SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
เรื อง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์

จัดทําโดย
นาย อทิตนะ อาสนะ เลขที 4
ชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1

เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
รายวิชา คอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง. 31102
ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2556
โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คํานํา
รายงานฉบับนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีชนมัธยมศึกษา
ั
ปี ที 4 โดยมีจุดประสงค์เพือการศึกษาความรู ้ทีได้จากเรื องเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ทังนีในรายงานนีมีเนือหาประกอบด้วยความรู ้เกียวกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ตลอดจนการประยุกต์ใช้
กระผมได้เลือกหัวข้อนีในการทํารายงาน เนืองมาจากเป็ นเรื องทีน่าสนใจ
รวมทังแสดงให้เห็นถึงเนือหาของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ กระผมต้องขอขอบคุณ
อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ ผูให้ความรู ้ และแนวทางการศึกษา หวังว่ารายงานฉบับนีจะ
้
ให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ ผอ่านทุก ๆ ท่าน หากมีขอเสนอแนะประการใด
ู้
้
กระผมขอรับไว้ดวยความขอบพระคุณยิง
้
ผูจดทํา
้ั
นาย อทิตนะ อาสนะ
สารบัญ
เรื อง

หน้า

เนือหา
เทคโนโลยีไร้สาย ............................................................................................... 14
เทคโนโลยีทีแปลกใหม่ ...................................................................................... 15
อีเธอร์เน็ต .......................................................................................................... 18
Internet protocol suite ........................................................................................ 18
SONET/SDH ..................................................................................................... 18
Asynchronous Transfer Mode ........................................................................... 19
อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต ............................................................................. 19
Internetwork ...................................................................................................... 20
อินเทอร์เน็ต ....................................................................................................... 20
รู ปแบบสามัญ .................................................................................................... 21
เครื อข่ายซ้อนทับ................................................................................................ 22
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์
การทีระบบเครื อข่ายมีบทบาทและความสําคัญเพิ มขึน เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับ
การใช้งานอย่างแพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านันถึงกับเพือ
เพิ มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึน เพิ มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบ
โดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทํางานร่ วมกันได้
สิ งสําคัญทีทําให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ มขึน คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน
และการเชือมต่อหรื อการสื อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนําข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน
หรื อการนําข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู
แบ่งกันใช้ฮาร์ ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อืน ๆ ทีมีราคาแพง
หรื อไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อข่ายจึงเป็ นการเพิ ม
ประสิ ทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึนจากเดิม
การเชือมต่อในความหมายของระบบเครื อข่ายท้องถิ น ไม่ได้จากัดอยูทีการเชือมต่อ
ํ
่
ระหว่างเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยงรวมไปถึงการเชือมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยี
ั
ทีก้าวหน้าทําให้การทํางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ งขึน มีการใช้เครื องบริ การ
แฟ้ มข้อมูลเป็ นทีเก็บรวบควมแฟ้ มข้อมูลต่างๆ มีการทําฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการ
ระบบสื อสารหน่วยบริ การใช้เครื องพิมพ์ หน่วยบริ การการใช้ซีดี หน่วยบริ การปลายทาง
และอุปกรณ์ประกอบสําหรับต่อเข้าในระบบเครื อข่ายเพือจะทํางานเฉพาะเจาะจงอย่างใด
อย่างหนึง ในรู ป เป็ นตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีจัดกลุ่มเชือมโยงเป็ นระบบ

ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีจัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชือมโยงเป็ นระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบติการร่ วมกัน ซึ งหมายถึงการ
ั
ให้อุปกรณ์ทุกชิ นทีต่ออยูบนเครื อข่ายทํางานร่ วมกันได้ทงหมดในลักษณะทีประสาน
่
ั
รวมกัน โดยผูใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็ นวิธีการในการนําเอาอุปกรณ์
้
ต่างชนิดจํานวนมาก มารวมกันเป็ นเสมือนระบบเดียวกัน ทัง ๆ ทีอุปกรณ์เหล่านันอาจจะมา
จากต่างยีห้อ ต่างบริ ษท ก็ได้
ั

ความหมายของระบบเครื อข่าย
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนําเครื องคอมพิวเตอร์ มา
เชือมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื อสารข้อมูล เพือแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารระหว่าง
เครื องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่ วมกัน (Shared Resource) ในเครื อข่ายนัน

รู ปแสดงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบทีสําคัญ เพือการเชือมต่อเป็ นเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสือสาร (Communication
Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal)และ อุปกรณ์ในเครื อข่าย (Network Operation
System)
คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย

คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ทีทําหน้าทีเป็ นผูให้บริ การทรัพยากร
้
(Resources) ต่าง ๆ ซึ งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยความจําสํารอง ฐานข้อมูล
และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย
ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ทีใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นศูนย์กลางของ
เครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า
Host Computer และเรี ยกเครื องทีรอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน

ช่องทางการสื อสาร
ช่องทางการสื อสาร หมายถึง สื อกลางหรื อเส้นทางทีใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล
ระหว่างผูรับ (Receiver) และผูส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบนมีช่องทางการสื อสาร สําหรับการ
้
้
ั
เชือมต่อเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวน
หุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนําแสง คลืนไม
โครเวป และดาวเทียม เป็ นต้น
รู ปแสดงช่องทางการสื อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม

สถานีงาน

สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ ที
เชือมต่อ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทําหน้าทีเป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงาน ทีได้รับการ
บริ การจากเครื อง คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย เรี ยกว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบ
เครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรื อซี พียของตนเอง ในระบบทีใช้เครื องคอมพิวเตอร์
ู
เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานีปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพ
และแป้ นพิมพ์เท่านัน ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางหรื อ Host
อุปกรณ์ในเครื อข่าย
การ์ ดเชือมต่อเครื อข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสําหรับ ใช้ในการ
เชือมต่อสายสัญญาณของเครื อข่าย ติดตังไว้ในเครื องคอมพิวเตอร์ทีเป็ นเครื องแม่ข่าย และเครื อง
ทีเป็ นลูกข่าย หน้าทีของการ์ ดนีคือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ
ทําให้คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารกันได้
รู ปแสดงการ์ ดเชือมต่อเครื อข่าย
องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณ
ํ
ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ ดานผูส่ง เพือส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก
้ ้
(Analog) เมือถึงคอมพิวเตอร์ ดานผูรับ โมเด็มก็จะทําหน้าทีแปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็ น
้ ้
ดิจิตอลนําเข้าสู่เครื องคอมพิวเตอร์ เพือทําการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบ
เครื อข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็ นสื อกลาง เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น

