SlideShare a Scribd company logo
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
1‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
u iu iu iu i
æ aou  e šæ aou  e šæ aou  e šæ aou  e š
ที่ คําถาม คําตอบ
1 คุณธรรมคุณธรรมคุณธรรมคุณธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด - VirtueVirtueVirtueVirtue
2 คุณธรรมคุณธรรมคุณธรรมคุณธรรม
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน
พ.ศ. 2542 หมายถึง อะไรอะไรอะไรอะไร
- สภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดี
3 กูด (Good 1973: 641)
ไดใหความหมายของคุณคุณคุณคุณธรรม (ธรรม (ธรรม (ธรรม (Virtue)Virtue)Virtue)Virtue)
ไววา อยางไร
คุณธรรม คือ ความดีงามความดีงามความดีงามความดีงามของลักษณะนิสัย
หรือพฤติกรรมที่ไดกระทําจนเคยชิน
คุณธรรม คือ คุณภาพที่บุคคลไดกระทําตาม
ความคิดและมาตรฐานของสังคมซึ่งเกี่ยวของ
กับความประพฤติและศีลธรรม
คุณธรรม คือ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ
ทางจรรยาตอสังคม
4 สรุป คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูในจิตใจของคนในจิตใจของคนในจิตใจของคนในจิตใจของคน
u i æ a ‹ i
u
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
2‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ คําถาม คําตอบ
5 จริยธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด EthicsEthicsEthicsEthics
6 “จริยธรรม” มาจาก คําวาอะไร จริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะ
7 “จริยะ” หมายถึง อะไร ความประพฤติความประพฤติความประพฤติความประพฤติ
หรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติ
ที่ คําถาม คําตอบ
8 คุณธรรม หมายถึงอะไร ธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคล
9 จริยธรรม หมายถึงอะไร การกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรม
i
u ( u / i )
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
3‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ คําถาม คําตอบ
11 คานิยม
มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด
ValueValueValueValue
12 คานิยม
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน
พ.ศ. 2542 หมายถึงอะไร
สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือ
เปนเครื่องชวยตัดสินใจ และกําหนดการ
กระทําของตนเอง.
13 ประเภทของคานิยม มีกี่ประเภท 2 ประเภท
14 คานิยม มี 2 ประเภท คือ 1. คานิยมสวนบุคคล
2. คานิยมของสังคม
15 คานิยมสวนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจเลือกในสิ่งหรือ
สถานการณที่ตนตองการหรือพอใจ
16 คานิยมของสังคม หมายถึง คานิยมของคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคม
กลาวคือสมาชิกของสังคมสวนใหญยอมรับ วา
เปนสิ่งที่ดีงาม หรือควรแกการปฏิบัติสิ่งหรือ
สถานการณนั้น
‹ i
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
4‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
o
17 อิทธิบาท 4 - คุณธรรมที่ทําใหประสบความสําเร็จ
18 สังคหวัตถุ 4 - คุณธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ
19 พรหมวิหาร 4 - ธรรมสําหรับผูปกครอง/ธรรมสําหรับผูใหญ
20 ธรรมของฆราวาส 4 - คุณธรรมของผูครองเรือน
21 อริยสัจ 4 - ความจริงอันประเสริฐ
22 ทศพิธราชธรรม - จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดินปฏิบัติ
23 กัลยาณมิตรธรรม 7 : - ธรรมบุคคลที่เปนเพื่อนที่ดี
24 สัปปุริสธรรม 7 - ธรรมของสัตบุรุษ
(บุคคลที่นานับถือ/ธรรมของคนดี)
25 สติสัมปชัญญะธรรม - ธรรมมีอุปการะมาก : สมเด็จพระญาณสังวรฯ
26 หิริโอตตัปปะ - คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก
27 เบญจศีล (ศีล5) - คุณธรรมที่เปนขอหาม
28 เบญจธรรม” (เบญจกัลยาณธรรม) - ธรรม 5 ธรรมอันดีงามหาอยาง
(คุณธรรมหาประการ)
29 ขันธ 5 (เบญจขันธ ) - องคประกอบของชีวิตมนุษย
30 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ
31 อคติ 4 - คุณธรรมที่ไมควรปฏิบัติ( ความลําเอียง )
a a o u
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
5‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
คําถาม คําตอบ
32 อบายมุข 4 / อบายมุข 6 - ทางแหงความเสื่อม
33 มรรค 8 - ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ
34 โลกธรรม 8 - ธรรมที่ครอบงําสัตวโลกเปนความจริงที่ทุกคน
ตองประสบอยางหลีกเลี่ยงไมได
35 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ
36 ไตรลักษณ - ธรรมที่เปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่เสมอกัน
เปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู ๓ อยาง
37 โอวาท 3 - คําแนะนําคําตักเตือนคํากลาวสอนโอวาทของ
พระสัมมาสัมพุทธเจา 3 ประการ
38 ไตรสิกขา - ขอสําหรับศึกษา, การศึกษาขอปฏิบัติที่พึงศึกษา,
การฝกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อยาง
39 ทิศ 6 - บุคคลประเภทตางๆ ที่เราตองเกี่ยวของสัมพันธ
ดุจทิศที่อยูรอบตัวจัดเปน ๖ ทิศ
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
6‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
7‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
1 อิทธิบาท 4 คุณธรรมที่ทําใหประสบความสําเร็จ 1. ฉันฉันฉันฉันทะ ความพอใจรักรักรักรักใครในสิ่งนั้น
2. วิวิวิวิริยะ ความพากเพียรเพียรเพียรเพียรในสิ่งนั้น
3. จิตจิตจิตจิตตะ ความเอาใจใสใจใสใจใสใจใสฝกใฝในสิ่งนั้น
4. วิมังสาาาา ความหมั่นสอดสองในเหตุผลของสิ่งนั้น
2 สังคหวัตถุ 4 คุณธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ 1. ทาน การใหสิ่งที่ควรให
2. ปยวาจา การพูดจาดวยถอยคําไพเราะนาฟงพูดในสิ่งที่เปน
คุณประโยชน
3. อัตถจริยา ประพฤติประโยชนแกผูอื่น และแกตนเอง
4. สมานัตตตา ประพฤติตนใหเสมอตนเสมอปลาย ไมถือตัว
3 พรหมวิหาร 4 ธรรมสําหรับผูใหญ 1. เมเมเมเมตตา ความปรารถนาใหผูอื่นไดรับสุขรับสุขรับสุขรับสุข
2. กกกกรุณา ความปราถนาใหผูอื่นพนทุกขพนทุกขพนทุกขพนทุกข
3. มุมุมุมุทิตา ความยินดียินดียินดียินดีเมื่อผูอื่นไดดี
4. อุอุอุอุเบกขา การรูจักวางเฉยวางเฉยวางเฉยวางเฉย
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
8‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
5 ธรรมของฆราวาส 4 คุณธรรมของผูครองเรือน 1. สัจสัจสัจสัจจะ ความซื่อสัตยสัตยสัตยสัตยตอกัน ซื่อตรงตอกัน
2. ทมะทมะทมะทมะ การรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตขมใจขมใจขมใจขมใจของตน
3. ขันติขันติขันติขันติ ความอดทนอดทนอดทนอดทน อดทนตอความลําบากตรากตรํา
4. จาคะจาคะจาคะจาคะ ความเสียสละเสียสละเสียสละเสียสละ สละวัตถุสิ่งของสงเคราะหเอื้อเฟอกัน
6 อริยสัจ 4 ธรรมที่เปนความจริงอันประเสริฐ 1. ทุกข การมีอยูของทุกข
2.2.2.2. สมุทัย เหตุแหงทุกข
3. นิโรธ ความดับทุกข
4. มรรค หนทางนําไปสูความดับทุกข
7 ธรรมหลัก 4 ประการ แนวคิดอริสโตเติล 1. ความรอบคอบ รูวาอะไรควรประพฤติปฏิบัติ
2. ความกลาหาญ ความกลาเผชิญตอความเปนจริง
3. การรูจักประมาณ การกระทําใหเหมาะสมกับ สภาพและ ฐานะของตน
4. ความยุติธรรม การใหแกทุกคนตามความเหมาะสม
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
9‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
8 อคติ 4 ความลําเอียง ( คุณธรรมที่ไมควรปฏิบัติ) 1. ฉันทาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะรัก เพราะชอบเป็นพิเศษ
2. โทสาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะความเกลียดชัง ไม่ชอบ
3. โมหาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะไม่รู้ ความเขลา
4. ภยาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะกลัวหรือเกรงใจ
9 ทศพิธราชธรรม จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดิน
ปฏิบัติ
- เปนคุณธรรมประจําตนของผูปกครอง
บานเมือง บริหารระดับสูงในทุกองคกร
1. ทาน : การให
2. ศีล : ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ
3. บริจาค : การเสียสละ ความสุขสวนตนเพื่อความสุขสวนรวม
4. อาชชชชวะ : ความซื่ซื่ซื่ซื่อตรง ซื่อสัตย
5. มัทวะ : นิสัยออนโยน มนุษยสัมพันธดี
6. ตบะ : ความเพียร
7. อกฺโกธะ : ความไมแสดงความโกรธ
8. อวิหิงสา : การไมเบียดเบียน
9. ขันติ : การมีความอดทน ตอสิ่งทั้งปวง
10. อวิโรธนะ : ความหนักแนน ถือความถูกตอง เที่ยงธรรมเปนหลัก
เสมอตนเสมอปลาย
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
10‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
10 กัลยาณมิตรธรรม 7 : ธรรมบุคคลที่เปนเพื่อนที่ดี 1. ปโย นารัก
2. ครุ นาเคารพ
3. ภาวนีโย นายกยอง
4. วัตตา รูจักพูด
5. วจวจวจวจนักขโม อดทนตอถอยคําถอยคําถอยคําถอยคํา
6. คัมภีคัมภีคัมภีคัมภีรัญจะกถัง กัตตา กลาวเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจไดงาย
7. โนโนโนโน จักฏฐาเน นิโยชเย ไมไมไมไมแนะนําในชักจูงไปในทางไมดี
11 สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ
(บุคคลที่นานับถือ/ธรรมของคนดี)
1. ธัมมัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาเหตุสาเหตุสาเหตุสาเหตุ
2. อัตถัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาระและผลผลผลผล
3. อัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหตนเองตนเองตนเองตนเอง
4. มัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักหลักของความพอดี การรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณ
5. กาลัญุตา คือ ความเปนรูจักปฏิบัติตนใหถูกกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะ
6. ปริสัญุตา คือ การปรับตนและแกไขตนใหเหมาะกับชุมชนชุมชนชุมชนชุมชน
7. ปุคคลัญุตา คือ ความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบุคคลบุคคลบุคคลบุคคล
12 สติสัมปชัญญะธรรม ธรรมมีอุปการะมาก
: สมเด็จพระญาณสังวรฯ
สติ คือ ความระลึกได
สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวอยูเสมอ
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
11‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
13 หิริโอตตัปปะ คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก หิริ คือ ความละอายละอายละอายละอายใจตอการทําบาป
โอตัปปะ คือ ความเกรงกลัวเกรงกลัวเกรงกลัวเกรงกลัวตอบาปที่จะเกิดขึ้นจากการกระทํา
14 ขันติโสรัจจะ ธรรมอันทําใหงาม ขันติ คือคือคือคือ ความอดทนความอดทนความอดทนความอดทน
