SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
คำนำ
ผูเขียนตั้งใจที่จะเขียนหนังสือเลมนี้เพื่อใชเปนหนังสืออานนอกเวลาสำหรับ
รายวิชา 2223381 ประวัติวรรณคดีญี่ปุน 1 ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแตยุคแรกเริ่มของ
วรรณกรรมญี่ปุนจนถึงวรรณกรรมสมัยเฮอัน วรรณกรรมเรื่องโคะจิกิเปนวรรณกรรม
ที่เกาแกที่สุดของญี่ปุน บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุน
ตำนานเทพแตละตอนสะทอนใหเห็นถึงสภาพสังคมและความคิดความเชื่อของ
คนญี่ปุนในสมัยโบราณ อีกทั้งยังแสดงใหเห็นถึงขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรของ
ญี่ปุน นับเปนวรรณกรรมที่นิสิตและผูที่สนใจวรรณคดีญี่ปุนสมควรไดศึกษาเรียนรู
ผูเขียนไดหยิบยกตำนานเทพในวรรณกรรมโคะจิกิภาคแรกออกมาโดยแบงเปน
6 ตอน โดยแปลจากตนฉบับภาษาญี่ปุนโบราณเปนภาษาไทย และเขียนบทอธิบาย
หลังตำนานเทพแตละตอนเพื่อเปนการอธิบายใหผูอานไดเรียนรูและเขาใจถึงสิ่งที่
ซุกซอนอยูเบื้องหลังตำนานเทพเหลานั้น โดยหวังวาหนังสือเลมนี้จะชวยกอใหเกิด
ความกาวหนาทางวิชาการและชวยเสริมสรางความรูและเปนประโยชนตอสาขา
วิชาภาษาญี่ปุน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการศึกษาวรรณคดีญี่ปุนโบราณซึ่งมีความ
ยากลำบากในเรื่องภาษาและการตีความ รวมไปจนถึงการวิเคราะหวรรณกรรมเพื่อให
เขาใจถึงสิ่งที่ผูเขียนตองการสื่อใหผูอานไดรับรู หากมีขอผิดพลาดประการใดผูเขียน
ตองขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย
ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรถยา สุวรรณระดา
พฤศจิกายน 2553
AW_Japan_4.indd gAW_Japan_4.indd g 10/25/10 7:20:34 PM10/25/10 7:20:34 PM
สารบัญ
บทนำ 1
ตอนที่ 1 กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุน 5
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 1 20
ตอนที่ 2 เทพอะมะเตะระซุและเทพซุซะโนะโอะ 35
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 2 45
ตอนที่ 3 เทพโอกุนินุฌิ 57
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 3 70
ตอนที่ 4 กำราบพื้นพิภพ 81
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 4 88
ตอนที่ 5 เทพนินิงิ 93
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 5 100
ตอนที่ 6 เทพโฮะโอะริ 109
เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 6 116
บทสรุป 123
บรรณานุกรม 127
AW_Japan_4.indd iAW_Japan_4.indd i 10/25/10 7:20:36 PM10/25/10 7:20:36 PM
แผนที่เกาะทั้งแปดของญี่ปุน 32
แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพซุซะโนะโอะจนถึงเทพโอกุนินุฌิ 53
แผนที่เมืองตาง ๆ รอบเมืองอิสุโมะ 75
แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพโอกุนินุฌิจนถึงเทพโททซุยะมะซะกิตะระฌิ 76-77
แผนผังดินแดนตาง ๆ ในโคะจิกิ 92
แผนผังการสืบเชื้อสายมหาเทพอะมะเตะระซุจนถึงเทพนินิงิ 106
แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพนินิงิจนถึงจักรพรรดิจิมมุ 121
สารบัญภาพ
สารบัญ
แผนที่และ
แผนผัง
ภาพศาลเจาโอะโนะโงะโระ 33
ภาพศาลเจาซุมิโยะฌิ 34
ภาพถ้ำหินแหงสวรรคจำลอง 54
ภาพทางเขาสูวิหารในของศาลเจาอิเซะ 55
ภาพปายอธิบายซึ่งตั้งอยูตรงหนาสะพานหนาทางเขาสูวิหารในของศาลเจาอิเซะ 56
ภาพศาลเจาอิสุโมะ 78-79
ภาพรูปปนเทพโอกุนินุฌิกับกระตายขาวเมืองอินะบะ 80
ภาพศาลเจาซะรุตะฮิโกะ 107
ภาพศาลเจาซะรุเมะ 108
AW_Japan_4.indd jAW_Japan_4.indd j 10/25/10 7:20:36 PM10/25/10 7:20:36 PM
โคะจิกิ (Kojiki) เปนวรรณกรรมที่เกาแกที่สุดของญี่ปุน รวบรวมขึ้นโดยพระราชดำริ
ของจักรพรรดิเท็มมุ (Temmu) ที่ทรงมีพระราชดำริวาสมควรรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ
ราชวงศรวมทั้งเทพนิยายและตำนานตาง ๆ เอาไวเพื่อใหชนในชาติมีประวัติศาสตร
ที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงโปรดเกลาฯ ใหนักเลานิทานชื่อวา ฮิเอะดะโนะอะเระ
(Hieda no are) ทองจำเรื่องราวตาง ๆ เอาไว ตอมาในสมัยจักรพรรดินีเก็มเมะอิ
(Gemmei) ไดทรงมีพระบรมราชโองการใหโอะโนะยะซุมะโระ (Onoyasumaro) บันทึก
เรื่องราวเหลานั้นไวเปนลายลักษณอักษรและนำมาปรับแกไขจนเสร็จสมบูรณใน
ค.ศ. 712
โคะจิกิ หรือฟุรุโกะโตะบุมิ หมายถึง บันทึกเรื่องราวที่เลาสืบตอกันมาแตโบราณ
โคะจิกิเขียนขึ้นโดยใชตัวอักษรจีนเนื่องจากสมัยนั้นญี่ปุนยังไมมีตัวอักษรเปนของ
ตัวเอง จึงตองใชอักษรจีนมาอานเปนเสียงแบบจีนและแบบญี่ปุนโดยใชไวยากรณ
ญี่ปุน เนื้อเรื่องในโคะจิกิมีลักษณะคลายนิทานที่ถูกแบงออกเปนตอน ๆ การเรียงลำดับ
เนื้อหาในเรื่องบางครั้งจะไมเรียงตามลำดับเวลา ลักษณะการประพันธเปนวรรณกรรม
รอยแกวโดยมีบทเพลงพื้นบานและบทกลอนแทรกอยูบางเปนบางชวง โคะจิกินับเปน
วรรณกรรมที่มีคุณคายิ่งในฐานะที่เปนวรรณกรรมลายลักษณอักษรเรื่องแรกของญี่ปุน
และยังเปนวรรณกรรมที่บอกเลาตำนานและเรื่องราวความเปนมาในอดีตของประเทศ
ญี่ปุน
บทนำ
AW_Japan_4.indd Sec1:1AW_Japan_4.indd Sec1:1 10/25/10 7:20:37 PM10/25/10 7:20:37 PM
2
โคะจิกิมี 3 ภาค ภาคแรก กลาวถึงกำเนิดของเทพและโลกมนุษยจนถึงสมัย
จักรพรรดิจิมมุ (Jimmu) ซึ่งเปนจักรพรรดิองคแรกของญี่ปุน (660 ปกอนคริสตกาล)
ภาคที่สอง ตั้งแตสมัยจักรพรรดิจิมมุจนถึงสมัยจักรพรรดิโอจิน (Oujin) ซึ่งเปนจักรพรรดิ
องคที่ 15 และภาคที่สาม ตั้งแตสมัยจักรพรรดินินโตะกุ (Nintoku) จนถึงสมัยจักรพรรดินี
ซุอิโกะ (Suiko) ซึ่งเปนจักรพรรดิองคที่ 33 ของประเทศญี่ปุน ในหนังสือเลมนี้จะขอ
หยิบยกเฉพาะในสวนของภาคแรกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับตำนานเทพโดยเริ่มตั้งแตเรื่องราว
กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุนไปจนถึงเรื่องราวตอนที่เทพวะกะมิเกะนุ หรือตอมาคือ
จักรพรรดิจิมมุซึ่งเปนจักรพรรดิองคแรกของญี่ปุนไดถือกำเนิด
ตำนานเทพในโคะจิกิมีเนื้อหาแสดงใหเห็นวัฒนธรรมการดำรงชีวิตของชาว
ญี่ปุนซึ่งผูกพันอยูกับธรรมชาติและมีความศรัทธาตอเทพ ซึ่งสถิตอยูทั่วไปในทุกสรรพสิ่ง
และในอีกทางหนึ่งยังสะทอนใหเห็นความชอบธรรมในการปกครองแผนดินของ
จักรพรรดิราชวงศยะมะโตะ สภาพความเปนจริงทางการเมืองบางอยางในอดีตของ
ญี่ปุนไดถูกถายทอดโดยซุกซอนไวอยูเบื้องหลังตำนานเทพนี้ ในหนังสือเลมนี้จะ
หยิบยกเนื้อหาเกี่ยวกับตำนานเทพในภาคแรกของโคะจิกิ โดยแปลเนื้อหาจากตนฉบับ
ภาษาญี่ปุนโบราณ ซึ่งสำนักพิมพโคดันฌะ (Kodansha) ของญี่ปุนไดตีพิมพไวในหนังสือ
ชุดโคดันฌะกะกุจุทซุบุงโกะ (Kodansha gakujutsu bunko) และใสบทอธิบายและ
วิเคราะหโดยสรุปจากการคนควาเรียบเรียงขอมูลจากหนังสือตาง ๆ รวมถึงบทความ
และวิทยานิพนธที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยจะหยิบดึงสิ่งที่ซอนเรนอยูเบื้องหลังตำนาน
เทพเหลานี้ออกมาอธิบายใหเห็นชัด
หนังสือเลมนี้ไดใชระบบถอดอักษรภาษาญี่ปุน ซึ่งเปนผลงานวิจัยของ
