลนที่ซื้อมา/ไดมา สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 39. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 16 4. การศึกษา 4.1 การศึกษากอนวัยเรียน (อายุ 3 – 4 ป) การสงเสริมใหมีการศึกษากอนวัยเรียนของเด็กอายุ 3 – 4 ป ใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง มีความสําคัญตอความพรอมของเด็กในการเขาเรียน จากการสํารวจในป 2551 พบวา ประเทศไทยมีเด็กอายุ 3 – 4 ป ทั้งสิ้น 1.8 ลานคน ในจํานวนนี้ประมาณ 3 ใน 4 (รอยละ 73.0) เปนผูที่กําลังเรียน ในโปรแกรมกอนวัยเรียน เชน การเขาเรียนในศูนยเด็กเล็ก หรือสถาน รับเลี้ยงเด็กชุมชน โรงเรียนอนุบาล เปนตน และเมื่อพิจารณาเปนรายภาค และเขตการปกครองพบวา ทุกภาคมีอัตราการเขาเรียนกอนวัยทุกประเภท สูงกวารอยละ 60 โดยภาคเหนือมีอัตราการเขาเรียนสูงที่สุด (รอยละ 82.0) เด็กที่อยูนอกเขตเทศบาล มีอัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนสูงกวาเด็กที่อยู ในเขตเทศบาล (รอยละ 74.5 และ 69.6 ตามลําดับ) เมื่อพิจารณาประเภทของสถานศึกษาที่เด็กกอนวัยเรียนเขาเรียน พบวา เด็กที่กําลังเรียนในโปรแกรมกอนวัยเรียน สวนใหญเขาเรียนในโรงเรียน ศูนยเด็กเล็กมากกวาประเภทอืน (รอยละ 59.6) โดยเด็กเล็กในภาคตะวันออก ่ เฉียงเหนือ มีอัตราการเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กมากที่สุดถึงรอยละ 78.6 นอกจากนี้พบวา เด็กเล็กที่อยูนอกเขตเทศบาลเขาเรียนในศูนยเด็กเล็กสูงกวา  เด็กเล็กที่อยูในเขตเทศบาลอยางเห็นไดชัด (รอยละ 66.2 และ 44.8 ตามลําดับ) สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 40. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 17 แผนภูมิ 8 อัตราการเขาเรียนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง กอนวัยเรียน ของเด็กอายุ 3 – 4 ป และอัตราการเขาเรียนกอนวัยในศูนยเด็กเล็กของเด็กที่เขาเรียน จําแนก ตามภาค และเขตการปกครอง พ.ศ. 2551 100 80 รอยละ 82.0 75.6 73.0 62.6 60 40 59.6 67.9 72.5 69.6 41.0 41.4 55.1 78.6 56.4 74.5 44.8 66.2 20 0 ทั่วราชอาณาจักร กทม. กลาง เหนือ ตะวันออก ใต เฉียงเหนือ ในเขต นอกเขต เทศบาล เทศาล อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียน (ของเด็กอายุ 3 - 4 ป) อัตราการเขาเรียนกอนวัยเรียนในศูนยเด็กเล็ก (ของเด็กที่เขาเรียน) สํานักงานสถิติแหงชาติ เขตการปกครอง และภาค
  • 41. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 18 4.2 การเขาเรียนของเด็กอายุ 5 ป เด็กอายุ 5 ป มีทั้งสิ้น 9.3 แสนคน ในจํานวนนี้เปนเด็กที่ไดเขาเรียน ในระดับกอนประถมศึกษาและประถมศึกษา ในปการศึกษา 2551 รอยละ 97.1 โดยเรียนในระดับกอนประถมศึกษา รอยละ 97.8 และ เรียนในระดับประถมศึกษา และการศึกษาอืนๆ รอยละ 2.2 ไดแก เรียนศาสนา ่ แผนภูมิ 9 จํานวนและรอยละของเด็กอายุ 5 ป จําแนกตามเพศ และการเขาเรียนใน ปการศึกษา 2551 ไมเรียน 2.9 % ประถมศึกษา และอื่น ๆ 2.2 % ชาย 51.1 % 9.3 แสนคน เรียน 97.1 % หญิง 48.9 % สํานักงานสถิติแหงชาติ กอน ประถมศึกษา 97.8 %