โสรัจจะ คือ ความสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยม ความมีอัธยางาม ความเรียบรอย
15 เบญจศีล (ศีล5) คุณธรรมที่เปนขอหาม 1. ปาณาติปาตา เวรมณี เวนจากฆาสัตวมีชีวิต
2. อทินนาทานา เวรมณี เวนจากการถือเอาของที่เจาของมิไดให
3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เวนจากการประพฤติผิดในกาม
4. มุสาวาทา เวรมณี เวนจากการกลาวเท็จ
5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เวนจากการดื่มน้ําเมา
16 ขันธ 5 (เบญจขันธ ) องคประกอบของชีวิตมนุษย 1. รูปขันธ
2. วิญญาณขันธ
3. เวทนาขันธ
4. สัญญาขันธ
5. สังขารขันธ
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
12‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
17 ไตรลักษณ ธรรมที่เปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่
เสมอกันเปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู
๓ อยาง
1. อนิจจตา (อนิจจัง) คือ ความไมเที่ยง
2. ทุกขตา (ทุกขัง) คือ ความเปนทุกข
3. อนัตตตา (อนัตตา) คือ ความไมใชตัวตน
18 สุจริต 3 ความประพฤติชอบ 3 ประการ 1. กายสุจริต ( กาย)
2. วจีสุจริต (วาจา)
3. มโนสุจริต (ใจ)
19 อบายมุข 4
อบายมุข 6
ทางแหงความเสื่อม
อบายมุขอบายมุขอบายมุขอบายมุข 4444
1. เป็นนักเลงหญิง
2. เป็นนักเลงสุรา
3. เป็นนักเลงการพนัน
4. คบคนชั่วเป็นมิตร
อบายมุขอบายมุขอบายมุขอบายมุข 6666
1. เป็นนักเลงหญิง
2. เป็นนักเลงสุรา
3. เป็นนักเลงการพนัน
4. คบคนชั่วเป็นมิตร
5 เที่ยวกลางคืน
6 เกียจครานทํางาน
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
13‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
20 เบญจธรรม”
(เบญจกัลยาณธรรม)
ธรรมอันดีงาม 5 อยาง
คุณธรรม 5 ประการ
1. เมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณา คือ ความรักใครปรารถนาใหมีความสุขความเจริญ และความ
สงสารคิดชวยใหพนทุกข (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๑)
2. สัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะ คือ การหาเลี้ยงชีพในทางสุจริต หรือ “ทาน” คือ การแบงปน
เอื้อเฟอเผื่อแผ (((( ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๒ )
3. กามสังวรกามสังวรกามสังวรกามสังวร คือ ความสังวรในกาม ความสํารวมระวังรูจักยับยั้งควบคุมตนในทาง
กามารมณ ไมใหหลงใหลในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส หรือ “สทารสันโดษ”
คือ ความพอใจดวยภรรยาของตน (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๓)
4. สัจจะสัจจะสัจจะสัจจะ คือ ความสัตย ความซื่อตรง (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๔)
5. สติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะ คือ ระลึกไดและรูตัวอยูเสมอ คือ ฝกตนใหเปนคนรูจักยั้งคิด
รูสึกตัวเสมอวา สิ่งใดควรทํา และไมควรทํา ระวังมิใหเปนคนมัวเมาประมาท หรือ
“อัปปมาทะ” คือ ความไมประมาท (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๕)
eeee eeee
1. ‹ ‹ a  a i 1. e æ a u
2. ‹ a o 2. a o a
3. ‹ i 3. a
4. ‹ e 4. a a
5. ‹ u e 5. i a a a
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
14‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
21 มรรค 8 ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ 1. สัมมาทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิ คือ ความเขาใจเขาใจเขาใจเขาใจถูกตอง
2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝใจถูกตอง
3. สัมมาวาจาวาจาวาจาวาจา คือ การพูดจาพูดจาพูดจาพูดจาถูกตอง
4. สัมมากัมมันกัมมันกัมมันกัมมันตะ คือ การกระทํากระทํากระทํากระทําถูกตอง
5. สัมมาอาชีอาชีอาชีอาชีวะ คือ การดํารงชีพชีพชีพชีพถูกตอง เหมือนกัน
6. สัมมาวายาวายาวายาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกตอง
7. สัมมาสติสติสติสติ คือ การระลึกระลึกระลึกระลึกประจําใจถูกตอง
8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกตอง
22 ไตรสิกขา ขบวนกาการศึกษา 3 องคประกอบ
เพื่อการบรรลุเปาหมายของดุลยภาพ
ของชีวิต
1. ศีล หรือ ขบวนการระเบียบปฏิบัติ(วินัย)
2. สมาธิ หรือ ขบวนการฝกอบรมจิตสํานึกเพื่อใหเกิดความเพียรชอบ
3. ปญญา หรือ ขบวนการทางความรู เปนวิธีการอบรมศึกษาเพื่อใหเกิดวิชา
ความรูและปญญา
23 โอวาท 3 หลักธรรมที่เปนหัวใจในทาง
พระพุทธศาสนา 3 ประการ
1. ไมทําความชั่ว /ละเวนความชั่ว
2. ทําความดี
3. ทําจิตใจใหผองใส /ทําจิตใจบริสุทธผองใส
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
15‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
24 โลกธรรม 8 ธรรมที่ครอบงําสัตวโลก
เปนความจริงที่ทุกคนตองประสบอยาง
หลีกเลี่ยงไมได
โลกธรรม 8 ประกอบดวย2 ฝายควบคูกัน
ฝายที่มนุษยพอใจมี 4 อยาง
ฝายที่มนุษยไมพอใจมี 4อยาง
† u  o 4 o ‹ † u  ‹ o 4
o ‹
‹
e i i
u u 
25 ทิศ 6 บุคคลประเภทตางๆ ที่
เราตองเกี่ยวของสัมพันธ
๑. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหนา ไดแก บิดา มารดา
๒. ทักขิณทิสทิศ เบื้องขวา ไดแก ครูอาจารย
๓. ปจฉิมทิสทิศ เบื้องหลัง ไดแก สามีภรรยา
๔. อุตตรทิสทิศ เบื้องซาย ไดแก มิตรสหาย