อาจารยสาขาวิชาภาษาญี่ปุน (ผศ. ดร.กัลยาณี สีตสุวรรณ, ผศ.สุชาดา สัตยพงศ,
รศ. ดร.เสาวลักษณ สุริยะวงศไพศาล) อาจารยภาควิชาภาษาศาสตร (ผศ. ดร.สุดาพร
AW_Japan_4.indd Sec1:2AW_Japan_4.indd Sec1:2 10/25/10 7:20:38 PM10/25/10 7:20:38 PM
3
ลักษณียนาวิน) และอาจารยภาควิชาภาษาไทย (ผศ.ดุษฎีพร ชำนิโรคศาสนต) แหง
คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กำหนดการถอดอักษรภาษาญี่ปุน
ที่เขียนดวยอักษรโรมัน (โรมะจิ) เปนอักษรไทย ซึ่งขออธิบายโดยสังเขปดังนี้
สระ
อักษรโรมะจิ
(สระเสียงสั้น, สระเสียงยาว)
อักษรไทย
a, ā อะ, อา
i, ī อิ, อี
u, ū อุ, อู
e, ē เอะ, เอ
o, ō โอะ, โอ
-ya, -yā เอียะ, เอีย
-yu, -yū อิว, อีว
-yo, -yō เอิยว, เอียว
AW_Japan_4.indd Sec1:3AW_Japan_4.indd Sec1:3 10/25/10 7:20:40 PM10/25/10 7:20:40 PM
4
(* คือสวนที่ผูอานทั่วไปอาจยังไมคุนเคยนัก)
อนึ่ง คำบางคำที่ใชแพรหลายมากแลวยังคงใชตามความนิยมเชนเดิม เชน ซากุระ
เกียวโต นารา เฮอัน คิวชู ชิโกะกุ
พยัญชนะ
อักษรไทย
p เมื่อเกิดตนคำ พ
เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ป
b บ
m ม
f ฟ
w ว
t เมื่อเกิดตนคำ ท
เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ต
ts ทซ
ch ช
d ด
n น
n (ที่เปนพยัญชนะกอพยางค ทำหนาที่คลายตัวสะกด)
เมื่อเกิดหนา p, b, m ม
เมื่อเกิดหนา k, g, w ง
เมื่อเกิดที่อื่น ๆ น
n’ (ทำหนาที่เปนตัวสะกด และตามดวยสระ) น
s ซ
*sh ฌ
*z ส
j จ
r ร
y ย
k เมื่อเกิดตนคำ ค
เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ก
g เมื่อเกิดตนคำ ก
เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ง
h ฮ
อักษรโรมะจิ
AW_Japan_4.indd Sec1:4AW_Japan_4.indd Sec1:4 10/25/10 7:20:43 PM10/25/10 7:20:43 PM
เมื่อครั้งที่ผืนฟาและแผนดินไดแยกตัวออกจากกันเปนครั้งแรกไดบังเกิดเทพจุติ
ขึ้นมาบนสรวงสวรรคมีนามวาเทพอะเมะโนะมินะกะนุฌิ (Amenominakanushi เทพ
แหงฟาดิน) เทพทะกะมิมุซุฮิ (Takamimusuhi เทพสูงสงผูมีพลังแหงการกอเกิด
สรรพสิ่ง) และเทพคะมุมุซุฮิ (Kamumusuhi เทพแหงพลังการกอเกิดสรรพสิ่ง) ตาม
ลำดับ เทพทั้ง 3 องคนี้ลวนจุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏรางใหเห็น
กาลตอมาเมื่อครั้งแผนดินยังเพิ่งกอกำเนิดไดไมนานและอยูในสภาพคลายดั่ง
น้ำมันที่อยูบนผิวน้ำลอยละลองไปมาราวกับแมงกะพรุนนั้น ไดปรากฏเทพจุติขึ้นมา
ดุจดั่งหนอของตนอะฌิ1
ที่ผุดขึ้นมาจากพื้นดินมีนามวาเทพอุมะฌิอะฌิกะบิฮิโกะจิ
(Umashiashikabihikoji เทพแหงพลังชีวิตในการเจริญเติบโต) และเทพอะเมะโนะโตะโกะ-
ตะชิ (Amenotokotachi เทพแหงการดำรงคงอยูตลอดกาลของสวรรค) ตามลำดับ เทพ
ทั้ง 2 องคนี้ตางก็จุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏรางใหเห็น
เทพทั้ง 5 องคที่กลาวมานี้จัดเปนเทพพิเศษบนสรวงสวรรค
ตอนที่
1
กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุน
1
พืชจำพวกหนึ่ง มีลักษณะคลายตนกกหรือตนออ
AW_Japan_4.indd Sec1:5AW_Japan_4.indd Sec1:5 10/25/10 7:20:44 PM10/25/10 7:20:44 PM
6
เทพที่จุติถัดมามีนามวาเทพคุนิโนะโตะโกะตะชิ (Kuninotokotachi เทพแหง
การดำรงคงอยูตลอดกาลของแผนดิน) และเทพโทะโยะกุโมะโนะ (Toyokumono เทพ
แหงเมฆ) ตามลำดับ เทพทั้ง 2 องคนี้ตางก็จุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏราง
ใหเห็นเชนเดียวกัน
เทพที่จุติถัดมามีนามวาเทพอุฮิจินิ (Uhijini เทพแหงดินโคลน) และเทพหญิง
ซุฮิจินิ (Suhijini เทพแหงดินทราย) เทพแหงพลังการสั่นสะเทือนแผนดินทซุโนะ-
งุฮิ (Tsunoguhi) และเทพหญิงอิกุงุฮิ (Ikuguhi) เทพโอโตะโนะจิ (Ootonoji) และเทพหญิง
โอโตะโนะเบะ (Ootonobe) เทพโอะโมะดะรุ (Omodaru) และเทพหญิงอะยะกะฌิโกะเนะ
(Ayakashikone) เทพอิสะนะกิ (Izanaki) และเทพหญิงอิสะนะมิ (Izanami) ตามลำดับ
ตั้งแตเทพคุนิโนะโตะโกะตะชิเรื่อยมาจนถึงเทพอิสะนะมิ รวมเรียกวา ทวยเทพ
ทั้ง 7 รุน2
แลวทวยเทพทั้งหลายจึงไดสั่งคูเทพอิสะนะกิและเทพอิสะนะมิวา “พวกเจา
จงจัดการกับผืนดินที่ลอยละลองอยูนี้ใหจับตัวกันจนกลายเปนแผนดินและสราง
ดินแดนขึ้นมา” พรอมกับมอบหอกศักดิ์สิทธิ์3
เปนการมอบหมายภาระหนาที่ให เทพ
ทั้งสองจึงลงมายืนอยูบนสะพานทอดเชื่อมระหวางสวรรคและแผนดิน4
แลวเอาหอก
นั้นจุมลงไปกวนผืนแผนดินโคลนนั้น เมื่อกวนไดที่แลวจึงยกหอกขึ้นมา ขณะนั้นเอง
โคลนจากปลายหอกไดหยดลงมาสุมกองรวมกันจนกลายเปนเกาะ เกาะนี้เรียกวาเกาะ
2
เทพเดี่ยวไรคูตางนับเปนหนึ่งรุน สวนเทพคูชายหญิงทั้งสิบนั้นหนึ่งคูนับเปนหนึ่งรุน
3
หอกศักดิ์สิทธิ์ประดับดวยอัญมณี เปนอาวุธศักดิ์สิทธิ์ที่เหลาเทพสงมอบใหเพื่อเปนเครื่องหมายวา
ไดรับคำบัญชาจากเหลาเทพใหปฏิบัติหนาที่
4
สะพานอะเมะโนะอุกิฮะฌิ (Amenoukihashi) สะพานในจินตนาการซึ่งเชื่อกันวาเหลาเทพใช
เดินทางไปมาระหวางสวรรคกับพื้นพิภพ
AW_Japan_4.indd Sec1:6AW_Japan_4.indd Sec1:6 10/25/10 7:20:45 PM10/25/10 7:20:45 PM
7
โอะโนะโงะโระ (Onogoro)5
เทพทั้งสองไดลงมายังเกาะนั้นและสรางเสาศักดิ์สิทธิ์และพระราชวังอันใหญโต
ขึ้น จากนั้นเทพอิสะนะกิไดถามเทพหญิงอิสะนะมิวา “รางกายของเจามีสภาพเปน
อยางไรหรือ” เทพอิสะนะมิตอบวา “รางกายขามีสภาพสมบูรณดี แตมีอยูสวนหนึ่ง
แหวงหายไปไมสมบูรณ” เทพอิสะนะกิจึงกลาววา “รางกายขามีสภาพสมบูรณดี แต
มีอยูสวนหนึ่งยื่นเกินออกมา ถาอยางนั้นขาจะเอาสวนที่ยื่นเกินออกมาของรางกายขา
สอดใสเขาไปในสวนที่แหวงหายไปของเจา แลวเราสองคนก็สรางผืนแผนดินกัน
ขึ้นมา เจาคิดวาอยางไร” เทพอิสะนะมิตอบวา “ตกลงตามนั้น”
แลวเทพอิสะนะกิจึงกลาววา “ถางั้นขากับเจาจะเดินวนรอบเสาศักดิ์สิทธิ์นี้
พอวนมาเจอกันก็ทำพิธีแตงงานกัน” พอตกลงกันดังนั้นแลวเทพอิสะนะกิก็กลาววา
“เจาจงเดินวนมาเจอขาจากทางขวา สวนขาจะเดินวนมาเจอเจาจากทางซาย” พอ
ทั้งสองเดินวนมาเจอกันดังที่ไดตกลงกันไว เทพอิสะนะมิก็กลาวขึ้นมากอนวา “อา
ทานชางเปนผูชายที่วิเศษเหลือเกิน” จากนั้นเทพอิสะนะกิจึงกลาวขึ้น “อา เจาชาง
เปนผูหญิงที่วิเศษเหลือเกิน” หลังจากทั้งสองฝายไดกลาวจบ เทพอิสะนะกิจึงกลาว
กับเทพอิสะนะมิวา “ผูหญิงกลาวขึ้นมากอนไมเปนการสมควร” แตทั้งสองก็ไดทำพิธี
แตงงานกันที่สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์นั้นและไดใหกำเนิดฮิรุโกะ (Hiruko)6
บุตรผูพิการ
ออกมา ทั้งสองจึงเอาบุตรผูพิการนี้ใสไวในเรือที่ทำจากตนอะฌิแลวลอยน้ำทิ้งไป
5
เกาะในจินตนาการไมมีอยูจริง แตสันนิษฐานวานาจะมีตนเคามาจากเกาะตาง ๆ ที่อยูในชองแคบ
ระหวางเกาะอะวะจิ (Awaji) กับจังหวัดวะกะยะมะ (Wakayama) ในปจจุบัน
6
ในวรรณกรรมนิฮนโฌะกิ (Nihonshoki) ไดเลาถึงฮิรุโกะ บุตรผูพิการเชนกันวา เวลาผานไป 3 ป
แลวก็ยังเดินไมได
AW_Japan_4.indd Sec1:7AW_Japan_4.indd Sec1:7 10/25/10 7:20:47 PM10/25/10 7:20:47 PM
8
ถัดมาจึงไดใหกำเนิดเกาะอะวะ (Awa)7
