SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การพัฒนาตนเอง


วิชา จริยศึกษาเพื่อการพัฒนาตน
  โดย รศ.เฉลา ประเสริฐสังข

           รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   1
ทําไมตองพัฒนา
1.   มนุษยเกิดมาเพื่อเรียนรู
2.   การเรียนรูทําใหเกิดการพัฒนาเปนการสราง
     คุณคา และเพิ่มประสิทธิภาพของตนเอง
3.   การดําเนินชีวิตตองปรับเปลี่ยนใหสอดคลองกับ
     สภาพแวดลอมเพื่อความอยูรอดของชีวิต
4.   การเปลี่ยนแปลงเปนสัจธรรมของสรรพสิ่ง ทุก
     สิ่งทุกกอยาง ลวนเปนอนิจจัง(ไมเที่ยง)
                     รศ. เฉลา ประเสริฐสังข         2
                                                        2
การเปลียนแปลงตามกฎไตรลักษณ
          ่
การเปลี่ยนของชีวิตเปนไปตาม กฎไตรลักษณ หมายถึง
มีลักษณะ 3 ประการ
1. อนิจจัง : ความไมเที่ยงของสรรพสิ่ง ตองมีการ
     เปลี่ยนแปลงเสมอ คือ เกิดขึน ตั้งอยู และดับไป
                                 ้
2. ทุกขัง : การดําเนินชีวิตเปนทุกข เครียด มักจะทน
     ไมไดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
3. อนัตตา : ความไมมตัวตน  ี
                     รศ. เฉลา ประเสริฐสังข           3
                                                          3
การพัฒนาเปนสวนหนึ่งของชีวิต
มนุษยเปนผลผลิตจากธรรมชาติสดมหัศจรรย ยิ่งกวาสิ่งใด
                            ุ
ในโลก พัฒนาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา




                          4
                                                        4
การพัฒนา ..พัฒนาอะไรบาง
 การพัฒนาตองพัฒนาองคประกอบของมนุษยทุกสวน...?
               รางกาย         การกระทํา กิริยาอาการ

มนุษย          จิตใจ          อารมณความรูสึก
                สมอง            การคิด

   การพัฒนาตองพัฒนา กายและจิต(จิตใจและสมอง)
 ใหมคณภาพ กายสมารท จิตสะอาด สมองปราดเปรื่อง
     ี ุ
                         5
                                                       5
เริ่มตนพัฒนาตองปลูกตนกลาทีจิตใจ..?
                               ่
การพัฒนาตนตองเริ่มตนที่จิตใจ (จิตสํานึกของตน)
   จะปลูกพืชตองเตรียมดิน
   จะกินตองเตรียมอาหาร
   จะสงเสริมพัฒนาการตองเตรียมคน
   จะพัฒนาคนตองเริ่มตนทีจิตใจ
                           ่
   จะพัฒนาใครตองเริ่มที่ตนเองกอน
     “การพัฒนาตน เริ่มตนที่จิตใจ”
                      รศ. เฉลา ประเสริฐสังข      6
                                                      6
ความสําเร็จในชีวิต ..เริ่มตนที่จตใจ
                                      ิ
จงหมันสํารวจจิตใจของทาน เพราะมันจะนําไปสูการคิด
           ่
จงหมันสํารวจการคิดของทาน เพราะจะนําไปสูการกระทํา
         ่
จงหมันสํารวจการกระทําของทานเพราะจะนําไปสูความเคยชิน
       ่
จงหมันสํารวจความเคยชินของทาน เพราะจะนําไปสูนิสัย
     ่
จงหมันสํารวจนิสยของทาน เพราะมันจะนําไปสู ชะตาชีวตทาน
             ่ ั                                   ิ
     “ชะตาชีวิต ความสําเร็จหรือความลมเหลวในชีวิต
    ของทานจึงเริ่มตนที่....จิตใจของทานเอง”
                         ....
                        รศ. เฉลา ประเสริฐสังข            7
                                                              7
เปาหมายของการพัฒนากาย..?
เปาหมายของการพัฒนากาย “รางกายสมารท”
     หมายถึงลักษณะรางกายตอง เทห ดูดี
    -รางกายแข็งแรงสมสวน
    -การแตงกายดูดี มีคุณคา
    -กิริยาอาการ ทาทาง อิริยาบถ ดูดี
    -ทักษะทางรางกาย คลองแคลว
    -องคประกอบภายในรางกาย แข็งแรง
                  รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   8
เปาหมายของการพัฒนาจิตใจ..?
เปาหมายของการพัฒนาจิตใจ “จิตสะอาด”
 หมายถึงลักษณะจิตใจตอไปนี้
    -มีจิตใจที่ดีงาม
    -มีคุณธรรมจริยธรรม
    -มองโลกในแงดี
    -มีอารมณแจมใส EQ สูง
           ฯลฯ
                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   9
                                              9
เปาหมายของการพัฒนาสมอง..?
การพัฒนาสมองมีความคิด “ความคิดปราดเปรื่อง”
 หมายถึงมีความสามารถในการคิด
   -มีความคิดที่เปนระบบ
   -มีความคิดวิเคราะห
   -มีความคิดอยางวิจารณญาณ
   -มีความคิดสรางสรรค
    “ความคิด..มีความหมายมากกวาความรู”
                                     