รู ปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครื อข่ายระยะไกล
ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชือมต่อทีใช้เป็ นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพือให้เกิดความ
สะดวก ในการเชือมต่อของเครื อข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็ นจุดรวมการเชือมต่อ
สายสัญญาณระหว่าง File Server กับWorkstation ต่าง ๆ

แสดงฮับทีใช้เป็ นจุดเชือมต่อและจุดแยกของสาย

ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย
ั

ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ ทีทําหน้าที จัดการระบบเครื อข่าย
ั
ของคอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่ออยูกบเครื อข่าย สามารถติดต่อสื อสาร
่ั
แลกเปลียนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ ทําหน้าทีจัดการด้านการรักษาความ
ปลอดภัย ของระบบเครื อข่าย และยังมีหน้าทีควบคุม การนําโปรแกรมประยุกต์ ด้านการ
ติดต่อสื อสาร มาทํางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเครื อข่าย มี
ั
ความสําคัญต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ ประเภทนีได้แก่
ระบบปฏิบติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 ,
ั
Solaris , Unix เป็ นต้น
แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเครื อข่าย
ั

โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY)
การนําเครื องคอมพิวเตอร์ มาเชือมต่อกันเพือประโยชน์ของการสือสารนัน สามารถกระทํา
ได้หลายรู ปแบบ ซึ งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นทีแตกต่างกันไป โดยทึวไปแล้วโครงสร้างของ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถจําแนกตามลักษณะของการเชือมต่อดังต่อไปนี
1. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบบัส (bus topology)
โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบบัส จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ทีใช้ส่งข้อมูล
ภายในเครื อข่าย เครื องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื อง จะเชือมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชือมต่อ เมือ
มีการส่งข้อมูลระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ หลายเครื องพร้อมกัน จะมีสญญาณข้อมูลส่งไปบน
ั
สายเคเบิ ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ ลแต่ละเครื องข้อดีของการเชือมต่อแบบบัส คือ ใช้
สื อนําข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื องคอมพิวเตอร์เครื องใดเครื องหนึงเสี ยก็
จะไม่ส่งผลต่อการทํางานของระบบโดยรวม แต่มีขอเสี ยคือ การตรวจจุดทีมีปัญหา กระทําได้
้
ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกัน
ํ
มากจนเป็ นปัญหา
2. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบวงแหวน (ring topology)
โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบวงแหวน มีการเชือมต่อระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์
โดยทีแต่ละการเชือมต่อจะมีลกษณะเป็ นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายนีก็จะเป็ นวงกลม
ั
ด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็ นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื องหนึงจนถึงปลายทาง ใน
กรณี ทีมีเครื องคอมพิวเตอร์ เครื องใดเครื องหนึงขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายชนิดนีจะไม่
สามารถทํางานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครื อข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ ลน้อย และ
ถ้าตัดเครื องคอมพิวเตอร์ ทีเสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทํางานของระบบเครื อข่าย
นี และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลทีแต่ละเครื องส่ง

3. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาว (star topology)
โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาว ภายในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จะต้องมีจุก
ศูนย์กลางในการควบคุมการเชือมต่อคอมพิวเตอร์ หรื อ ฮับ (hub) การสื อสารระหว่างเครื อง
คอมพิวเตอร์ ต่างๆ จะสื อสารผ่านฮับก่อนทีจะส่งข้อมูลไปสู่เครื องคอมพิวเตอร์ เครื อง
อืนๆ โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีขอดี คือ ถ้าต้องการเชือมต่อคอมพิวเตอร์เครื อง
้
ใหม่ก็สามารถทําได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื องคอมพิวเตอร์อืนๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ
ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ ลจะค่อนข้างสูงและเมือฮับไม่ทางาน การสื อสารของคอมพิวเตอร์
ํ
ทังระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
เทคโนโลยีแบบใช้ สาย
เทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนีเรี ยงลําดับตามความเร็ วจากช้าไปเร็ วอย่างหยาบๆ

รู ปแสดงสาย UTP
สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สาย
ั
คู่บิดประกอบด้วยกลุ่มของสายทองแดงหุ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้
ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุ้มฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็ นสายคู่บิด
จํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิด
ํ
เป็ นเกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุด
เดียวกัน ความเร็วในการส่งอยูในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมา
่
ในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจากการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก)
้
(unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair หรื อ STP)
ั
แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน

รู ปแสดง STP จะเห็น sheath ทีเป็ นตัวนําป้ องกันอยูรอบนอก
่
สายโคแอคเชียลถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและ
สถานทีทํางานอืนๆ ในเครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียม
เส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ นวัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงที
่
สูง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก
ภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็ วในการส่ง
ข้อมูลอยูในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที
่