ซึ่งก็ไมนับรวมเปนบุตรของทั้งสองอีกเชนกัน
เทพทั้งสองจึงไดปรึกษากันวา “บุตรที่พวกเราใหกำเนิดออกมานั้นไมสมบูรณ
เรานาจะไปแจงแกทวยเทพทั้งหลายดีกวา” ทันใดนั้นทั้งสองก็ขึ้นไปยังสรวงสวรรค
ทะกะมะโนะฮะระ (Takamanohara) เพื่อรับคำชี้แนะจากทวยเทพทั้งหลาย ทวยเทพ
ไดออกคำสั่งใหนำเอากระดูกบาของกวางมาเผาแลวไดกลาวทำนายวา “ผูหญิง
กลาวคำพูดออกมากอนไมเปนการสมควร พวกเจาจงกลับลงไปแลวกลาวคำพูด
ใหมอีกครั้ง” เทพทั้งสองจึงกลับลงมาแลวเดินวนรอบเสาศักดิ์สิทธิ์นั้นเชนเดียวกับ
คราวกอน จากนั้นเทพอิสะนะกิไดกลาวขึ้นมากอนวา “อา ทานชางเปนผูหญิงที่วิเศษ
เหลือเกิน” หลังจากนั้นเทพหญิงอิสะนะมิจึงกลาวขึ้น “อา ทานชางเปนผูชายที่วิเศษ
เหลือเกิน” พอกลาวเชนนั้นจบก็ทำพิธีแตงงานกัน บุตรที่ถือกำเนิดออกมาไดแกเกาะ
อะวะจิโนะโฮะโนะซะวะเกะ (Awajinohonosawake)8
ถัดมาไดใหกำเนิดเกาะอิโยะโนะฟุตะนะ (Iyonofutana)9
เกาะนี้มีรางเดียวแตมี
สี่หนา แตละหนาลวนมีชื่อเรียก ฝงเมืองอิโยะ (Iyo) เรียกวาเอะฮิเมะ (Ehime)10
ฝงเมือง
ซะนุกิ (Sanuki) เรียกวาอีโยะริฮิโกะ (Iiyorihiko)11
ฝงเมืองอะวะ (Awa) เรียกวา
โอเงะทซุฮิเมะ (Oogezuhime)12
และฝงเมืองโทะซะ(Tosa) เรียกวาทะเกะโยะริวะเกะ
(Takeyoriwake)13
7
เกาะในจินตนาการไมมีอยูจริง บางวาเปนเกาะคะมิจิมะ (Kamijima) ที่อยูระหวางชองแคบระหวาง
เกาะอะวะจิและจังหวัดวะกะยะมะในปจจุบัน
8
เกาะอะวะจิในจังหวัดเฮียวโงะ (Hyougo) อยูทางฝงตะวันออกของทะเลเซะโตะอุชิ (Setouchi)
9
เกาะชิโกะกุในปจจุบัน
10
จังหวัดเอะฮิเมะในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชิโกะกุ
11
จังหวัดคะงะวะ (Kagawa) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะชิโกะกุ
12
จังหวัดโทะกุฌิมะ (Tokushima) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกของเกาะชิโกะกุ
13
จังหวัดโคชิ (Kouchi) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันตกของเกาะชิโกะกุ
AW_Japan_4.indd Sec1:8AW_Japan_4.indd Sec1:8 10/25/10 7:20:50 PM10/25/10 7:20:50 PM
9
ถัดมาไดใหกำเนิดบุตรลำดับที่ 3 คือ เกาะโอะกิโนะมิทซุโกะ (Okinomitsuko)
หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะโอะฌิโกะโระวะเกะ (Amenooshikorowake)14
จากนั้นไดใหกำเนิดเกาะทซุกุฌิ (Tsukushi)15
เกาะนี้ก็มีรางเดียวแตมี 4 หนา
แตละหนาลวนมีชื่อเรียก ฝงเมืองทซุกุฌิ (Tsukushi) เรียกวาฌิระฮิวะเกะ (Shirahiwake)16
ฝงเมืองโทะโยะ (Toyo) เรียกวาโทะโยะฮิวะเกะ (Toyohiwake)17
ฝงเมืองฮิ (Hi) เรียกวา
ทะเกะฮิมุกะฮิโตะโยะกุชิฮิเนะวะเกะ (Takehimukahitoyokuchihinewake)18
ฝงเมือง
คุมะโซะ (Kumaso) เรียกวาทะเกะฮิวะเกะ (Takehiwake)19
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะอิกิ (Iki) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฮิโตะทซุบะฌิระ
(Amehitotsubashira)20
จากนั้นไดใหกำเนิดเกาะทซุฌิมะ (Tsushima) หรือเรียกอีก
ชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะซะเดะโยะริฮิเมะ (Amenosadeyorihime)21
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะ
ซะโดะ (Sado)22
ลำดับถัดไปไดใหกำเนิดเกาะโอยะมะโตะโตะโยะอะกิสุ (Ooyamato-
toyoakizu) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะมะทซุมิโซะระโตะโยะอะกิสุเนะวะเกะ (Amatsumi-
14
เกาะโอะกิในจังหวัดฌิมะเนะ (Shimane) ในปจจุบัน สวนหนาของเกาะประกอบดวยเกาะ
3 เกาะ ดังนั้นจึงถูกเรียกวา “โอะกิโนะมิทซุโกะ” โดยคำวา “มิทซุโกะ” หมายถึง แฝดสาม
15
เกาะคิวชูในปจจุบัน
16
จังหวัดฟุกุโอะกะ (Fukuoka) ในปจจุบัน อยูทางทิศเหนือของเกาะคิวชู
17
จังหวัดโออิตะ (Ooita) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกของเกาะคิวชู
18
บริเวณจังหวัดคุมะโมะโตะ (Kumamoto) จังหวัดซะงะ (Saga) และจังหวัดนะงะซะกิ (Nagasaki)
อยูทางแถบตะวันตกของเกาะคิวชู
19
บริเวณจังหวัดคะโงะฌิมะ (Kagoshima) จังหวัดมิยะซะกิ (Miyasaki) และทิศใตของจังหวัด
คุมะโมะโตะอยูทางทิศใตของเกาะคิวชู
20
เกาะอิกิในจังหวัดนะงะซะกิ อยูระหวางเกาะคิวชูกับคาบสมุทรเกาหลี อยูหางจากเกาะคิวชู
ออกไปราว 25 กิโลเมตร
21
เกาะทซุฌิมะในจังหวัดนะงะซะกิ อยูระหวางเกาะคิวชูกับคาบสมุทรเกาหลี
22
เกาะซะโดะในจังหวัดนีงะตะ (Niigata)
AW_Japan_4.indd Sec1:9AW_Japan_4.indd Sec1:9 10/25/10 7:20:52 PM10/25/10 7:20:52 PM
10
soratoyoakizunewake)23
และเนื่องจากเกาะทั้งแปดนี้ถือกำเนิดขึ้นมาเปนอันดับแรกจึง
เรียกประเทศของเรา (ประเทศญี่ปุน) นี้วา “โอยะฌิมะกุนิ (Ooyashimakuni ประเทศ
แหงเกาะทั้งแปด)”
หลังจากใหกำเนิดเกาะใหญทั้งแปดแลว ขณะจะกลับยังเกาะโอะโนะโงะโระ
ก็ไดใหกำเนิดเกาะคิบิโนะโกะ (Kibinoko) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาทะเกะฮิกะตะวะเกะ
(Takehikatawake)24
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะอะสุกิ (Azuki) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา
โอโนะเดะฮิเมะ (Oonodehime)25
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะโอฌิมะ (Ooshima) หรือเรียก
อีกชื่อหนึ่งวาโอตะมะรุวะเกะ (Ootamaruwake)26
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะฮิเมะ (Hime)
หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฮิโตะทซุเนะ (Amehitotsune)27
ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะ
ชิกะ (Chika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะโอะฌิโอะ (Amenooshio)28
ถัดไปไดให
กำเนิดเกาะฟุตะโงะ (Futago) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฟุตะยะ (Amefutaya)29
ตั้งแตเกาะคิบิโนะโกะจนถึงอะเมะฟุตะยะรวมจำนวนทั้งสิ้น 6 เกาะ
หลังจากที่เทพอิสะนะกิและอิสะนะมิไดใหกำเนิดเกาะตาง ๆ เสร็จแลวก็ให
กำเนิดทวยเทพ เทพที่ถือกำเนิดขึ้นมาคือเทพโอโกะโตะโอะฌิโอะ (Ookotooshio เทพ
แหงความสำคัญของการกอกำเนิดแผนดิน) ถัดไปคือเทพอิวะทซุชิบิโกะ (Iwatsuchi-
biko เทพแหงหินและดิน) ถัดไปคือเทพหญิงอิวะซุฮิเมะ (Iwasuhime เทพแหงหินและ
23
เกาะฮอนชูในปจจุบัน ชื่อเกาะนี้หมายถึง ดินแดนที่อุดมสมบูรณไปดวยธัญพืช
24
คาบสมุทรโคะจิมะในปจจุบัน เมื่อกอนยังอยูในสภาพที่เปนเกาะอยู
25
ปจจุบันคือเกาะโฌโดะฌิมะ (Shoudoshima) ในจังหวัดคะงะวะ ชื่อเกาะหมายถึง ถั่วแดง
26
เกาะโอฌิมะทางทิศตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดยะมะงุชิ (Yamaguchi)
27
สันนิษฐานวานาจะเปนเกาะฮิเมะฌิมะทางตอนเหนือของคาบสมุทรคุนิซะกิ (Kunisaki)
28
หมูเกาะที่ประกอบดวยเกาะ 5 เกาะอยูในจังหวัดนะงะซะกิ
29
เกาะทางทิศใตของหมูเกาะ 5 เกาะในจังหวัดนะงะซะกิ ชื่อเรียกหมายถึง เกาะแฝดชายหญิง
AW_Japan_4.indd Sec1:10AW_Japan_4.indd Sec1:10 10/25/10 7:20:55 PM10/25/10 7:20:55 PM