๕. เหฏฐิมทิสทิศ เบื้องลาง ไดแก ลูกจางกับนายจาง (บาว)
๖ .อุปริมทิสทิศ เบื้องบน ไดแก พระสงฆ สมณพราหมณ
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
16‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
26 หลักบัญญัติ ๑๐ ประการ รายการคําสอนและขอปฏิบัติ 10 ประการ 1. จงนมัสการพระเจาแตผูเดียว
2. อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมควร
3. วันพระเจาใหถือเปนวันศักดิ์สิทธิ์
4. จงนับถือบิดามารดา
5. อยาฆาคน
6. อยาลวงประเวณี
7. อยาลักทรัพย
8. อยาขโมย
9. อยาเปนพยานเท็จตอเพื่อนบานของเจา
10. อยาโลภอยากไดเรือนของเพื่อนบาน อยาโลภมากอยากไดเมียของเพื่อนบาน
หรือทาสของเขา หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดของเพื่อนบานนั้น
27 หลักตรีเอกานุภาพ เปนหลักคําสอนที่ใหศรัทธาในพระเจา
พระองคเดียว แตมี ๓ สภาวะ
1. พระบิดาพระบิดาพระบิดาพระบิดา คือ องคพระเจาผูสรางโลกและมนุษย
2. พระบุตรพระบุตรพระบุตรพระบุตร คือ ผูเกิดมาเพื่อชวยไถบาปใหแกมนุษย
3. พระจิตรพระจิตรพระจิตรพระจิตร คือ พระวิญญาณอันบริสุทธเพื่อมอบความรักและบันดาลใหมนุษย
ประพฤติดี
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
17‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
28 หลักความรัก คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต มี ๒ ระดับ คือ
1. a a ‹ u  a ae Œ เปรียบเหมือนความรักระหวางบิดากับบุตร
2. a a ‹ u  a u  พระเยซูสอนใหรักเพื่อนบาน (มนุษยทั้ง
โลก) สอนใหรักศัตรู รูจักการใหอภัยและเสียสละ
29 หลักศรัทธา 6 ประการ ความเชื่อมั่นดวยจิตใจโดยปราศจากการ
ระแวงสงสัยหรือการโตแยงใดๆ
หลักศรัทธาในศาสนา อิสลาม มี 6 ประการ คือ
1. ศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจา ชาวมุสลิมตองศรัทธาตอพระอัลลอฮแตเพียงพระองค
เดียว
2. ศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺ วามีจริง คําวา “มลาอีกะฮฺ” หมายถึง ทูตสวรรค
หรือเทวทูตของพระเจา เปนคนกลางระหวางพระเจากับศาสดา เปนวิญญาณ
ที่มองไมเห็น สัมผัสไมได
3.3.3.3. ศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอาน
4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ในคัมภีรอัลกุรอานกลาวถึงศาสนทูตวามีทั้งหมด 25
ทาน ทานแรก คือ นบีอาดัม และทานสุดทายคือ นบีมุฮัมมัด
5. ศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษา มุสลิมตองเชื่อวาโลกนี้ไมจีรัง ตองมีวันแตกสลายหรือมี
วันสิ้นโลก
6. ศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะ (ลิขิต) ของพระเจา ชาวมุสลิมเชื่อวาพระเจาไดทรง
กําหนดกฎอันแนนอนไว 2 ประเภท
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
18‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o
ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย
30 หลักอาศรมหลักอาศรมหลักอาศรมหลักอาศรม 4444 เปนขั้นตอนการดําเนินชีวิตของผูที่นับถือ
ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เพื่อยกระดับชีวิต
ใหสูงขึ้น
1. พรหมจารี
2. คฤหัสถ
3. วานปรัสถ
4. สันยาสี
31 หลักธรรมหลักธรรมหลักธรรมหลักธรรม 10101010 ประการประการประการประการ พระธรรมศาสตร 10 ประการ 1. ธฤติ
2. กษมา
3. ทมะ
4. อัสเตยะ
5. เศาจะ
6. อินทรียนิครหะ
7. ธี
8. วิทยา
9. สัตยา
10. อโกธะ
ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ..
19‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาSuraphat Honark
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมprrimhuffy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
ศีล๕ ครูคุณภาพ
ศีล๕ ครูคุณภาพศีล๕ ครูคุณภาพ
ศีล๕ ครูคุณภาพ
Oh O OpoLo
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
พัน พัน
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
june_yenta4
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
สาวกปิศาจ Kudo
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
tassanee chaicharoen
 

What's hot (15)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
ศีล๕ ครูคุณภาพ
ศีล๕ ครูคุณภาพศีล๕ ครูคุณภาพ
ศีล๕ ครูคุณภาพ
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4หลักอริยสัจ4
หลักอริยสัจ4
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 

Viewers also liked

สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
Watcharapon Donpakdee
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
Watcharapon Donpakdee
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
Watcharapon Donpakdee
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
Watcharapon Donpakdee
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
คน ขี้เล่า
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
คน ขี้เล่า
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาRawiwan Promlee
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Viewers also liked (20)

สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครูแนวข้อสอบวิชาชีพครู
แนวข้อสอบวิชาชีพครู
 

Similar to คุณธรรม