รู ปแสดงสายโคแอคเชียล

'ITU-T G.hn เป็ นเทคโนโลยีทีใช้สายไฟทีมีอยูในบ้าน (สายโคแอค, สายโทรศัพท์และ
่
สายไฟฟ้ า) เพือสร้างเครื อข่ายท้องถิ นความเร็ วสูง (ถึง 1 Gb/s)
ใยแก้ วนําแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่งข้อมูล ข้อดีบางประการของ
ั
เส้นใยแสงทีเหนือกว่าสายโลหะก็คือมีการสูญเสี ยในการส่งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืน
แม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่งรวดเร็วมากถึงล้านล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความ
ยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่งผ่านสายเคเบิลใยแก้วนําแสง
พร้อมกันในเส้นเดียวกัน
เทคโนโลยีไร้ สาย
'ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่งและเครื องรับ
สัญญาณจากสถานีบนผิวโลกทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิ
ั
่
กะเฮิรตซ์ทีตํา ซึ งจํากัดการสื อสารทังหมดด้วยเส้นสายตาเท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่าง
ประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)
ดาวเทียมสือสาร - การสื อสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดย
ชันบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร
่
geosynchronous ที 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลก
นีมีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี
ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสือสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่ง
ภูมิภาคทีครอบคลุมออกเป็ นพืนทีทางภูมิศาสตร์ หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่งหรื ออุปกรณ์
เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอดสัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีก
พืนทีหนึงข้างหน้า
เทคโนโลยีวทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรัม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยี
ิ
วิทยุความถีสูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้
ั
เทคโนโลยีการแพร่ กระจายคลืนความถีเพือการสื อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด.
IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไปของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิ ดทีรู้จกกันคือ
ั
ั
Wifi
การสื อสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลาย
กรณี ส่วนใหญ่ การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ งจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์การ
สื อสาร
เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการ
ํ
สนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ
ความท้าทายทีสําคัญในการสื อสารเคลือนทีคือการส่งมอบการสื อสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไป
้
อีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่งมอบนีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สายบนผิวโลก
.
เทคโนโลยีทีแปลกใหม่
มีความพยายามต่างๆทีขนส่งข้อมูลผ่านสื อทีแปลกใหม่ ได้แก่:




IP over Avian Carriers เป็ นอารมณ์ขนของ April's fool เป็ น RFC 1149 มันถูกนํามาใช้ใน
ั
ชีวิตจริ งในปี 2001.
ขยายอินเทอร์ เน็ตเพือมิติอวกาศผ่านทางคลืนวิทยุ.

ทังสองกรณี มีการหน่วงเวลาสูงอันเนืองมาจากสัญญาณต้องเดินทางไปกลับ ซึ งจะทําให้
การสื อสารสองทางล่าช้ามาก แต่ก็ไม่ได้ขดขวางการส่งข้อมูลจํานวนมาก
ั
ชนิดของเครื อข่าย
ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึ งปัจจุบนเครื อข่ายทีรู้จกกันดีมีอยู่
ั
ั
6 แบบ ได้แก่







เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ
เชือมโยงกันในพืนทีใกล้เคียงกัน เช่นอยูในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน
่
เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ
เชือมโยงกัน ในระยะทางทีห่างไกล อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร
เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN)
เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area
network) : CAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro
Controller unit: MCU)




เครื อข่ายส่วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่าง
อุปกรณ์เคลือนทีส่วนบุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้
เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่าย
ย่อย) ความเร็ วสูงวัตถุประสงค์เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิด
ั
ต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบนคัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่ของผูใช้
ั
้

อุปกรณ์เครื อข่าย










เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลัก
ในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บและให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับ
้
คอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ นเซิ ร์ฟเวอร์
มักจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื องอืน ๆ
ในเครื อข่าย
ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายที
ร้องขอ บริ การและเข้าถึงไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์
้
เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย
้
ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ
มีหน้าทีรับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ
คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย
เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่งข้อมูลลดลง
ั
เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 2 และทําหน้าทีส่ง
ข้อมูลทีได้รับมาจากพอร์ ตหนึงไปยังพอร์ ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้
คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อกับพอร์ ตทีเหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการ
รับส่งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนี
่ ั
ั
มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 3 เราท์เตอร์จะอ่านทีอยู่ (Address)
ของสถานีปลายทางทีส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่งแพ็ก
เก็ตต่อไป เราท์เตอร์ จะมีตวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเทเบิ ล(Routing Table)
ั
หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่งข้อมูลไปยังเครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น


IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียัง
เชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้า
ด้วยกัน ทําให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิ ทธิภาพรวม
ของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการติดต่อของเครื องทีอยูในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่
่
ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และเนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ที
ทํางานอยูในระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อเครื อข่ายที
่
แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring
เป็ นต้น

บริ ดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชือมเครื อข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายใหญ่
เพียงเครื อข่ายเดียว เพือให้เครื อข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อกับเครื อข่ายย่อยอืนๆ ได้


เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น
การใช้เกตเวย์ในการเชือมต่อเครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ ประเภทพีซี (PC) เข้ากับ
คอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น