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานPalm Jutamas
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารrisa021040
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentationsuperkaew
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ PowerpointYotsaporn Rodmuang
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทยงานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทยTaoTao52
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 

What's hot (20)

โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
กลัวทำไม
กลัวทำไมกลัวทำไม
กลัวทำไม
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
ThailandPost Presentation
ThailandPost PresentationThailandPost Presentation
ThailandPost Presentation
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทยงานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-การเล่นของไทย
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 

Viewers also liked

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นพัน พัน
 
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...Loveofpeople
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824CUPress
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นFaRung Pumm
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นTin Savastham
 
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointTin Savastham
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนChucshwal's MK
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120Acha Nai
 

Viewers also liked (11)

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
 
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam     الدليل ال...
Th islam guide a brief illustrated guide to understanding islam الدليل ال...
 
9789740329824
97897403298249789740329824
9789740329824
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
 
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
Textbook thai(ภาษาญี่ปุ่น)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียน
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120JAPAN-SSKRU0120
JAPAN-SSKRU0120
 

Similar to ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan

หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมYukari Samana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?Review Wlp
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16krutitirut
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกKob Ying Ya
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1MilkOrapun
 
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]Panuwat Beforetwo
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 

Similar to ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan (20)

หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16วันลอยกระทง12 16
วันลอยกระทง12 16
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

ตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุ่น Japan

  • 1. คำนำ ผูเขียนตั้งใจที่จะเขียนหนังสือเลมนี้เพื่อใชเปนหนังสืออานนอกเวลาสำหรับ รายวิชา 2223381 ประวัติวรรณคดีญี่ปุน 1 ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแตยุคแรกเริ่มของ วรรณกรรมญี่ปุนจนถึงวรรณกรรมสมัยเฮอัน วรรณกรรมเรื่องโคะจิกิเปนวรรณกรรม ที่เกาแกที่สุดของญี่ปุน บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับตำนานเทพและกำเนิดประเทศญี่ปุน ตำนานเทพแตละตอนสะทอนใหเห็นถึงสภาพสังคมและความคิดความเชื่อของ คนญี่ปุนในสมัยโบราณ อีกทั้งยังแสดงใหเห็นถึงขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรของ ญี่ปุน นับเปนวรรณกรรมที่นิสิตและผูที่สนใจวรรณคดีญี่ปุนสมควรไดศึกษาเรียนรู ผูเขียนไดหยิบยกตำนานเทพในวรรณกรรมโคะจิกิภาคแรกออกมาโดยแบงเปน 6 ตอน โดยแปลจากตนฉบับภาษาญี่ปุนโบราณเปนภาษาไทย และเขียนบทอธิบาย หลังตำนานเทพแตละตอนเพื่อเปนการอธิบายใหผูอานไดเรียนรูและเขาใจถึงสิ่งที่ ซุกซอนอยูเบื้องหลังตำนานเทพเหลานั้น โดยหวังวาหนังสือเลมนี้จะชวยกอใหเกิด ความกาวหนาทางวิชาการและชวยเสริมสรางความรูและเปนประโยชนตอสาขา วิชาภาษาญี่ปุน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการศึกษาวรรณคดีญี่ปุนโบราณซึ่งมีความ ยากลำบากในเรื่องภาษาและการตีความ รวมไปจนถึงการวิเคราะหวรรณกรรมเพื่อให เขาใจถึงสิ่งที่ผูเขียนตองการสื่อใหผูอานไดรับรู หากมีขอผิดพลาดประการใดผูเขียน ตองขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรถยา สุวรรณระดา พฤศจิกายน 2553 AW_Japan_4.indd gAW_Japan_4.indd g 10/25/10 7:20:34 PM10/25/10 7:20:34 PM
  • 2. สารบัญ บทนำ 1 ตอนที่ 1 กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุน 5 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 1 20 ตอนที่ 2 เทพอะมะเตะระซุและเทพซุซะโนะโอะ 35 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 2 45 ตอนที่ 3 เทพโอกุนินุฌิ 57 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 3 70 ตอนที่ 4 กำราบพื้นพิภพ 81 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 4 88 ตอนที่ 5 เทพนินิงิ 93 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 5 100 ตอนที่ 6 เทพโฮะโอะริ 109 เรียนรูตำนานเทพญี่ปุนตอนที่ 6 116 บทสรุป 123 บรรณานุกรม 127 AW_Japan_4.indd iAW_Japan_4.indd i 10/25/10 7:20:36 PM10/25/10 7:20:36 PM
  • 3. แผนที่เกาะทั้งแปดของญี่ปุน 32 แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพซุซะโนะโอะจนถึงเทพโอกุนินุฌิ 53 แผนที่เมืองตาง ๆ รอบเมืองอิสุโมะ 75 แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพโอกุนินุฌิจนถึงเทพโททซุยะมะซะกิตะระฌิ 76-77 แผนผังดินแดนตาง ๆ ในโคะจิกิ 92 แผนผังการสืบเชื้อสายมหาเทพอะมะเตะระซุจนถึงเทพนินิงิ 106 แผนผังการสืบเชื้อสายจากเทพนินิงิจนถึงจักรพรรดิจิมมุ 121 สารบัญภาพ สารบัญ แผนที่และ แผนผัง ภาพศาลเจาโอะโนะโงะโระ 33 ภาพศาลเจาซุมิโยะฌิ 34 ภาพถ้ำหินแหงสวรรคจำลอง 54 ภาพทางเขาสูวิหารในของศาลเจาอิเซะ 55 ภาพปายอธิบายซึ่งตั้งอยูตรงหนาสะพานหนาทางเขาสูวิหารในของศาลเจาอิเซะ 56 ภาพศาลเจาอิสุโมะ 78-79 ภาพรูปปนเทพโอกุนินุฌิกับกระตายขาวเมืองอินะบะ 80 ภาพศาลเจาซะรุตะฮิโกะ 107 ภาพศาลเจาซะรุเมะ 108 AW_Japan_4.indd jAW_Japan_4.indd j 10/25/10 7:20:36 PM10/25/10 7:20:36 PM
  • 4. โคะจิกิ (Kojiki) เปนวรรณกรรมที่เกาแกที่สุดของญี่ปุน รวบรวมขึ้นโดยพระราชดำริ ของจักรพรรดิเท็มมุ (Temmu) ที่ทรงมีพระราชดำริวาสมควรรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ ราชวงศรวมทั้งเทพนิยายและตำนานตาง ๆ เอาไวเพื่อใหชนในชาติมีประวัติศาสตร ที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงโปรดเกลาฯ ใหนักเลานิทานชื่อวา ฮิเอะดะโนะอะเระ (Hieda no are) ทองจำเรื่องราวตาง ๆ เอาไว ตอมาในสมัยจักรพรรดินีเก็มเมะอิ (Gemmei) ไดทรงมีพระบรมราชโองการใหโอะโนะยะซุมะโระ (Onoyasumaro) บันทึก เรื่องราวเหลานั้นไวเปนลายลักษณอักษรและนำมาปรับแกไขจนเสร็จสมบูรณใน ค.ศ. 712 โคะจิกิ หรือฟุรุโกะโตะบุมิ หมายถึง บันทึกเรื่องราวที่เลาสืบตอกันมาแตโบราณ โคะจิกิเขียนขึ้นโดยใชตัวอักษรจีนเนื่องจากสมัยนั้นญี่ปุนยังไมมีตัวอักษรเปนของ ตัวเอง จึงตองใชอักษรจีนมาอานเปนเสียงแบบจีนและแบบญี่ปุนโดยใชไวยากรณ ญี่ปุน เนื้อเรื่องในโคะจิกิมีลักษณะคลายนิทานที่ถูกแบงออกเปนตอน ๆ การเรียงลำดับ เนื้อหาในเรื่องบางครั้งจะไมเรียงตามลำดับเวลา ลักษณะการประพันธเปนวรรณกรรม รอยแกวโดยมีบทเพลงพื้นบานและบทกลอนแทรกอยูบางเปนบางชวง โคะจิกินับเปน วรรณกรรมที่มีคุณคายิ่งในฐานะที่เปนวรรณกรรมลายลักษณอักษรเรื่องแรกของญี่ปุน และยังเปนวรรณกรรมที่บอกเลาตำนานและเรื่องราวความเปนมาในอดีตของประเทศ ญี่ปุน บทนำ AW_Japan_4.indd Sec1:1AW_Japan_4.indd Sec1:1 10/25/10 7:20:37 PM10/25/10 7:20:37 PM