11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyleetcenterrbru
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
Taraya Srivilas
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
Panuwat Beforetwo
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
niralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineChawalit Jit
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
Pises Tantimala
 
พื้นฐานชีวิต 32.pptx
พื้นฐานชีวิต 32.pptxพื้นฐานชีวิต 32.pptx
พื้นฐานชีวิต 32.pptx
SunnyStrong
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
niralai
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
suwantan
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
Taraya Srivilas
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
SunnyStrong
 

Similar to คุณธรรม (20)

11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle
 
13 life
13 life13 life
13 life
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
03 develop1
03 develop103 develop1
03 develop1
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
The buddhist s_discipline
The buddhist s_disciplineThe buddhist s_discipline
The buddhist s_discipline
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
พื้นฐานชีวิต 32.pptx
พื้นฐานชีวิต 32.pptxพื้นฐานชีวิต 32.pptx
พื้นฐานชีวิต 32.pptx
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
 
เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

คุณธรรม

  • 1. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 1‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o u iu iu iu i æ aou  e šæ aou  e šæ aou  e šæ aou  e š ที่ คําถาม คําตอบ 1 คุณธรรมคุณธรรมคุณธรรมคุณธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด - VirtueVirtueVirtueVirtue 2 คุณธรรมคุณธรรมคุณธรรมคุณธรรม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง อะไรอะไรอะไรอะไร - สภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดีสภาพคุณงามความดี 3 กูด (Good 1973: 641) ไดใหความหมายของคุณคุณคุณคุณธรรม (ธรรม (ธรรม (ธรรม (Virtue)Virtue)Virtue)Virtue) ไววา อยางไร คุณธรรม คือ ความดีงามความดีงามความดีงามความดีงามของลักษณะนิสัย หรือพฤติกรรมที่ไดกระทําจนเคยชิน คุณธรรม คือ คุณภาพที่บุคคลไดกระทําตาม ความคิดและมาตรฐานของสังคมซึ่งเกี่ยวของ กับความประพฤติและศีลธรรม คุณธรรม คือ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติคุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติ ทางจรรยาตอสังคม 4 สรุป คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูอุปนิสัยอันดีงามที่อยูในจิตใจของคนในจิตใจของคนในจิตใจของคนในจิตใจของคน u i æ a ‹ i u
  • 2. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 2‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ คําถาม คําตอบ 5 จริยธรรม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด EthicsEthicsEthicsEthics 6 “จริยธรรม” มาจาก คําวาอะไร จริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะจริยะ + ธรรมะ 7 “จริยะ” หมายถึง อะไร ความประพฤติความประพฤติความประพฤติความประพฤติ หรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติหรือกริยาที่ควรประพฤติปฏิบัติ ที่ คําถาม คําตอบ 8 คุณธรรม หมายถึงอะไร ธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคลธรรมดานดีใน จิตใจของแตละบุคคล 9 จริยธรรม หมายถึงอะไร การกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรมการกระทํา/ แสดงออกของคุณธรรม i u ( u / i )
  • 3. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 3‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ คําถาม คําตอบ 11 คานิยม มาจากคําใน ภาษาอังกฤษ คําใด ValueValueValueValue 12 คานิยม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึงอะไร สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือบุคคลหรือสังคมยึดถือ เปนเครื่องชวยตัดสินใจ และกําหนดการ กระทําของตนเอง. 13 ประเภทของคานิยม มีกี่ประเภท 2 ประเภท 14 คานิยม มี 2 ประเภท คือ 1. คานิยมสวนบุคคล 2. คานิยมของสังคม 15 คานิยมสวนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจบุคคลตัดสินใจเลือกในสิ่งหรือ สถานการณที่ตนตองการหรือพอใจ 16 คานิยมของสังคม หมายถึง คานิยมของคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคมคนสวนใหญในสังคม กลาวคือสมาชิกของสังคมสวนใหญยอมรับ วา เปนสิ่งที่ดีงาม หรือควรแกการปฏิบัติสิ่งหรือ สถานการณนั้น ‹ i