โพรโทคอลการสื อสาร
คือชุดของกฎหรื อข้อกําหนดต่างๆสําหรับการแลกเปลียนข้อมูลในเครื อข่าย ในโพรโท
คอลสแต็ค (ระดับชันของโพรโทคอล ดูแบบจําลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการ
ให้บริ การของโพรโทตคลทีอยูในชันล่าง ตัวอย่างทีสําคัญในโพรโทคอลสแต็คได้แก่ HTTP ที
่
ทํางานบน TCP over IP ผ่านข้อกําหนด IEEE 802.11 (TCP และ IP ทีเป็ นสมาชิกของชุด
โปรโตคอลอินเทอร์ เน็ต. IEEE 802.11 เป็ นสมาชิกของชุดอีเธอร์ เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนีจะ
ถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลของผูใช้ตามบ้านเมือผูใช้จะท่องเว็บ
้
้
โพรโทคอลการสื อสารมีลกษณะต่างๆกัน ซึ งอาจจะเชือมต่อแบบ connection หรื อ
ั
connectionless, หรื ออาจจะใช้ circuit mode หรื อแพ็กเกตสวิตชิง, หรื ออาจใช้การ addressing
ตามลําดับชันหรื อแบบ flat
มีโพรโทคอลการสือสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ดานล่างนี
้
อีเธอร์ เน็ต
อีเธอร์เน็ตเป็ นครอบครัวของโพรโทคอลทีใช้ในระบบ LAN, ตามทีอธิบายอยูในชุดของ
่
มาตรฐานทีเรี ยกว่า IEEE 802 เผยแพร่ โดยสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ งมีวิธีการ
addressing แบบ flat และจะดําเนินการส่วนใหญ่ทีระดับ 1 และ 2 ของแบบจําลอง OSI. สําหรับ
ผูใช้ทีบ้านในวันนี สมาชิกส่วนใหญ่ของครอบครัวของโปรโตคอลทีรู้จกกันดีนีคือ IEEE 802.11
้
ั
หรื อทีเรี ยกว่า Wireless LAN (WLAN). IEEE 802 โพรโทคอลชุดสมบูรณ์จดให้มีความ
ั
หลากหลายของความสามารถเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น MAC bridging (IEEE 802.1D) ทํางาน
เกียวกับการ forwarding ของแพ็กเกตอีเธอร์ เน็ตโดยใช้โพรโทคอล Spanning tree, IEEE 802.1Q
อธิบาย VLANs และ IEEE 802.1X กําหนดโพรโทคอลทีใช้ควบคุมการเข้าถึงเครื อข่ายแบบ
พอร์ ตซึ งฟอร์ มตัวเป็ นพืนฐานสําหรับกลไกการตรวจสอบทีใช้ใน VLANs (แต่ก็ยงพบใน
ั
เครื อข่าย WLANs อีกด้วย) - มันเป็ นสิ งทีผูใช้ตามบ้านเห็นเมือผูใช้จะต้องใส่ "wireless access
้
้
key".
Internet protocol suite
อินเทอร์เน็ตโปรโตคอลสวืท, หรื อทีเรี ยกว่า TCP / IP, เป็ นรากฐานของระบบการ
เชือมโยงเครื อข่ายทีทันสมัย ทําให้มีการเชือมต่อแบบ connection-less เช่นเดียวกับ connectionoriented ผ่านเครื อข่ายทีไม่น่าเชือถือโดยการส่งดาต้าแกรม(ข้อมูลทีถูกแบ่งเป็ นชิ นเล็กๆ)ทีเล
เยอร์โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต (IP) ทีแกนกลางของมัน ชุดโพรโทคอลกําหนด address, การระบุ
ตัวตน, และคุณสมบัติของการเราต์ติงสําหรับ Internet Protocol Version 4 (IPv4) และ IPv6 ซึ ง
รุ่ นต่อไปทีมีความสามารถในการขยายระบบ addressing อย่างมาก
SONET/SDH
Synchronous optical networking (SONET) และ Synchronous Digital Hierarchy (SDH)
เป็ นโพรโทคอลมาตรฐานสําหรับการ multiplexing ทีทําการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลที
หลากหลายผ่านใยแก้วนําแสง. พวกมันแต่เดิมถูกออกแบบมาเพือการขนส่งในการสื อสารแบบ
circuit mode จากแหล่งทีมาทีหลากหลายแตกต่างกัน, เบืองต้นเพือสนับสนุนระบบเสี ยงทีเป็ น
circuit-switched ทีเข้ารหัสในฟอร์ แมท PCM (Pulse-Code Modulation) ทีเป็ นเรี ยลไทม์และ ถูก
บีบอัด. อย่างไรก็ตามเนืองจากความเป็ นกลางและคุณสมบัติทีเป็ น transport-oriented,
SONET/SDH ยังเป็ นตัวเลือกทีชัดเจนสําหรับการขนส่งเฟรมของ Asynchronous Transfer
Mode (ATM)
Asynchronous Transfer Mode
เป็ นเทคนิคการ switching สําหรับเครื อข่ายการสื อสารโทรคมนาคม ทีใช้ asynchronous
time-division multiplexing ATM จะเข้ารหัสข้อมูลทีเป็ นเซลล์ขนาดเล็กคงที วิธีนีจะแตกต่าง
จากโพรโทคอลอืน ๆ เช่น Internet Protocol สวีทหรื ออีเธอร์ เน็ตทีใช้แพ็กเกตหลายขนาด ATM
มีความคล้ายคลึงกันกับ circuit switched และ packet switched networking. ATM จึงเป็ น
ทางเลือกทีดีสาหรับเครื อข่ายทีต้องจัดการทังแบบการจราจรทีมีขอมูล throughput สูงแบบ
ํ
้