  • 5. 2 โคะจิกิมี 3 ภาค ภาคแรก กลาวถึงกำเนิดของเทพและโลกมนุษยจนถึงสมัย จักรพรรดิจิมมุ (Jimmu) ซึ่งเปนจักรพรรดิองคแรกของญี่ปุน (660 ปกอนคริสตกาล) ภาคที่สอง ตั้งแตสมัยจักรพรรดิจิมมุจนถึงสมัยจักรพรรดิโอจิน (Oujin) ซึ่งเปนจักรพรรดิ องคที่ 15 และภาคที่สาม ตั้งแตสมัยจักรพรรดินินโตะกุ (Nintoku) จนถึงสมัยจักรพรรดินี ซุอิโกะ (Suiko) ซึ่งเปนจักรพรรดิองคที่ 33 ของประเทศญี่ปุน ในหนังสือเลมนี้จะขอ หยิบยกเฉพาะในสวนของภาคแรกที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับตำนานเทพโดยเริ่มตั้งแตเรื่องราว กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุนไปจนถึงเรื่องราวตอนที่เทพวะกะมิเกะนุ หรือตอมาคือ จักรพรรดิจิมมุซึ่งเปนจักรพรรดิองคแรกของญี่ปุนไดถือกำเนิด ตำนานเทพในโคะจิกิมีเนื้อหาแสดงใหเห็นวัฒนธรรมการดำรงชีวิตของชาว ญี่ปุนซึ่งผูกพันอยูกับธรรมชาติและมีความศรัทธาตอเทพ ซึ่งสถิตอยูทั่วไปในทุกสรรพสิ่ง และในอีกทางหนึ่งยังสะทอนใหเห็นความชอบธรรมในการปกครองแผนดินของ จักรพรรดิราชวงศยะมะโตะ สภาพความเปนจริงทางการเมืองบางอยางในอดีตของ ญี่ปุนไดถูกถายทอดโดยซุกซอนไวอยูเบื้องหลังตำนานเทพนี้ ในหนังสือเลมนี้จะ หยิบยกเนื้อหาเกี่ยวกับตำนานเทพในภาคแรกของโคะจิกิ โดยแปลเนื้อหาจากตนฉบับ ภาษาญี่ปุนโบราณ ซึ่งสำนักพิมพโคดันฌะ (Kodansha) ของญี่ปุนไดตีพิมพไวในหนังสือ ชุดโคดันฌะกะกุจุทซุบุงโกะ (Kodansha gakujutsu bunko) และใสบทอธิบายและ วิเคราะหโดยสรุปจากการคนควาเรียบเรียงขอมูลจากหนังสือตาง ๆ รวมถึงบทความ และวิทยานิพนธที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวของโดยจะหยิบดึงสิ่งที่ซอนเรนอยูเบื้องหลังตำนาน เทพเหลานี้ออกมาอธิบายใหเห็นชัด หนังสือเลมนี้ไดใชระบบถอดอักษรภาษาญี่ปุน ซึ่งเปนผลงานวิจัยของ อาจารยสาขาวิชาภาษาญี่ปุน (ผศ. ดร.กัลยาณี สีตสุวรรณ, ผศ.สุชาดา สัตยพงศ, รศ. ดร.เสาวลักษณ สุริยะวงศไพศาล) อาจารยภาควิชาภาษาศาสตร (ผศ. ดร.สุดาพร AW_Japan_4.indd Sec1:2AW_Japan_4.indd Sec1:2 10/25/10 7:20:38 PM10/25/10 7:20:38 PM
  • 6. 3 ลักษณียนาวิน) และอาจารยภาควิชาภาษาไทย (ผศ.ดุษฎีพร ชำนิโรคศาสนต) แหง คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กำหนดการถอดอักษรภาษาญี่ปุน ที่เขียนดวยอักษรโรมัน (โรมะจิ) เปนอักษรไทย ซึ่งขออธิบายโดยสังเขปดังนี้ สระ อักษรโรมะจิ (สระเสียงสั้น, สระเสียงยาว) อักษรไทย a, ā อะ, อา i, ī อิ, อี u, ū อุ, อู e, ē เอะ, เอ o, ō โอะ, โอ -ya, -yā เอียะ, เอีย -yu, -yū อิว, อีว -yo, -yō เอิยว, เอียว AW_Japan_4.indd Sec1:3AW_Japan_4.indd Sec1:3 10/25/10 7:20:40 PM10/25/10 7:20:40 PM
  • 7. 4 (* คือสวนที่ผูอานทั่วไปอาจยังไมคุนเคยนัก) อนึ่ง คำบางคำที่ใชแพรหลายมากแลวยังคงใชตามความนิยมเชนเดิม เชน ซากุระ เกียวโต นารา เฮอัน คิวชู ชิโกะกุ พยัญชนะ อักษรไทย p เมื่อเกิดตนคำ พ เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ป b บ m ม f ฟ w ว t เมื่อเกิดตนคำ ท เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ต ts ทซ ch ช d ด n น n (ที่เปนพยัญชนะกอพยางค ทำหนาที่คลายตัวสะกด) เมื่อเกิดหนา p, b, m ม เมื่อเกิดหนา k, g, w ง เมื่อเกิดที่อื่น ๆ น n’ (ทำหนาที่เปนตัวสะกด และตามดวยสระ) น s ซ *sh ฌ *z ส j จ r ร y ย k เมื่อเกิดตนคำ ค เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ก g เมื่อเกิดตนคำ ก เมื่อเกิดที่อื่น ๆ ง h ฮ อักษรโรมะจิ AW_Japan_4.indd Sec1:4AW_Japan_4.indd Sec1:4 10/25/10 7:20:43 PM10/25/10 7:20:43 PM
  • 8. เมื่อครั้งที่ผืนฟาและแผนดินไดแยกตัวออกจากกันเปนครั้งแรกไดบังเกิดเทพจุติ ขึ้นมาบนสรวงสวรรคมีนามวาเทพอะเมะโนะมินะกะนุฌิ (Amenominakanushi เทพ แหงฟาดิน) เทพทะกะมิมุซุฮิ (Takamimusuhi เทพสูงสงผูมีพลังแหงการกอเกิด สรรพสิ่ง) และเทพคะมุมุซุฮิ (Kamumusuhi เทพแหงพลังการกอเกิดสรรพสิ่ง) ตาม ลำดับ เทพทั้ง 3 องคนี้ลวนจุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏรางใหเห็น กาลตอมาเมื่อครั้งแผนดินยังเพิ่งกอกำเนิดไดไมนานและอยูในสภาพคลายดั่ง น้ำมันที่อยูบนผิวน้ำลอยละลองไปมาราวกับแมงกะพรุนนั้น ไดปรากฏเทพจุติขึ้นมา ดุจดั่งหนอของตนอะฌิ1 ที่ผุดขึ้นมาจากพื้นดินมีนามวาเทพอุมะฌิอะฌิกะบิฮิโกะจิ (Umashiashikabihikoji เทพแหงพลังชีวิตในการเจริญเติบโต) และเทพอะเมะโนะโตะโกะ- ตะชิ (Amenotokotachi เทพแหงการดำรงคงอยูตลอดกาลของสวรรค) ตามลำดับ เทพ ทั้ง 2 องคนี้ตางก็จุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏรางใหเห็น เทพทั้ง 5 องคที่กลาวมานี้จัดเปนเทพพิเศษบนสรวงสวรรค ตอนที่ 1 กำเนิดเทพและเกาะญี่ปุน 1 พืชจำพวกหนึ่ง มีลักษณะคลายตนกกหรือตนออ AW_Japan_4.indd Sec1:5AW_Japan_4.indd Sec1:5 10/25/10 7:20:44 PM10/25/10 7:20:44 PM