  • 4. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 4‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o o 17 อิทธิบาท 4 - คุณธรรมที่ทําใหประสบความสําเร็จ 18 สังคหวัตถุ 4 - คุณธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ 19 พรหมวิหาร 4 - ธรรมสําหรับผูปกครอง/ธรรมสําหรับผูใหญ 20 ธรรมของฆราวาส 4 - คุณธรรมของผูครองเรือน 21 อริยสัจ 4 - ความจริงอันประเสริฐ 22 ทศพิธราชธรรม - จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดินปฏิบัติ 23 กัลยาณมิตรธรรม 7 : - ธรรมบุคคลที่เปนเพื่อนที่ดี 24 สัปปุริสธรรม 7 - ธรรมของสัตบุรุษ (บุคคลที่นานับถือ/ธรรมของคนดี) 25 สติสัมปชัญญะธรรม - ธรรมมีอุปการะมาก : สมเด็จพระญาณสังวรฯ 26 หิริโอตตัปปะ - คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก 27 เบญจศีล (ศีล5) - คุณธรรมที่เปนขอหาม 28 เบญจธรรม” (เบญจกัลยาณธรรม) - ธรรม 5 ธรรมอันดีงามหาอยาง (คุณธรรมหาประการ) 29 ขันธ 5 (เบญจขันธ ) - องคประกอบของชีวิตมนุษย 30 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ 31 อคติ 4 - คุณธรรมที่ไมควรปฏิบัติ( ความลําเอียง ) a a o u
  • 5. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 5‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o คําถาม คําตอบ 32 อบายมุข 4 / อบายมุข 6 - ทางแหงความเสื่อม 33 มรรค 8 - ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ 34 โลกธรรม 8 - ธรรมที่ครอบงําสัตวโลกเปนความจริงที่ทุกคน ตองประสบอยางหลีกเลี่ยงไมได 35 สุจริต 3 - ความประพฤติชอบ 3 ประการ 36 ไตรลักษณ - ธรรมที่เปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่เสมอกัน เปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู ๓ อยาง 37 โอวาท 3 - คําแนะนําคําตักเตือนคํากลาวสอนโอวาทของ พระสัมมาสัมพุทธเจา 3 ประการ 38 ไตรสิกขา - ขอสําหรับศึกษา, การศึกษาขอปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อยาง 39 ทิศ 6 - บุคคลประเภทตางๆ ที่เราตองเกี่ยวของสัมพันธ ดุจทิศที่อยูรอบตัวจัดเปน ๖ ทิศ
  • 7. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 7‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 1 อิทธิบาท 4 คุณธรรมที่ทําใหประสบความสําเร็จ 1. ฉันฉันฉันฉันทะ ความพอใจรักรักรักรักใครในสิ่งนั้น 2. วิวิวิวิริยะ ความพากเพียรเพียรเพียรเพียรในสิ่งนั้น 3. จิตจิตจิตจิตตะ ความเอาใจใสใจใสใจใสใจใสฝกใฝในสิ่งนั้น 4. วิมังสาาาา ความหมั่นสอดสองในเหตุผลของสิ่งนั้น 2 สังคหวัตถุ 4 คุณธรรมที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ 1. ทาน การใหสิ่งที่ควรให 2. ปยวาจา การพูดจาดวยถอยคําไพเราะนาฟงพูดในสิ่งที่เปน คุณประโยชน 3. อัตถจริยา ประพฤติประโยชนแกผูอื่น และแกตนเอง 4. สมานัตตตา ประพฤติตนใหเสมอตนเสมอปลาย ไมถือตัว 3 พรหมวิหาร 4 ธรรมสําหรับผูใหญ 1. เมเมเมเมตตา ความปรารถนาใหผูอื่นไดรับสุขรับสุขรับสุขรับสุข 2. กกกกรุณา ความปราถนาใหผูอื่นพนทุกขพนทุกขพนทุกขพนทุกข 3. มุมุมุมุทิตา ความยินดียินดียินดียินดีเมื่อผูอื่นไดดี 4. อุอุอุอุเบกขา การรูจักวางเฉยวางเฉยวางเฉยวางเฉย
  • 8. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 8‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 5 ธรรมของฆราวาส 4 คุณธรรมของผูครองเรือน 1. สัจสัจสัจสัจจะ ความซื่อสัตยสัตยสัตยสัตยตอกัน ซื่อตรงตอกัน 2. ทมะทมะทมะทมะ การรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตรูจักขมจิตขมใจขมใจขมใจขมใจของตน 3. ขันติขันติขันติขันติ ความอดทนอดทนอดทนอดทน อดทนตอความลําบากตรากตรํา 4. จาคะจาคะจาคะจาคะ ความเสียสละเสียสละเสียสละเสียสละ สละวัตถุสิ่งของสงเคราะหเอื้อเฟอกัน 6 อริยสัจ 4 ธรรมที่เปนความจริงอันประเสริฐ 1. ทุกข การมีอยูของทุกข 2.2.2.2. สมุทัย เหตุแหงทุกข 3. นิโรธ ความดับทุกข 4. มรรค หนทางนําไปสูความดับทุกข 7 ธรรมหลัก 4 ประการ แนวคิดอริสโตเติล 1. ความรอบคอบ รูวาอะไรควรประพฤติปฏิบัติ 2. ความกลาหาญ ความกลาเผชิญตอความเปนจริง 3. การรูจักประมาณ การกระทําใหเหมาะสมกับ สภาพและ ฐานะของตน 4. ความยุติธรรม การใหแกทุกคนตามความเหมาะสม
  • 9. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 9‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 8 อคติ 4 ความลําเอียง ( คุณธรรมที่ไมควรปฏิบัติ) 1. ฉันทาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะรัก เพราะชอบเป็นพิเศษ 2. โทสาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะความเกลียดชัง ไม่ชอบ 3. โมหาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะไม่รู้ ความเขลา 4. ภยาคติ หมายถึง ความลําเอียงเพราะกลัวหรือเกรงใจ 9 ทศพิธราชธรรม จริยวัตร 10 ประการที่พระเจาแผนดิน ปฏิบัติ - เปนคุณธรรมประจําตนของผูปกครอง บานเมือง บริหารระดับสูงในทุกองคกร 1. ทาน : การให 2. ศีล : ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา และใจ 3. บริจาค : การเสียสละ ความสุขสวนตนเพื่อความสุขสวนรวม 4. อาชชชชวะ : ความซื่ซื่ซื่ซื่อตรง ซื่อสัตย 5. มัทวะ : นิสัยออนโยน มนุษยสัมพันธดี 6. ตบะ : ความเพียร 7. อกฺโกธะ : ความไมแสดงความโกรธ 8. อวิหิงสา : การไมเบียดเบียน 9. ขันติ : การมีความอดทน ตอสิ่งทั้งปวง 10. อวิโรธนะ : ความหนักแนน ถือความถูกตอง เที่ยงธรรมเปนหลัก เสมอตนเสมอปลาย