ดังเดิมและแบบเนือหา real-time, ความล่าช้าแฝงตําเช่นเสี ยงและวิดีโอ. ATM ใช้รูปแบบการ
เชือมต่อแบบ connection-oriented model ในทีซึ งวงจรเสมือนจะต้องจัดตังขึนระหว่างจุดสิ นสุด
สองจุดก่อนทีการแลกเปลียนข้อมูลทีเกิดขึนจริ งจะเริ มขึน
ในขณะทีบทบาทของ ATM จะลดน้อยลงเนืองจากความโปรดปรานของเครื อข่ายรุ่ น
ต่อไป มันยังคงมีบทบาทในการเป็ นไมล์สุดท้ายซึงคือการเชือมต่อระหว่างผูให้บริการ
้
อินเทอร์เน็ตและผูใช้ตามบ้าน สําหรับรายละเอียดเพิ มเติมของเทคโนโลยีและโปรโตคอลการ
้
สื อสาร โปรดอ่านเพิ มเติมในหัวข้อข้างท้าย
ขอบเขตของเครื อข่าย
เครื อข่ายโดยทัวไปถูกจัดการโดยองค์กรทีเป็ นเจ้าของ เครื อข่ายองค์กรเอกชนอาจจะใช้
รวมกันทังอินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต และยังอาจจัดให้มีการเข้าถึงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตซึ งไม่
มีเจ้าของเดียวและให้การเชือมต่อทัวโลกแทบไม่จากัด
ํ
อินทราเน็ตและเอ็กซ์ ทราเน็ต
อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นส่วนหนึงหรื อส่วนขยายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที
มักจะเป็ น LAN
อินทราเน็ต เป็ นชุดของเครื อข่ายทีอยูภายใต้การควบคุมของหน่วยการบริ หารเดียว
่
อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล IP และเครื องมือทีเป็ น IP-based เช่นเว็บเบราเซอร์ และโปรแกรมการ
ถ่ายโอนไฟล์ หน่วยการบริ หารจํากัดการใช้อินทราเน็ตเฉพาะผูได้รับอนุญาตเท่านัน ส่วนใหญ่
้
แล้ว อินทราเน็ตจะเป็ นเครื อข่ายภายในองค์กร อินทราเน็ตขนาดใหญ่มกจะมีเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ อย่าง
ั
น้อยหนึงตัวเพือให้ผใช้เข้าถึงข้อมูลขององค์กรเอง
ู้
เอ็กซ์ ทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายทียังอยูภายใต้การควบคุมของผูดูแลระบบขององค์กรเดียว แต่
่
้
สนับสนุนการเชือมต่อทีจํากัดเฉพาะเครื อข่ายภายนอกทีเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่นองค์กรอาจจัด
ให้มีการเข้าถึงบางแง่มุมของอินทราเน็ตของบริ ษทเพือแชร์ ขอมูลร่ วมกับคู่คาทางธุรกิจหรื อ
ั
้
้
ลูกค้า หน่วยงานอืน ๆ เหล่านีไม่จาเป็ นต้องได้รับความเชือถือจากมุมมองของการรักษาความ
ํ
ปลอดภัย การเชือมต่อเครื อข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตมักจะเป็ น, แต่ไม่เสมอไป, การดําเนินการผ่านทาง
WAN เทคโนโลยี
Internetwork
Internetwork คือการเชือมต่อของหลายเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ผานทางเทคโนโลยีการ
่
กําหนดเส้นทางร่ วมกันโดยใช้เราต์เตอร์
อินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์เน็ตเป็ นตัวอย่างทีใหญ่ทีสุดของ Internetwork มันเป็ นระบบทีเชือมต่อกันทัวโลก
ของภาครัฐ, นักวิชาการ, องค์กรของรัฐและเอกชน, และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล มัน
ขึนอยูกบเทคโนโลยีระบบเครื อข่ายของ Internet Protocol สวีท ซึ งสื บทอดมาจากโครงการวิจย
่ ั
ั
ขันสูงของหน่วยงานเครื อข่าย (ARPANET) พัฒนาโดย DARPA ของกระทรวงกลาโหม
สหรัฐอเมริ กา อินเทอร์ เน็ตยังเป็ นแกนนําการสื อสารพืนฐานเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW)
ผูเ้ ข้าร่ วมใน Internet ใช้ความหลากหลายของวิธีการหลายร้อยโพรโทคอลทีถูกทําเป็ น
เอกสารและเป็ นมาตรฐานไว้แล้ว โพรโทคอลดังกล่าวมักจะเข้ากันได้ดีกบ Internet Protocol
ั
Suite และระบบ addressing (ทีอยู่ IP) ทีถูกบริ หารงานโดยหน่วยงานกําหนดหมายเลข
อินเทอร์เน็ตและทะเบียน address. ผูให้บริ การและองค์กรขนาดใหญ่ทาการแลกเปลียนข้อมูล
้
ํ
เกียวกับความสามารถในการเข้าถึงพืนทีทีเป็ น address ของพวกเขาผ่าน Border Gateway
Protocol (BGP) ทําให้เป็ นเส้นทางการส่งทีซําซ้อนของตาข่ายทัวโลก
โทโพโลยีเครื อข่าย
Network Topologies
โทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นรู ปแบบหรื อลําดับชันของโหนดทีเชือมต่อกันของเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์
รูปแบบสามัญ
รู ปแบบทีพบบ่อยคือ:








เครื อข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชือมต่อกับสือกลางไปตลอดทังตัวสือนี รู ปแบบนีใช้
ในต้นฉบับอีเธอร์ เน็ตทีเรี ยกว่า 10BASE5 และ 10Base2
เครื อข่ายรู ปดาว: ทุกโหนดจะเชือมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รู ปแบบนีพบโดยทัวไปใน
LAN ไร้สายทีลูกค้าแต่ละรายเชือมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง (Wireless access point)
เครื อข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชือมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา
เพือทีว่าทุกโหนดมีการเชือมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอืน โดยเข้าหาทาง
โหนดด้านซ้ายหรื อโหนดด้านขวาก็ได้ ไฟเบอร์ การเชือมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber
Distributed Data Interface หรื อ FDDI) ใช้โทโพโลยีแบบนี
เครื อข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชือมต่อกับโหนดอืนๆได้เกือบทังหมดในลักษณะทีมีอยู่
อย่างน้อยหนึงเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอืนไป



เครื อข่ายทีเชือมต่ออย่างเต็มที: ในแต่ละโหนดจะเชือมต่อกับทุกโหนดอืน ๆ ในเครื อข่าย



ต้นไม้: ในกรณี นีโหนดทังหมดมีการจัดลําดับชัน

โปรดสังเกตว่ารู ปแบบทางกายภาพของโหนดในเครื อข่ายอาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนให้
ํ
เห็นถึงโทโพโลยีเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นวงแหวน (ทีจริ งสองวง
หมุนสวนทางกัน) แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็ นรู ปดาวเพราะทุกการเชือมต่อกับโหนดทีอยู่
ใกล้เคียงจะถูกส่งผ่านโหนดทีอยูตรงกลาง
่
เครือข่ ายซ้ อนทับ
เครื อข่ายซ้อนทับเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนทีถูกสร้างขึนทับบนเครื อข่ายอืน
โหนดในเครื อข่ายซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรื อแบบลอจิก ทีซึ งแต่ละลิงค์จะ
สอดคล้องกับเส้นทางในเครื อข่ายหลักด้านล่าง ทีอาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์
โทโพโลยีของเครื อข่ายซ้อนทับอาจ (และมักจะ) แตกต่างจากของเครื อข่ายด้านล่าง. เช่น
เครื อข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครื อข่ายเป็ นเครื อข่ายซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็ นโหนด
ของระบบเสมือนจริ งของลิงค์ทีทํางานบนอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ตถูกสร้างขึนครังแรกเป็ นภาพ
ซ้อนทับบนเครื อข่ายโทรศัพท์.
ตัวอย่างทีโดดเด่นทีสุดของเครื อข่ายซ้อนทับคือระบบของ Internet เอง. ทีเลเยอร์ เครื อข่าย
แต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอืน ๆ โดยการเชือมต่อโดยตรงไปยัง IP address ทีต้องการ ทํา
ให้เกิดการสร้างเครื อข่ายทีถูกเชือมต่ออย่างเต็มที อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายด้านล่างจะ
ประกอบด้วยการเชือมต่อภายในเหมือนตาข่ายของเครื อข่ายย่อยทีมี topologies (และเทคโนโลยี)
ทีแตกต่างกัน การจําแนก address และการเราต์ติงค์เป็ นวิธีทีใช้ในการทํา mapping ของเครื อข่าย
ซ้อนทับ(แบบ IP ทีถูกเชือมต่ออย่างเต็มที)ข้างบนกับเครื อข่ายทีอยูขางล่าง
่ ้
เครื อข่ายซ้อนทับเกิดขึนตังแต่มีการสร้างเครื อข่ายเมือระบบคอมพิวเตอร์ถูกเชือมต่อผ่าน
สายโทรศัพท์โดยใช้โมเด็ม และเกิดขึนก่อนทีจะมีเครื อข่ายข้อมูลเสี ยอีก
อีกตัวอย่างของเครื อข่ายซ้อนทับก็คือตารางแฮชกระจายซึ ง map คีย(์ keys)ไปยังโหนดใน
เครื อข่าย ในกรณี นีเครื อข่ายข้างใต้เป็ นเครื อข่าย IP และเครื อข่ายทับซ้อนเป็ นตาราง (ทีจริ งเป็ น
แผนที) ทีถูกทําดัชนีโดยคีย์
เครื อข่ายซ้อนทับยังได้รับการเสนอให้เป็ นวิธีการปรับปรุ งการเราต์ติงค์ในอินเทอร์เน็ต
เช่นการเราต์โดยการรับประกันคุณภาพการให้บริ การเพือให้ได้สือกลางสตรี มมิ งทีมีคุณภาพสูง
ข้อเสนอก่อนหน้านีเช่น IntServ, DiffServ และ IP Multicast ไม่ได้เห็นการยอมรับอย่าง
กว้างขวางเพราะข้อเสนอเหล่านีจําเป็ นต้องมีการปรับเปลียนของเราต์เตอร์ ทงหมดในเครื อข่าย.
ั
ในขณะทีเครื อข่ายทับซ้อนถูกนําไปใช้งานเพิ มขึนบน end-hosts ที run ซอฟแวร์ โปรโตคอลทับ
ซ้อนโดยไม่ตองรับความร่ วมมือจากผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ตเครื อข่ายซ้อนทับไม่มีการควบคุม
้
้
วิธีการทีแพ็คเก็ตจะถูกเราต์ในเครื อข่ายข้างล่างระหว่างสองโหนดทีซ้อนทับกัน แต่มนสามารถ
ั
ควบคุม, ตัวอย่างเช่น, ลําดับของโหนดซ้อนทับทีข้อความจะลัดเลาะไปก่อนทีจะถึงปลายทาง
ตัวอย่างเช่น Akamai เทคโนโลยีทาการบริ หารจัดการเครื อข่ายซ้อนทับทีดําเนินการจัดส่ง
ํ
เนือหาอย่างมีประสิ ทธิภาพและน่าเชือถือ (ชนิดหนึงของ multicast). งานวิจยทีเป็ นวิชาการ
ั
รวมถึงการ multicast ระบบปลาย, การเราต์ติงค์ทีมีความยืดหยุนและการศึกษาเรื อง'คุณภาพของ
่
บริ การ'(quality of service), ระหว่างเครื อข่ายซ้อนทับอืน ๆ
อ้างอิง
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%
E0%B8% A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%82%
E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%
E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%
E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%
AD%E0% B8%A3%E0%B9%8C
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
Morn Suwanno
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์peeyamas parjaitum
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
Sireethorn43
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ BMontita Kongmuang
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
ฟาอี คนเดินทางที่ไม่รู้จบ
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
วริทธิ์ ลิ้มรุ่งเรือง
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 

What's hot (18)

เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่าย
เครือข่ายเครือข่าย
เครือข่าย
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คำศัพท์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-43
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Viewers also liked

Cumpana 2
Cumpana 2Cumpana 2
Cumpana 2rrapl
 
CTDL_Simpozion_International_2012
CTDL_Simpozion_International_2012CTDL_Simpozion_International_2012
CTDL_Simpozion_International_2012consiliereaelevilor
 
Moieciul
MoieciulMoieciul
MoieciulArt 37
 
Sarmisegetuza Regia Romania
Sarmisegetuza Regia RomaniaSarmisegetuza Regia Romania
Sarmisegetuza Regia Romania
Matilda Matilda
 
Obiectiveturistice
ObiectiveturisticeObiectiveturistice
Obiectiveturistice
Cazacu Tatiana
 
Instantaneu
InstantaneuInstantaneu
Instantaneu
Betty Budeanu
 
Un mod sanatos de viata 1
Un mod sanatos de viata 1Un mod sanatos de viata 1
Un mod sanatos de viata 1
Dencikk Navrotchii
 
Minte sănătoasă în corp sănătos
Minte sănătoasă în corp sănătosMinte sănătoasă în corp sănătos
Minte sănătoasă în corp sănătosMarinescu Madalina
 
România locuri frumoase II
România locuri frumoase IIRomânia locuri frumoase II
România locuri frumoase II
Matilda Matilda
 

Viewers also liked (20)

Cumpana 2
Cumpana 2Cumpana 2
Cumpana 2
 
CTDL_Simpozion_International_2012
CTDL_Simpozion_International_2012CTDL_Simpozion_International_2012
CTDL_Simpozion_International_2012
 
Teheran
TeheranTeheran
Teheran
 
Moieciul
MoieciulMoieciul
Moieciul
 
Sarmisegetuza Regia Romania
Sarmisegetuza Regia RomaniaSarmisegetuza Regia Romania
Sarmisegetuza Regia Romania
 
Teherán
TeheránTeherán
Teherán
 
Muntenia
MunteniaMuntenia
Muntenia
 
Obiectiveturistice
ObiectiveturisticeObiectiveturistice
Obiectiveturistice
 
Plante zodii
Plante zodiiPlante zodii
Plante zodii
 
Instantaneu
InstantaneuInstantaneu
Instantaneu
 
Iran Presentation1
Iran Presentation1Iran Presentation1
Iran Presentation1
 
Castele din Romania
Castele din RomaniaCastele din Romania
Castele din Romania
 
Garaje superbe
Garaje superbeGaraje superbe
Garaje superbe
 
Alimentatie medievala
Alimentatie medievalaAlimentatie medievala
Alimentatie medievala
 
Carnea
CarneaCarnea
Carnea
 
Iran Is Beautiful
Iran Is BeautifulIran Is Beautiful
Iran Is Beautiful
 
Carpatii meridionali
Carpatii meridionaliCarpatii meridionali
Carpatii meridionali
 
Un mod sanatos de viata 1
Un mod sanatos de viata 1Un mod sanatos de viata 1
Un mod sanatos de viata 1
 