  • 9. 6 เทพที่จุติถัดมามีนามวาเทพคุนิโนะโตะโกะตะชิ (Kuninotokotachi เทพแหง การดำรงคงอยูตลอดกาลของแผนดิน) และเทพโทะโยะกุโมะโนะ (Toyokumono เทพ แหงเมฆ) ตามลำดับ เทพทั้ง 2 องคนี้ตางก็จุติขึ้นมาเดี่ยว ๆ และมิไดปรากฏราง ใหเห็นเชนเดียวกัน เทพที่จุติถัดมามีนามวาเทพอุฮิจินิ (Uhijini เทพแหงดินโคลน) และเทพหญิง ซุฮิจินิ (Suhijini เทพแหงดินทราย) เทพแหงพลังการสั่นสะเทือนแผนดินทซุโนะ- งุฮิ (Tsunoguhi) และเทพหญิงอิกุงุฮิ (Ikuguhi) เทพโอโตะโนะจิ (Ootonoji) และเทพหญิง โอโตะโนะเบะ (Ootonobe) เทพโอะโมะดะรุ (Omodaru) และเทพหญิงอะยะกะฌิโกะเนะ (Ayakashikone) เทพอิสะนะกิ (Izanaki) และเทพหญิงอิสะนะมิ (Izanami) ตามลำดับ ตั้งแตเทพคุนิโนะโตะโกะตะชิเรื่อยมาจนถึงเทพอิสะนะมิ รวมเรียกวา ทวยเทพ ทั้ง 7 รุน2 แลวทวยเทพทั้งหลายจึงไดสั่งคูเทพอิสะนะกิและเทพอิสะนะมิวา “พวกเจา จงจัดการกับผืนดินที่ลอยละลองอยูนี้ใหจับตัวกันจนกลายเปนแผนดินและสราง ดินแดนขึ้นมา” พรอมกับมอบหอกศักดิ์สิทธิ์3 เปนการมอบหมายภาระหนาที่ให เทพ ทั้งสองจึงลงมายืนอยูบนสะพานทอดเชื่อมระหวางสวรรคและแผนดิน4 แลวเอาหอก นั้นจุมลงไปกวนผืนแผนดินโคลนนั้น เมื่อกวนไดที่แลวจึงยกหอกขึ้นมา ขณะนั้นเอง โคลนจากปลายหอกไดหยดลงมาสุมกองรวมกันจนกลายเปนเกาะ เกาะนี้เรียกวาเกาะ 2 เทพเดี่ยวไรคูตางนับเปนหนึ่งรุน สวนเทพคูชายหญิงทั้งสิบนั้นหนึ่งคูนับเปนหนึ่งรุน 3 หอกศักดิ์สิทธิ์ประดับดวยอัญมณี เปนอาวุธศักดิ์สิทธิ์ที่เหลาเทพสงมอบใหเพื่อเปนเครื่องหมายวา ไดรับคำบัญชาจากเหลาเทพใหปฏิบัติหนาที่ 4 สะพานอะเมะโนะอุกิฮะฌิ (Amenoukihashi) สะพานในจินตนาการซึ่งเชื่อกันวาเหลาเทพใช เดินทางไปมาระหวางสวรรคกับพื้นพิภพ AW_Japan_4.indd Sec1:6AW_Japan_4.indd Sec1:6 10/25/10 7:20:45 PM10/25/10 7:20:45 PM
  • 10. 7 โอะโนะโงะโระ (Onogoro)5 เทพทั้งสองไดลงมายังเกาะนั้นและสรางเสาศักดิ์สิทธิ์และพระราชวังอันใหญโต ขึ้น จากนั้นเทพอิสะนะกิไดถามเทพหญิงอิสะนะมิวา “รางกายของเจามีสภาพเปน อยางไรหรือ” เทพอิสะนะมิตอบวา “รางกายขามีสภาพสมบูรณดี แตมีอยูสวนหนึ่ง แหวงหายไปไมสมบูรณ” เทพอิสะนะกิจึงกลาววา “รางกายขามีสภาพสมบูรณดี แต มีอยูสวนหนึ่งยื่นเกินออกมา ถาอยางนั้นขาจะเอาสวนที่ยื่นเกินออกมาของรางกายขา สอดใสเขาไปในสวนที่แหวงหายไปของเจา แลวเราสองคนก็สรางผืนแผนดินกัน ขึ้นมา เจาคิดวาอยางไร” เทพอิสะนะมิตอบวา “ตกลงตามนั้น” แลวเทพอิสะนะกิจึงกลาววา “ถางั้นขากับเจาจะเดินวนรอบเสาศักดิ์สิทธิ์นี้ พอวนมาเจอกันก็ทำพิธีแตงงานกัน” พอตกลงกันดังนั้นแลวเทพอิสะนะกิก็กลาววา “เจาจงเดินวนมาเจอขาจากทางขวา สวนขาจะเดินวนมาเจอเจาจากทางซาย” พอ ทั้งสองเดินวนมาเจอกันดังที่ไดตกลงกันไว เทพอิสะนะมิก็กลาวขึ้นมากอนวา “อา ทานชางเปนผูชายที่วิเศษเหลือเกิน” จากนั้นเทพอิสะนะกิจึงกลาวขึ้น “อา เจาชาง เปนผูหญิงที่วิเศษเหลือเกิน” หลังจากทั้งสองฝายไดกลาวจบ เทพอิสะนะกิจึงกลาว กับเทพอิสะนะมิวา “ผูหญิงกลาวขึ้นมากอนไมเปนการสมควร” แตทั้งสองก็ไดทำพิธี แตงงานกันที่สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์นั้นและไดใหกำเนิดฮิรุโกะ (Hiruko)6 บุตรผูพิการ ออกมา ทั้งสองจึงเอาบุตรผูพิการนี้ใสไวในเรือที่ทำจากตนอะฌิแลวลอยน้ำทิ้งไป 5 เกาะในจินตนาการไมมีอยูจริง แตสันนิษฐานวานาจะมีตนเคามาจากเกาะตาง ๆ ที่อยูในชองแคบ ระหวางเกาะอะวะจิ (Awaji) กับจังหวัดวะกะยะมะ (Wakayama) ในปจจุบัน 6 ในวรรณกรรมนิฮนโฌะกิ (Nihonshoki) ไดเลาถึงฮิรุโกะ บุตรผูพิการเชนกันวา เวลาผานไป 3 ป แลวก็ยังเดินไมได AW_Japan_4.indd Sec1:7AW_Japan_4.indd Sec1:7 10/25/10 7:20:47 PM10/25/10 7:20:47 PM
  • 11. 8 ถัดมาจึงไดใหกำเนิดเกาะอะวะ (Awa)7 ซึ่งก็ไมนับรวมเปนบุตรของทั้งสองอีกเชนกัน เทพทั้งสองจึงไดปรึกษากันวา “บุตรที่พวกเราใหกำเนิดออกมานั้นไมสมบูรณ เรานาจะไปแจงแกทวยเทพทั้งหลายดีกวา” ทันใดนั้นทั้งสองก็ขึ้นไปยังสรวงสวรรค ทะกะมะโนะฮะระ (Takamanohara) เพื่อรับคำชี้แนะจากทวยเทพทั้งหลาย ทวยเทพ ไดออกคำสั่งใหนำเอากระดูกบาของกวางมาเผาแลวไดกลาวทำนายวา “ผูหญิง กลาวคำพูดออกมากอนไมเปนการสมควร พวกเจาจงกลับลงไปแลวกลาวคำพูด ใหมอีกครั้ง” เทพทั้งสองจึงกลับลงมาแลวเดินวนรอบเสาศักดิ์สิทธิ์นั้นเชนเดียวกับ คราวกอน จากนั้นเทพอิสะนะกิไดกลาวขึ้นมากอนวา “อา ทานชางเปนผูหญิงที่วิเศษ เหลือเกิน” หลังจากนั้นเทพหญิงอิสะนะมิจึงกลาวขึ้น “อา ทานชางเปนผูชายที่วิเศษ เหลือเกิน” พอกลาวเชนนั้นจบก็ทำพิธีแตงงานกัน บุตรที่ถือกำเนิดออกมาไดแกเกาะ อะวะจิโนะโฮะโนะซะวะเกะ (Awajinohonosawake)8 ถัดมาไดใหกำเนิดเกาะอิโยะโนะฟุตะนะ (Iyonofutana)9 เกาะนี้มีรางเดียวแตมี สี่หนา แตละหนาลวนมีชื่อเรียก ฝงเมืองอิโยะ (Iyo) เรียกวาเอะฮิเมะ (Ehime)10 ฝงเมือง ซะนุกิ (Sanuki) เรียกวาอีโยะริฮิโกะ (Iiyorihiko)11 ฝงเมืองอะวะ (Awa) เรียกวา โอเงะทซุฮิเมะ (Oogezuhime)12 และฝงเมืองโทะซะ(Tosa) เรียกวาทะเกะโยะริวะเกะ (Takeyoriwake)13 7 เกาะในจินตนาการไมมีอยูจริง บางวาเปนเกาะคะมิจิมะ (Kamijima) ที่อยูระหวางชองแคบระหวาง เกาะอะวะจิและจังหวัดวะกะยะมะในปจจุบัน 8 เกาะอะวะจิในจังหวัดเฮียวโงะ (Hyougo) อยูทางฝงตะวันออกของทะเลเซะโตะอุชิ (Setouchi) 9 เกาะชิโกะกุในปจจุบัน 10 จังหวัดเอะฮิเมะในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชิโกะกุ 11 จังหวัดคะงะวะ (Kagawa) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะชิโกะกุ 12 จังหวัดโทะกุฌิมะ (Tokushima) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกของเกาะชิโกะกุ 13 จังหวัดโคชิ (Kouchi) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันตกของเกาะชิโกะกุ AW_Japan_4.indd Sec1:8AW_Japan_4.indd Sec1:8 10/25/10 7:20:50 PM10/25/10 7:20:50 PM