  • 42. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 19 4.3 การศึกษาของเด็กและเยาวชน ( 6 – 24 ป) เด็กและเยาวชนทีอยูในวัยเรียน อายุ 6 – 24 ป จํานวน 19.2 ลานคน ่  เปนผูที่กาลังเรียนในปการศึกษา 2551 จํานวน 13.0 ลานคน หรือคิดเปน ํ อัตราการเขาเรียน รอยละ 67.5 หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมอายุ 6 – 11 ป มีอัตราการเขาเรียน  มากที่สุด (รอยละ 99.4) รองลงมาคือ เด็กกลุมอายุ 12 – 17 ป (รอยละ87.1) และเยาวชนอายุ 18 – 24 ป (รอยละ 26.1) กรุงเทพมหานคร มีอัตราการ เขาเรียนสูงสุด (รอยละ 73.5) สวนภาคอืนๆ ที่เหลือมีสัดสวนใกลเคียงกัน ่ โดยภาคใตมีอัตราต่าที่สุดคือ รอยละ 65.3 ํ แผนภูมิ 10 อัตราการเขาเรียนของเด็กและเยาวชน อายุ 6 – 24 ป จําแนกตามกลุม อายุ และภาค ป 2551 100 รอยละ ทั่วราชอาณาจักร รอยละ 67.5 99.4 87.1 73.5 66.2 67.7 67.8 65.3 80 60 40 26.1 20 0 ภาค กลุมอายุ 6-11 ป 12-17 ป กทม. กลาง 18-24 ป เหนือ สํานักงานสถิติแหงชาติ ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต
  • 43. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 20 หากพิจารณาอัตราการเขาเรียนตามระดับการศึกษาและภาค พบวา อัตราการเขาเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกภาค มีอัตราการเขาเรียนประมาณ 90% (ภาคเหนือสูงสุดคือ รอยละ 92.5) และ อัตราเริ่มลดลงในระดับมัธยมศึกษา แตยังเปนอัตราที่คอนขางสูงคือ เกินกวา รอยละ 70.0 (ภาคเหนือสูงสุดคือรอยละ 80.1) สวนอัตราการเขาเรียน ระดับอุดมศึกษามีความแตกตางระหวางกรุงเทพมหานคร และภาคอื่นๆ อยางเห็นไดชัดคือ อัตราการเขาเรียนระดับอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร สูงที่สุดคือ รอยละ 28.4 ในขณะที่ภาคอื่นมีอัตราไมเกินรอยละ 13.0 ซึ่ง อาจเนื่องจากสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา สวนใหญอยูในกรุงเทพมหานคร แผนภูมิ 11 อัตราการการเขาเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป จําแนกตาม ระดับการศึกษา และภาค พ.ศ. 2551 รอยละ 92.5 กรุง เทพมหานคร 80.1 100 กลาง เหนือ 80 ตะวันออกเฉียงเหนือ 60 ใต 40 28.4 20 0 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา สํานักงานสถิติแหงชาติ ภาค
  • 44. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 21 4.4 เหตุผลทีไมเรียน ่ สําหรับเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียนในปการศึกษา 2551 มีทั้งสิ้น 6.2 ลานคนนั้นพบวา เหตุผลที่ไมเรียนมากที่สุดคือ เปน ผูสําเร็จการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งแลว (รอยละ 61.1) ซึ่งในกลุมนี้สวนใหญ เปนผูที่เรียนจบระดับมัธยมศึกษา (รอยละ 67.2) เหตุผลรองลงมาคือ ไมมี เงินเรียนรอยละ 21.7 ปวย/พิการรอยละ 2.5 นอกนันไมเรียนเพราะเหตุผล ้ อื่นๆ เชน ตองทํางาน โรงเรียนอยูไกล ไมมีสูติบัตร/ใบแจงเกิด การไมมี สัญชาติไทย การมีปญหาเรื่องภาษา เปนตน แผนภูมิ 12 จํานวนและรอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 24 ป ที่ไมเรียน จําแนกตาม เหตุผลที่ไมเรียน ในปการศึกษา 2551 ระดับการศึกษาของผูที่จบ เหตุผลที่ไมเรียน เหตุผลอื่น ปวย/พิการ 17.3 21.7% 6.2 ลานคน 61.1% ไมมีเงินเรียน 67.2 มัธยมศึกษา 15.4 14.7% 2.5% ประถมศึกษา สูงกวามัธยมศึกษา อื่น ๆ 0.1 เรียนจบการศึกษาแลว สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 45. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 22 5. ความสนใจใน IT ผลการสํารวจเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป พบวา เปนเด็กและ เยาวชน จํานวน 20.2 ลานคน และในระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ มีอัตราการใชคอมพิวเตอร รอยละ 55.6 หากพิจารณาเปนกลุมอายุ พบวา กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป มีอัตรา  การใชสูงที่สุด รอยละ 82.6 รองลงมาเปน กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอตราการใช  ั รอยละ 44.2 และกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มีอัตราการใชนอยที่สุดคือ รอยละ 37.7 แผนภูมิ 13 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่เคยใชคอมพิวเตอรใน ระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 82.6 80 60 55.6 44.2 37.7 40 20 0 ทั่วราชอาณาจักร 5 - 10 11 - 17 สํานักงานสถิติแหงชาติ 18 - 24 กลุมอายุ
  • 46. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 23 5.1 เหตุผลทีไมใชคอมพิวเตอร ่ เมื่อพิจารณาเหตุผลที่ไมใชคอมพิวเตอรของกลุมเด็กและเยาวชน อายุ 5 – 24 ป พบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป สวนใหญไมใชเพราะยังใชไมเปน (รอยละ 63.8) กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ไมใชคอมพิวเตอรดวยสาเหตุเพราะ  บานไมมีคอมพิวเตอรมากที่สุด (รอยละ 38.3) รองลงมาคือ ใชไมเปน (รอยละ 34.5) สําหรับสาเหตุที่ไมใชคอมพิวเตอรของกลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป มีหลายเหตุผลรวมๆ กัน มากที่สุด (รอยละ 37.2) ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา และบานไมมีคอมพิวเตอร (รอยละ 32.4) เปนสาเหตุรองลงมา แผนภูมิ 14 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ไมใชคอมพิวเตอรใน ระหวาง 12 เดือนกอนวันสัมภาษณ จําแนกตามเหตุผลทีไมใช และกลุม ่ อายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 11.4 80 60 63.8 34.5 3.4 40 20 23.8 4.3 20.5 5 – 10 38.3 11 - 17 37.2 30.2 0.2 32.4 18 - 24 บานไมมีคอมพิวเตอร โรงเรียนไมมคอมฯ ี ใชไมเปน อื่นๆ ไดแก ไมสนใจ ไมมีเวลา สํานักงานสถิติแหงชาติ กลุมอายุ (ป)
  • 47. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 24 5.2 แหลงที่ใชคอมพิวเตอร จากการสํารวจแหลงที่เด็กและเยาวชนใชคอมพิวเตอร พบวา ทุกกลุม อายุ ใชคอมพิวเตอรที่สถานศึกษามากทีสุด โดยกลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป มี ่ สัดสวนการใชมากทีสุด (รอยละ 77.9) แหลงที่ใชรองลงมา พบวา กลุม ่ เด็กอายุ 5 – 10 ป ใชที่บาน และที่อื่นๆ (รอยละ 23.1 และ 1.1 ตามลําดับ) โดยพบวา ใชที่รานอินเตอรเน็ตเพียงรอยละ 0.7  กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ใชที่บานและรานอินเตอรเน็ต (รอยละ 19.4 และ 1.6 ตามลําดับ) สําหรับกลุมเยาวชน 18 – 24 ป ใชที่บาน ที่ทํางาน และ   รานอินเตอรเน็ต ในสัดสวนที่สูงกวาทุกกลุม คือ รอยละ 34.6 11.4 และ 6.2 ตามลําดับ) เนืองจากเปนกลุมที่เปนผูทํางานแลวบางสวน ่  แผนภูมิ 15 อัตรารอยละของแหลงที่เด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอร มากที่สุด จําแนกตามกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 1.1 0.8 0.7 1.7 1.6 6.2 80 60 75.1 46.1 77.9 40 20 11.4 0.3 23.1 19.4 5 – 10 11 - 17 ที่บาน ที่ทํางาน ราน อื่น ๆ 34.6 18 - 24 สถานศึกษา 1/ 1/ : อื่นๆ ไดแก บานเพื่อน ศูนยบริการสารสนเทศเพื่อประชาชน ที่ทํางานของพอ/แม สํานักงานสถิติแหงชาติ กลุมอายุ (ป)
  • 48. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 25 5.3 กิจกรรมทีใชคอมพิวเตอร ่ เมือพิจารณาการใชคอมพิวเตอรของเด็กและเยาวชน ในการทํากิจกรรม ่ พบวา กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป ใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนมากที่สุด (รอยละ 85.2) รองลงมาใชเพือการบันเทิง และหาความรู (รอยละ 11.1 และ 2.8 ่ ตามลําดับ) กลุมเด็กอายุ 11 – 17 ป ใชเพื่อการเรียนมากทีสุดเชนกัน คือ ่ รอยละ90.0 รองลงมาใชเพือการบันเทิงเชนกันคือ รอยละ 4.6 และเพื่อหา ่ ความรู รอยละ 3.8 ในขณะที่กลุมเยาวชนอายุ 18 – 24 ป ใชคอมพิวเตอร เพื่อการเรียนมากที่สุดเชนกัน (รอยละ 61.1) รองลงมาคือ ใชเพื่อการทํางาน (รอยละ 15.0) และมีอัตราการใชคอมพิวเตอรเพื่อการบันเทิง และหาความรู ในอัตราทีสูงกวา 2 กลุมแรกคือ รอยละ 11.8 และ 8.3 ตามลําดับ ่ สําหรับการใชคอมพิวเตอร เพือทองอินเตอรเน็ต กลุมอายุ 18 – 24 ป ่  มีอัตราสูงกวากลุมอืน (รอยละ 3.6) และการใชเพือกิจกรรมอืนๆ นอกเหนือ ่ ่ ่ จากที่กลาว ไดแก การใชอุปกรณรวมกับคอมพิวเตอร เพื่อการฝกหัด การพิมพของเด็กเล็ก กลุมเด็กอายุ 5 – 10 ป มีอัตราการใชมากกวากลุมอื่น (รอยละ 0.4) สํานักงานสถิติแหงชาติ
  • 49. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 26 แผนภูมิ 16 อัตรารอยละของเด็กและเยาวชนอายุ 5 – 24 ป ที่ใชคอมพิวเตอรในการ ทํากิจกรรม จําแนกตามประเภทกิจกรรม และกลุมอายุ พ.ศ. 2551 รอยละ 100 0.4 80 11.1 2.8 0.1 0.5 0.2 1.1 3.6 4.6 3.8 11.8 8.3 60 40 85.2 90.0 61.1 20 0.4 15.0 5 – 10 11 - 17 ทํางาน การเรียน หาความรู บันเทิง ทองอินเทอรเน็ต อื่น ๆ สํานักงานสถิติแหงชาติ 18 - 24 กลุมอายุ (ป)
  • 50. สรุปผลที่สําคัญ การสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 27 6. ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส ความรูและความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับเชื้อเอดส เปนปจจัยสําคัญ ที่ตองใหมการตระหนักรูอยางยิง ซึ่งจะชวยลดอัตราการติดเชือเอดสไดทางหนึ่ง ี  ่ ้ และควรใหเกิดการใหความรูทถูกตอง เพื่อใหเปนเครืองมือสําหรับเยาวชน ี่ ่ หรือผูเ ยาว นําไปใชในการปองกันตนเองจากการติดเชือ ้ สํานักงานสถิติแหงชาติ