Minte sănătoasă în corp sănătos
Minte sănătoasă în corp sănătosMinte sănătoasă în corp sănătos
Minte sănătoasă în corp sănătos
 
România locuri frumoase II
România locuri frumoase IIRomânia locuri frumoase II
România locuri frumoase II
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
Network operating system หรือ nos
Network operating system หรือ nosNetwork operating system หรือ nos
Network operating system หรือ nos
อภิชญา โตประเสริฐ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnitszy151
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Kin Kanin
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
khon Kaen University
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
Network operating system หรือ nos
Network operating system หรือ nosNetwork operating system หรือ nos
Network operating system หรือ nos
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01Random 130916020552-phpapp01
Random 130916020552-phpapp01
 
Introduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for LearningIntroduction to Information Technology for Learning
Introduction to Information Technology for Learning
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
It 03
It 03It 03
It 03
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื อง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทําโดย นาย อทิตนะ อาสนะ เลขที 4 ชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ รายวิชา คอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง. 31102 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คํานํา รายงานฉบับนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีชนมัธยมศึกษา ั ปี ที 4 โดยมีจุดประสงค์เพือการศึกษาความรู ้ทีได้จากเรื องเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทังนีในรายงานนีมีเนือหาประกอบด้วยความรู ้เกียวกับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ กระผมได้เลือกหัวข้อนีในการทํารายงาน เนืองมาจากเป็ นเรื องทีน่าสนใจ รวมทังแสดงให้เห็นถึงเนือหาของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ กระผมต้องขอขอบคุณ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ ผูให้ความรู ้ และแนวทางการศึกษา หวังว่ารายงานฉบับนีจะ ้ ให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ ผอ่านทุก ๆ ท่าน หากมีขอเสนอแนะประการใด ู้ ้ กระผมขอรับไว้ดวยความขอบพระคุณยิง ้ ผูจดทํา ้ั นาย อทิตนะ อาสนะ
  • 3. สารบัญ เรื อง หน้า เนือหา เทคโนโลยีไร้สาย ............................................................................................... 14 เทคโนโลยีทีแปลกใหม่ ...................................................................................... 15 อีเธอร์เน็ต .......................................................................................................... 18 Internet protocol suite ........................................................................................ 18 SONET/SDH ..................................................................................................... 18 Asynchronous Transfer Mode ........................................................................... 19 อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต ............................................................................. 19 Internetwork ...................................................................................................... 20 อินเทอร์เน็ต ....................................................................................................... 20 รู ปแบบสามัญ .................................................................................................... 21 เครื อข่ายซ้อนทับ................................................................................................ 22
  • 4. เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การทีระบบเครื อข่ายมีบทบาทและความสําคัญเพิ มขึน เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านันถึงกับเพือ เพิ มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึน เพิ มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบ โดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทํางานร่ วมกันได้ สิ งสําคัญทีทําให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ มขึน คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชือมต่อหรื อการสื อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนําข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรื อการนําข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อืน ๆ ทีมีราคาแพง หรื อไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ นเครื อข่ายจึงเป็ นการเพิ ม ประสิ ทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึนจากเดิม การเชือมต่อในความหมายของระบบเครื อข่ายท้องถิ น ไม่ได้จากัดอยูทีการเชือมต่อ ํ ่ ระหว่างเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยงรวมไปถึงการเชือมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยี ั ทีก้าวหน้าทําให้การทํางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ งขึน มีการใช้เครื องบริ การ แฟ้ มข้อมูลเป็ นทีเก็บรวบควมแฟ้ มข้อมูลต่างๆ มีการทําฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการ ระบบสื อสารหน่วยบริ การใช้เครื องพิมพ์ หน่วยบริ การการใช้ซีดี หน่วยบริ การปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสําหรับต่อเข้าในระบบเครื อข่ายเพือจะทํางานเฉพาะเจาะจงอย่างใด อย่างหนึง ในรู ป เป็ นตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีจัดกลุ่มเชือมโยงเป็ นระบบ ตัวอย่างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีจัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชือมโยงเป็ นระบบ
  • 5. เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบติการร่ วมกัน ซึ งหมายถึงการ ั ให้อุปกรณ์ทุกชิ นทีต่ออยูบนเครื อข่ายทํางานร่ วมกันได้ทงหมดในลักษณะทีประสาน ่ ั รวมกัน โดยผูใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็ นวิธีการในการนําเอาอุปกรณ์ ้ ต่างชนิดจํานวนมาก มารวมกันเป็ นเสมือนระบบเดียวกัน ทัง ๆ ทีอุปกรณ์เหล่านันอาจจะมา จากต่างยีห้อ ต่างบริ ษท ก็ได้ ั ความหมายของระบบเครื อข่าย ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนําเครื องคอมพิวเตอร์ มา เชือมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื อสารข้อมูล เพือแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารระหว่าง เครื องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่ วมกัน (Shared Resource) ในเครื อข่ายนัน รู ปแสดงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
  • 6. ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบทีสําคัญ เพือการเชือมต่อเป็ นเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสือสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal)และ อุปกรณ์ในเครื อข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ทีทําหน้าทีเป็ นผูให้บริ การทรัพยากร ้ (Resources) ต่าง ๆ ซึ งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยความจําสํารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ทีใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นศูนย์กลางของ เครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า Host Computer และเรี ยกเครื องทีรอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน ช่องทางการสื อสาร ช่องทางการสื อสาร หมายถึง สื อกลางหรื อเส้นทางทีใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผูรับ (Receiver) และผูส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบนมีช่องทางการสื อสาร สําหรับการ ้ ้ ั เชือมต่อเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวน หุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนําแสง คลืนไม โครเวป และดาวเทียม เป็ นต้น