  • 12. 9 ถัดมาไดใหกำเนิดบุตรลำดับที่ 3 คือ เกาะโอะกิโนะมิทซุโกะ (Okinomitsuko) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะโอะฌิโกะโระวะเกะ (Amenooshikorowake)14 จากนั้นไดใหกำเนิดเกาะทซุกุฌิ (Tsukushi)15 เกาะนี้ก็มีรางเดียวแตมี 4 หนา แตละหนาลวนมีชื่อเรียก ฝงเมืองทซุกุฌิ (Tsukushi) เรียกวาฌิระฮิวะเกะ (Shirahiwake)16 ฝงเมืองโทะโยะ (Toyo) เรียกวาโทะโยะฮิวะเกะ (Toyohiwake)17 ฝงเมืองฮิ (Hi) เรียกวา ทะเกะฮิมุกะฮิโตะโยะกุชิฮิเนะวะเกะ (Takehimukahitoyokuchihinewake)18 ฝงเมือง คุมะโซะ (Kumaso) เรียกวาทะเกะฮิวะเกะ (Takehiwake)19 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะอิกิ (Iki) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฮิโตะทซุบะฌิระ (Amehitotsubashira)20 จากนั้นไดใหกำเนิดเกาะทซุฌิมะ (Tsushima) หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะซะเดะโยะริฮิเมะ (Amenosadeyorihime)21 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะ ซะโดะ (Sado)22 ลำดับถัดไปไดใหกำเนิดเกาะโอยะมะโตะโตะโยะอะกิสุ (Ooyamato- toyoakizu) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะมะทซุมิโซะระโตะโยะอะกิสุเนะวะเกะ (Amatsumi- 14 เกาะโอะกิในจังหวัดฌิมะเนะ (Shimane) ในปจจุบัน สวนหนาของเกาะประกอบดวยเกาะ 3 เกาะ ดังนั้นจึงถูกเรียกวา “โอะกิโนะมิทซุโกะ” โดยคำวา “มิทซุโกะ” หมายถึง แฝดสาม 15 เกาะคิวชูในปจจุบัน 16 จังหวัดฟุกุโอะกะ (Fukuoka) ในปจจุบัน อยูทางทิศเหนือของเกาะคิวชู 17 จังหวัดโออิตะ (Ooita) ในปจจุบัน อยูทางทิศตะวันออกของเกาะคิวชู 18 บริเวณจังหวัดคุมะโมะโตะ (Kumamoto) จังหวัดซะงะ (Saga) และจังหวัดนะงะซะกิ (Nagasaki) อยูทางแถบตะวันตกของเกาะคิวชู 19 บริเวณจังหวัดคะโงะฌิมะ (Kagoshima) จังหวัดมิยะซะกิ (Miyasaki) และทิศใตของจังหวัด คุมะโมะโตะอยูทางทิศใตของเกาะคิวชู 20 เกาะอิกิในจังหวัดนะงะซะกิ อยูระหวางเกาะคิวชูกับคาบสมุทรเกาหลี อยูหางจากเกาะคิวชู ออกไปราว 25 กิโลเมตร 21 เกาะทซุฌิมะในจังหวัดนะงะซะกิ อยูระหวางเกาะคิวชูกับคาบสมุทรเกาหลี 22 เกาะซะโดะในจังหวัดนีงะตะ (Niigata) AW_Japan_4.indd Sec1:9AW_Japan_4.indd Sec1:9 10/25/10 7:20:52 PM10/25/10 7:20:52 PM
  • 13. 10 soratoyoakizunewake)23 และเนื่องจากเกาะทั้งแปดนี้ถือกำเนิดขึ้นมาเปนอันดับแรกจึง เรียกประเทศของเรา (ประเทศญี่ปุน) นี้วา “โอยะฌิมะกุนิ (Ooyashimakuni ประเทศ แหงเกาะทั้งแปด)” หลังจากใหกำเนิดเกาะใหญทั้งแปดแลว ขณะจะกลับยังเกาะโอะโนะโงะโระ ก็ไดใหกำเนิดเกาะคิบิโนะโกะ (Kibinoko) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาทะเกะฮิกะตะวะเกะ (Takehikatawake)24 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะอะสุกิ (Azuki) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา โอโนะเดะฮิเมะ (Oonodehime)25 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะโอฌิมะ (Ooshima) หรือเรียก อีกชื่อหนึ่งวาโอตะมะรุวะเกะ (Ootamaruwake)26 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะฮิเมะ (Hime) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฮิโตะทซุเนะ (Amehitotsune)27 ถัดไปไดใหกำเนิดเกาะ ชิกะ (Chika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะโนะโอะฌิโอะ (Amenooshio)28 ถัดไปไดให กำเนิดเกาะฟุตะโงะ (Futago) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะเมะฟุตะยะ (Amefutaya)29 ตั้งแตเกาะคิบิโนะโกะจนถึงอะเมะฟุตะยะรวมจำนวนทั้งสิ้น 6 เกาะ หลังจากที่เทพอิสะนะกิและอิสะนะมิไดใหกำเนิดเกาะตาง ๆ เสร็จแลวก็ให กำเนิดทวยเทพ เทพที่ถือกำเนิดขึ้นมาคือเทพโอโกะโตะโอะฌิโอะ (Ookotooshio เทพ แหงความสำคัญของการกอกำเนิดแผนดิน) ถัดไปคือเทพอิวะทซุชิบิโกะ (Iwatsuchi- biko เทพแหงหินและดิน) ถัดไปคือเทพหญิงอิวะซุฮิเมะ (Iwasuhime เทพแหงหินและ 23 เกาะฮอนชูในปจจุบัน ชื่อเกาะนี้หมายถึง ดินแดนที่อุดมสมบูรณไปดวยธัญพืช 24 คาบสมุทรโคะจิมะในปจจุบัน เมื่อกอนยังอยูในสภาพที่เปนเกาะอยู 25 ปจจุบันคือเกาะโฌโดะฌิมะ (Shoudoshima) ในจังหวัดคะงะวะ ชื่อเกาะหมายถึง ถั่วแดง 26 เกาะโอฌิมะทางทิศตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดยะมะงุชิ (Yamaguchi) 27 สันนิษฐานวานาจะเปนเกาะฮิเมะฌิมะทางตอนเหนือของคาบสมุทรคุนิซะกิ (Kunisaki) 28 หมูเกาะที่ประกอบดวยเกาะ 5 เกาะอยูในจังหวัดนะงะซะกิ 29 เกาะทางทิศใตของหมูเกาะ 5 เกาะในจังหวัดนะงะซะกิ ชื่อเรียกหมายถึง เกาะแฝดชายหญิง AW_Japan_4.indd Sec1:10AW_Japan_4.indd Sec1:10 10/25/10 7:20:55 PM10/25/10 7:20:55 PM