                   รศ. เฉลา ประเสริฐสังข    10
                                                  10
ผลลัพธจากการพัฒนา
ผลลัพธจากการพัฒนาตน นักศึกษาเปนคนดี
ศรีรําไพฯ (คนดีศรีแผนดิน) 9 ประการ
   1.มีคณธรรมและจริยธรรม
         ุ
   2.มีระเบียบวินย ั
   3.มีจิตสํานึกดี
   4.รักการเรียนรู

                   รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   11
                                                 11
ผลลัพธจากการพัฒนา(ตอ)
5. มีความรัก ผูกพันอยางใกลชิด เอื้ออาทรตอ
 บุคคลในครอบครัวและคนอื่น
6.รักความเปนไทยและวัฒนธรรมไทย
7. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
8. มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย
9. ไมมั่วสุมอบายมุข

                   รศ. เฉลา ประเสริฐสังข      12
                                                    12
ลักษณะของคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
1.   มีคุณธรรมและจริยธรรม: มีพฤติกรรมดังนี้
      -ปฏิบัตตามหลักศาสนาของตนเอง
             ิ
      -มีสัมมาคารวะ ออนนอมถอมตน
      -พูดจาสุภาพออนโยน
      -มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ
      -มีความกตัญูรูคุณ
      -มีความซื่อสัตยตอตนเองและคนอื่น
                         
                    รศ. เฉลา ประเสริฐสังข    13
                                                   13
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
2.มีระเบียบวินย: มีพฤติกรรมดังนี้
              ั
 -ปฏิบัตตามกฎหมาย หรือกฎกติกาของสังคม
            ิ
 -เปนคนตรงตอเวลา
 -รูจักเขาแถวในการรับบริการตางๆ
 -รูจักวางแผนและปฏิบัตตามแผน
                        ิ
 -สามารถควบคุมตนเองใหอยูในระบบ ระเบียบ


                    รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   14
                                                  14
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
3. มีจิตสํานึกที่ดี : มีพฤติกรรมดังนี้
      -รับผิดชอบตอตนเอง
      -มีจิตสาธารณะ
      -มีนาใจนักกีฬา รูแพ รูชนะ
           ้ํ
      -มีการประหยัดและออม
      -มีความขยัน มานะ อดทน
      -มีการอนุรักษธรรมชาติสิ่งแวดลอม
                     รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   15
                                                   15
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
4. รักการเรียนรู : มีพฤติกรรมดังนี้
      -มีการใฝรู ใฝศึกษา คนหาความรู
      -มีการติดตามขอมูลขาวสารอยูเสมอ
      -ตื่นตัวตอประสบการณใหมๆ
      -สามารถนําความรูมาพัฒนาตนเอง
      ไดอยางเหมาะสม

                      รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   16
                                                    16
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
5.มีความรักความผูกพัน ใกลชิด เอื้ออาทรตอผูอื่น
     และคนในครอบครัว
      -มีการพูดคุย ปรึกษาหารือกับสมาชิกใน
     ครอบครัว
      -มีความรักความสามัคคี ปรองดองกันกับ
     สมาชิกในครอบครัวและในสังคม
      -ใหการชวยเหลือเกื้อกูลผูอื่น และเขารวม
     กิจกรรมของสังคมอยูเสมอ
                        รศ. เฉลา ประเสริฐสังข      17
                                                         17
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
6.รักความเปนไทยและวัฒนธรรมไทย
    -สืบสานและเผยแพรเอกลักษณไทย
    -ปฏิบัติตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย
    -วางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ
    -มีจิตใจรักความเปนชาติไทย



                    รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   18
                                                  18
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
7. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี
   -มีลักษณะนิสยการดูแลสุขภาพ ใหสะอาด
               ั
    แข็งแรง
   -รับประทานอาหารที่มคณประโยชน
                       ี ุ
   -มีความสามารถควบคุมอารมณตนไดดี
   -แสวงหาความสุขใหตนไดอยางเหมาะสม

                    รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   19
                                                  19
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
8. มีวิถีชีวตแบบประชาธิปไตย
            ิ
      -เคารพในสิทธิเสรีภาพผูอื่น
      -ปฏิบัติตนเปนผูนําและผูตามทีดี
                                     ่
      -ใชสทธิเสรีภาพในการเลือกตั้ง
              ิ
      -


                        รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   20
                                                      20
ลักษณะคนดีศรีรําไพฯ(ศรีแผนดิน)
9. ไมมั่วสุมอบายมุข
     -ไมติดการพนัน
     -ไมเสพสิงเสพติด
                ่
     -ไมมั่วสุมทางเพศ
     -ไมเที่ยวเตรยามวิกาล