  • 10. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 10‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 10 กัลยาณมิตรธรรม 7 : ธรรมบุคคลที่เปนเพื่อนที่ดี 1. ปโย นารัก 2. ครุ นาเคารพ 3. ภาวนีโย นายกยอง 4. วัตตา รูจักพูด 5. วจวจวจวจนักขโม อดทนตอถอยคําถอยคําถอยคําถอยคํา 6. คัมภีคัมภีคัมภีคัมภีรัญจะกถัง กัตตา กลาวเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจเรื่องยากใหเขาใจไดงาย 7. โนโนโนโน จักฏฐาเน นิโยชเย ไมไมไมไมแนะนําในชักจูงไปในทางไมดี 11 สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ (บุคคลที่นานับถือ/ธรรมของคนดี) 1. ธัมมัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาเหตุสาเหตุสาเหตุสาเหตุ 2. อัตถัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหสาระและผลผลผลผล 3. อัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักวิเคราะหตนเองตนเองตนเองตนเอง 4. มัตตัญุตา คือ ความเปนผูรูจักหลักของความพอดี การรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณรูจักประมาณ 5. กาลัญุตา คือ ความเปนรูจักปฏิบัติตนใหถูกกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะกาลเทศะ 6. ปริสัญุตา คือ การปรับตนและแกไขตนใหเหมาะกับชุมชนชุมชนชุมชนชุมชน 7. ปุคคลัญุตา คือ ความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบุคคลบุคคลบุคคลบุคคล 12 สติสัมปชัญญะธรรม ธรรมมีอุปการะมาก : สมเด็จพระญาณสังวรฯ สติ คือ ความระลึกได สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวอยูเสมอ
  • 11. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 11‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 13 หิริโอตตัปปะ คุณธรรมอันเปนเครื่องคุมครองโลก หิริ คือ ความละอายละอายละอายละอายใจตอการทําบาป โอตัปปะ คือ ความเกรงกลัวเกรงกลัวเกรงกลัวเกรงกลัวตอบาปที่จะเกิดขึ้นจากการกระทํา 14 ขันติโสรัจจะ ธรรมอันทําใหงาม ขันติ คือคือคือคือ ความอดทนความอดทนความอดทนความอดทน โสรัจจะ คือ ความสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยมสงบเสงี่ยม ความมีอัธยางาม ความเรียบรอย 15 เบญจศีล (ศีล5) คุณธรรมที่เปนขอหาม 1. ปาณาติปาตา เวรมณี เวนจากฆาสัตวมีชีวิต 2. อทินนาทานา เวรมณี เวนจากการถือเอาของที่เจาของมิไดให 3. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เวนจากการประพฤติผิดในกาม 4. มุสาวาทา เวรมณี เวนจากการกลาวเท็จ 5. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เวนจากการดื่มน้ําเมา 16 ขันธ 5 (เบญจขันธ ) องคประกอบของชีวิตมนุษย 1. รูปขันธ 2. วิญญาณขันธ 3. เวทนาขันธ 4. สัญญาขันธ 5. สังขารขันธ
  • 12. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 12‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 17 ไตรลักษณ ธรรมที่เปนสามัญลักษณะ หรือลักษณะที่ เสมอกันเปนธรรมที่พระพุทธเจาไดตรัสรู ๓ อยาง 1. อนิจจตา (อนิจจัง) คือ ความไมเที่ยง 2. ทุกขตา (ทุกขัง) คือ ความเปนทุกข 3. อนัตตตา (อนัตตา) คือ ความไมใชตัวตน 18 สุจริต 3 ความประพฤติชอบ 3 ประการ 1. กายสุจริต ( กาย) 2. วจีสุจริต (วาจา) 3. มโนสุจริต (ใจ) 19 อบายมุข 4 อบายมุข 6 ทางแหงความเสื่อม อบายมุขอบายมุขอบายมุขอบายมุข 4444 1. เป็นนักเลงหญิง 2. เป็นนักเลงสุรา 3. เป็นนักเลงการพนัน 4. คบคนชั่วเป็นมิตร อบายมุขอบายมุขอบายมุขอบายมุข 6666 1. เป็นนักเลงหญิง 2. เป็นนักเลงสุรา 3. เป็นนักเลงการพนัน 4. คบคนชั่วเป็นมิตร 5 เที่ยวกลางคืน 6 เกียจครานทํางาน
  • 13. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 13‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 20 เบญจธรรม” (เบญจกัลยาณธรรม) ธรรมอันดีงาม 5 อยาง คุณธรรม 5 ประการ 1. เมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณาเมตตาและกรุณา คือ ความรักใครปรารถนาใหมีความสุขความเจริญ และความ สงสารคิดชวยใหพนทุกข (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๑) 2. สัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะสัมมาอาชีวะ คือ การหาเลี้ยงชีพในทางสุจริต หรือ “ทาน” คือ การแบงปน เอื้อเฟอเผื่อแผ (((( ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๒ ) 3. กามสังวรกามสังวรกามสังวรกามสังวร คือ ความสังวรในกาม ความสํารวมระวังรูจักยับยั้งควบคุมตนในทาง กามารมณ ไมใหหลงใหลในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส หรือ “สทารสันโดษ” คือ ความพอใจดวยภรรยาของตน (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๓) 4. สัจจะสัจจะสัจจะสัจจะ คือ ความสัตย ความซื่อตรง (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๔) 5. สติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะสติสัมปชัญญะ คือ ระลึกไดและรูตัวอยูเสมอ คือ ฝกตนใหเปนคนรูจักยั้งคิด รูสึกตัวเสมอวา สิ่งใดควรทํา และไมควรทํา ระวังมิใหเปนคนมัวเมาประมาท หรือ “อัปปมาทะ” คือ ความไมประมาท (ซึ่งคูกับศีลขอที่ ๕) eeee eeee 1. ‹ ‹ a  a i 1. e æ a u 2. ‹ a o 2. a o a 3. ‹ i 3. a 4. ‹ e 4. a a 5. ‹ u e 5. i a a a
  • 14. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 14‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 21 มรรค 8 ทางดําเนินชีวิตอันประเสริฐ 1. สัมมาทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิทิฏฐิ คือ ความเขาใจเขาใจเขาใจเขาใจถูกตอง 2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความใฝใจถูกตอง 3. สัมมาวาจาวาจาวาจาวาจา คือ การพูดจาพูดจาพูดจาพูดจาถูกตอง 4. สัมมากัมมันกัมมันกัมมันกัมมันตะ คือ การกระทํากระทํากระทํากระทําถูกตอง 5. สัมมาอาชีอาชีอาชีอาชีวะ คือ การดํารงชีพชีพชีพชีพถูกตอง เหมือนกัน 6. สัมมาวายาวายาวายาวายามะ คือ ความพากเพียรถูกตอง 7. สัมมาสติสติสติสติ คือ การระลึกระลึกระลึกระลึกประจําใจถูกตอง 8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจมั่นถูกตอง 22 ไตรสิกขา ขบวนกาการศึกษา 3 องคประกอบ เพื่อการบรรลุเปาหมายของดุลยภาพ ของชีวิต 1. ศีล หรือ ขบวนการระเบียบปฏิบัติ(วินัย) 2. สมาธิ หรือ ขบวนการฝกอบรมจิตสํานึกเพื่อใหเกิดความเพียรชอบ 3. ปญญา หรือ ขบวนการทางความรู เปนวิธีการอบรมศึกษาเพื่อใหเกิดวิชา ความรูและปญญา 23 โอวาท 3 หลักธรรมที่เปนหัวใจในทาง พระพุทธศาสนา 3 ประการ 1. ไมทําความชั่ว /ละเวนความชั่ว 2. ทําความดี 3. ทําจิตใจใหผองใส /ทําจิตใจบริสุทธผองใส
  • 15. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 15‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 24 โลกธรรม 8 ธรรมที่ครอบงําสัตวโลก เปนความจริงที่ทุกคนตองประสบอยาง หลีกเลี่ยงไมได โลกธรรม 8 ประกอบดวย2 ฝายควบคูกัน ฝายที่มนุษยพอใจมี 4 อยาง ฝายที่มนุษยไมพอใจมี 4อยาง † u  o 4 o ‹ † u  ‹ o 4 o ‹ ‹ e i i u u  25 ทิศ 6 บุคคลประเภทตางๆ ที่ เราตองเกี่ยวของสัมพันธ ๑. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหนา ไดแก บิดา มารดา ๒. ทักขิณทิสทิศ เบื้องขวา ไดแก ครูอาจารย ๓. ปจฉิมทิสทิศ เบื้องหลัง ไดแก สามีภรรยา ๔. อุตตรทิสทิศ เบื้องซาย ไดแก มิตรสหาย ๕. เหฏฐิมทิสทิศ เบื้องลาง ไดแก ลูกจางกับนายจาง (บาว) ๖ .อุปริมทิสทิศ เบื้องบน ไดแก พระสงฆ สมณพราหมณ
  • 16. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 16‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 26 หลักบัญญัติ ๑๐ ประการ รายการคําสอนและขอปฏิบัติ 10 ประการ 1. จงนมัสการพระเจาแตผูเดียว 2. อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมควร 3. วันพระเจาใหถือเปนวันศักดิ์สิทธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อยาฆาคน 6. อยาลวงประเวณี 7. อยาลักทรัพย 8. อยาขโมย 9. อยาเปนพยานเท็จตอเพื่อนบานของเจา 10. อยาโลภอยากไดเรือนของเพื่อนบาน อยาโลภมากอยากไดเมียของเพื่อนบาน หรือทาสของเขา หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดของเพื่อนบานนั้น 27 หลักตรีเอกานุภาพ เปนหลักคําสอนที่ใหศรัทธาในพระเจา พระองคเดียว แตมี ๓ สภาวะ 1. พระบิดาพระบิดาพระบิดาพระบิดา คือ องคพระเจาผูสรางโลกและมนุษย 2. พระบุตรพระบุตรพระบุตรพระบุตร คือ ผูเกิดมาเพื่อชวยไถบาปใหแกมนุษย 3. พระจิตรพระจิตรพระจิตรพระจิตร คือ พระวิญญาณอันบริสุทธเพื่อมอบความรักและบันดาลใหมนุษย ประพฤติดี
  • 17. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 17‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 28 หลักความรัก คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต คําสอนเรื่องความรักในศาสนาคริสต มี ๒ ระดับ คือ 1. a a ‹ u  a ae Œ เปรียบเหมือนความรักระหวางบิดากับบุตร 2. a a ‹ u  a u  พระเยซูสอนใหรักเพื่อนบาน (มนุษยทั้ง โลก) สอนใหรักศัตรู รูจักการใหอภัยและเสียสละ 29 หลักศรัทธา 6 ประการ ความเชื่อมั่นดวยจิตใจโดยปราศจากการ ระแวงสงสัยหรือการโตแยงใดๆ หลักศรัทธาในศาสนา อิสลาม มี 6 ประการ คือ 1. ศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจาศรัทธาในพระผูเปนเจา ชาวมุสลิมตองศรัทธาตอพระอัลลอฮแตเพียงพระองค เดียว 2. ศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺ วามีจริง คําวา “มลาอีกะฮฺ” หมายถึง ทูตสวรรค หรือเทวทูตของพระเจา เปนคนกลางระหวางพระเจากับศาสดา เปนวิญญาณ ที่มองไมเห็น สัมผัสไมได 3.3.3.3. ศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอานศรัทธาในคัมภีรอัลกุรอาน 4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูตศรัทธาในบรรดาศาสนทูต ในคัมภีรอัลกุรอานกลาวถึงศาสนทูตวามีทั้งหมด 25 ทาน ทานแรก คือ นบีอาดัม และทานสุดทายคือ นบีมุฮัมมัด 5. ศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษาศรัทธาในวันพิพากษา มุสลิมตองเชื่อวาโลกนี้ไมจีรัง ตองมีวันแตกสลายหรือมี วันสิ้นโลก 6. ศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะศรัทธาในกฎสภาวะ (ลิขิต) ของพระเจา ชาวมุสลิมเชื่อวาพระเจาไดทรง กําหนดกฎอันแนนอนไว 2 ประเภท
  • 18. ความสําเร็จไมไดเกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีความมุงมั่นและพยายามเทานั้น...ที่จะไดพบเจอ.. 18‹ oe o u ครูผูชวย 2560 a o o e o ที่ หลักธรรม ความหมาย ประกอบดวย 30 หลักอาศรมหลักอาศรมหลักอาศรมหลักอาศรม 4444 เปนขั้นตอนการดําเนินชีวิตของผูที่นับถือ ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เพื่อยกระดับชีวิต ใหสูงขึ้น 1. พรหมจารี 2. คฤหัสถ 3. วานปรัสถ 4. สันยาสี 31 หลักธรรมหลักธรรมหลักธรรมหลักธรรม 10101010 ประการประการประการประการ พระธรรมศาสตร 10 ประการ 1. ธฤติ 2. กษมา 3. ทมะ 4. อัสเตยะ 5. เศาจะ 6. อินทรียนิครหะ 7. ธี 8. วิทยา 9. สัตยา 10. อโกธะ