                       รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   21
                                                     21
กระบวนการพัฒนาตน
กระบวนการพัฒนาตนประกอบดวยขันตอนดังนี้
                             ้
  1. การสํารวจตนเอง
  2. การกําหนดแผนพัฒนาตน
  3. การดําเนินการตามแผน
  4. การประเมินผลดําเนินการ
  5. การสรุปและปรับปรุงพัฒนา

                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   22
                                               22
การพัฒนาเริ่มตนดวยการสํารวจตนเอง
 1. การสํารวจตนเอง ..สํารวจอะไรบาง
   - การตรวจสอบลักษณะตาง ๆ ของตนเอง
   - เปาหมายและปรัชญาชีวิต
   - ความตองการและความมุงมั่น
                            
   - ลักษณะนิสยใจคอของตน
               ั
   - จุดเดนและจุดดอยคืออะไร

                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   23
                                               23
วิธีการสํารวจตนเอง...ทําอยางไร?
 - การสังเกตตนเอง
 - การสอบถามผูอ่นื
 - การรับรูผลสะทอนจากผูอื่น
 - การวิเคราะหตนเองโดย
   ตนเองวิเคราะห ใหผูอื่น
  รวมวิเคราะห
                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   24
                                               24
การสํารวจทําใหรูจักตนทองแท
-รูจักตนเองไดถูกตอง
  รูศักยภาพของตน รูจักจุดเดนและจุดดอยของ
 ตนเอง และเขาใจปญหา สาเหตุตาง ๆของ
 ปญหา ผลเสียของปญหานั้น ๆ
-สามารถวางแผนพัฒนาตนเอง
 นําจุดดอยมาวางแผนแกไขอยางเปนขั้นตอน
 “สนองจุดเดน ปรับปรุงจุดดอย”
                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข        25
                                                    25
ผลจากการสํารวจตนเอง
            รูจักตน                      การวางแผน
            -รูจดเดน
                  ุ                         พัฒนา
สํารวจตน    -รูจุดดอย                      -สนอง        คุณภาพ
           เขาใจปญหา                        จุดเดน
             -สาเหตุ                        -ปรับปรุง
             -ผลเสีย                       แกไขจุดดอย


                       รศ. เฉลา ประเสริฐสังข                      26
                                                                        26
2.การกําหนดแผนพัฒนาตน
   การดําเนินการวางแผนพัฒนา
 1.เลือกพฤติกรรมที่เปนปญหา
 2.กําหนดพฤติกรรมเปาหมาย
 3.กําหนดกิจกรรมและระยะเวลา
    ในการดําเนินการ
“แผนที่ดีตองมีความเหมาะสมและทาทาย”

                 รศ. เฉลา ประเสริฐสังข   27
                                               27
3.การดําเนินการตามแผน
 การดําเนินการตามแผนพัฒนาที่กําหนด
 1.การดําเนินการตองมีความมุงมั่นทุมเท
                                   
2.ตองมีวนยในการดําเนินการ
         ิ ั
3.ตองพยายามดําเนินการใหเปนไปตามระยะเวลา
 และกิจกรรมที่แผนกําหนด


                รศ. เฉลา ประเสริฐสังข       28
                                                  28
4.การประเมินผล
การประเมินผลเปนการตรวจสอบความสําเร็จใน
การดําเนินการ ตลอดจนอุปสรรคและปญหาที่
เกิดขึ้นในการดําเนินการ
   การประเมินผลสามารถประเมินไดเปนระยะ
ในขณะดําเนินการ และประเมินเมื่อดําเนินการ
สําเร็จตามขั้นตอนแลว


               รศ. เฉลา ประเสริฐสังข       29
                                                 29
5.การสรุปและปรับปรุงแกไข
   เปนกระบวนการขั้นสุดทาย โดยสรุปให
เห็นอยางชัดเจนวา การดําเนินการ ไดผล
ตามเปาหมายหรือไมอยางไร มีอุปสรรค
ปญหาอะไรบางที่เกิดขึ้นในการดําเนินการ
   มีขอเสนอแนะที่จะนําไปวางแผน
ดําเนินการในระยะตอไปอยางไร


                รศ. เฉลา ประเสริฐสังข    30
                                               30

More Related Content

Similar to 03 develop1

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรniralai
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบ
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบวิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบ
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบkruuni
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบkruuni
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้าkrusuparat01
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 

Similar to 03 develop1 (20)

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
13 life
13 life13 life
13 life
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบ
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบวิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบ
วิคราะห์หลักสูตรสอดคล้องหลักสูตร 4 ขวบ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Psychology
PsychologyPsychology
Psychology
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
ตารางกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์4ขวบ
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 

More from etcenterrbru

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibriumetcenterrbru
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodiesetcenterrbru
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual worketcenterrbru
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axesetcenterrbru
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an areaetcenterrbru
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areasetcenterrbru
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integrationetcenterrbru
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a bodyetcenterrbru
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressureetcenterrbru
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodiesetcenterrbru
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screwsetcenterrbru
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedgesetcenterrbru
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry frictionetcenterrbru
 

More from etcenterrbru (20)

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction
 

03 develop1