  • 7. รู ปแสดงช่องทางการสื อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ ที เชือมต่อ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทําหน้าทีเป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงาน ทีได้รับการ บริ การจากเครื อง คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย เรี ยกว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบ เครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรื อซี พียของตนเอง ในระบบทีใช้เครื องคอมพิวเตอร์ ู เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานีปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพ และแป้ นพิมพ์เท่านัน ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางหรื อ Host อุปกรณ์ในเครื อข่าย การ์ ดเชือมต่อเครื อข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสําหรับ ใช้ในการ เชือมต่อสายสัญญาณของเครื อข่าย ติดตังไว้ในเครื องคอมพิวเตอร์ทีเป็ นเครื องแม่ข่าย และเครื อง ทีเป็ นลูกข่าย หน้าทีของการ์ ดนีคือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทําให้คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารกันได้
  • 8. รู ปแสดงการ์ ดเชือมต่อเครื อข่าย องค์ประกอบของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณ ํ ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ ดานผูส่ง เพือส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก ้ ้ (Analog) เมือถึงคอมพิวเตอร์ ดานผูรับ โมเด็มก็จะทําหน้าทีแปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็ น ้ ้ ดิจิตอลนําเข้าสู่เครื องคอมพิวเตอร์ เพือทําการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบ เครื อข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็ นสื อกลาง เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น รู ปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครื อข่ายระยะไกล
  • 9. ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชือมต่อทีใช้เป็ นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพือให้เกิดความ สะดวก ในการเชือมต่อของเครื อข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็ นจุดรวมการเชือมต่อ สายสัญญาณระหว่าง File Server กับWorkstation ต่าง ๆ แสดงฮับทีใช้เป็ นจุดเชือมต่อและจุดแยกของสาย ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย ั ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการเครื อข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ ทีทําหน้าที จัดการระบบเครื อข่าย ั ของคอมพิวเตอร์ เพือให้คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่ออยูกบเครื อข่าย สามารถติดต่อสื อสาร ่ั แลกเปลียนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ ทําหน้าทีจัดการด้านการรักษาความ ปลอดภัย ของระบบเครื อข่าย และยังมีหน้าทีควบคุม การนําโปรแกรมประยุกต์ ด้านการ ติดต่อสื อสาร มาทํางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเครื อข่าย มี ั ความสําคัญต่อเครื อข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ ประเภทนีได้แก่ ระบบปฏิบติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , ั Solaris , Unix เป็ นต้น
  • 10. แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบติการเครื อข่าย ั โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY) การนําเครื องคอมพิวเตอร์ มาเชือมต่อกันเพือประโยชน์ของการสือสารนัน สามารถกระทํา ได้หลายรู ปแบบ ซึ งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นทีแตกต่างกันไป โดยทึวไปแล้วโครงสร้างของ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถจําแนกตามลักษณะของการเชือมต่อดังต่อไปนี 1. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบบัส (bus topology) โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบบัส จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ทีใช้ส่งข้อมูล ภายในเครื อข่าย เครื องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื อง จะเชือมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชือมต่อ เมือ มีการส่งข้อมูลระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ หลายเครื องพร้อมกัน จะมีสญญาณข้อมูลส่งไปบน ั สายเคเบิ ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ ลแต่ละเครื องข้อดีของการเชือมต่อแบบบัส คือ ใช้ สื อนําข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื องคอมพิวเตอร์เครื องใดเครื องหนึงเสี ยก็ จะไม่ส่งผลต่อการทํางานของระบบโดยรวม แต่มีขอเสี ยคือ การตรวจจุดทีมีปัญหา กระทําได้ ้ ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครื องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกัน ํ มากจนเป็ นปัญหา
  • 11. 2. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบวงแหวน (ring topology) โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบวงแหวน มีการเชือมต่อระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ โดยทีแต่ละการเชือมต่อจะมีลกษณะเป็ นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายนีก็จะเป็ นวงกลม ั ด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็ นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื องหนึงจนถึงปลายทาง ใน กรณี ทีมีเครื องคอมพิวเตอร์ เครื องใดเครื องหนึงขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครื อข่ายชนิดนีจะไม่ สามารถทํางานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครื อข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ ลน้อย และ ถ้าตัดเครื องคอมพิวเตอร์ ทีเสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทํางานของระบบเครื อข่าย นี และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลทีแต่ละเครื องส่ง 3. โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาว (star topology) โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาว ภายในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จะต้องมีจุก ศูนย์กลางในการควบคุมการเชือมต่อคอมพิวเตอร์ หรื อ ฮับ (hub) การสื อสารระหว่างเครื อง คอมพิวเตอร์ ต่างๆ จะสื อสารผ่านฮับก่อนทีจะส่งข้อมูลไปสู่เครื องคอมพิวเตอร์ เครื อง อืนๆ โครงสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีขอดี คือ ถ้าต้องการเชือมต่อคอมพิวเตอร์เครื อง ้ ใหม่ก็สามารถทําได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื องคอมพิวเตอร์อืนๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ ลจะค่อนข้างสูงและเมือฮับไม่ทางาน การสื อสารของคอมพิวเตอร์ ํ ทังระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
  • 12. เทคโนโลยีแบบใช้ สาย เทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนีเรี ยงลําดับตามความเร็ วจากช้าไปเร็ วอย่างหยาบๆ รู ปแสดงสาย UTP สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สาย ั คู่บิดประกอบด้วยกลุ่มของสายทองแดงหุ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้ ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุ้มฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็ นสายคู่บิด จํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิด ํ เป็ นเกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุด เดียวกัน ความเร็วในการส่งอยูในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมา ่ ในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจากการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก) ้
  • 13. (unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair หรื อ STP) ั แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน รู ปแสดง STP จะเห็น sheath ทีเป็ นตัวนําป้ องกันอยูรอบนอก ่ สายโคแอคเชียลถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและ สถานทีทํางานอืนๆ ในเครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียม เส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ นวัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงที ่ สูง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก ภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็ วในการส่ง ข้อมูลอยูในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที ่ รู ปแสดงสายโคแอคเชียล 'ITU-T G.hn เป็ นเทคโนโลยีทีใช้สายไฟทีมีอยูในบ้าน (สายโคแอค, สายโทรศัพท์และ ่ สายไฟฟ้ า) เพือสร้างเครื อข่ายท้องถิ นความเร็ วสูง (ถึง 1 Gb/s)
  • 14. ใยแก้ วนําแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่งข้อมูล ข้อดีบางประการของ ั เส้นใยแสงทีเหนือกว่าสายโลหะก็คือมีการสูญเสี ยในการส่งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืน แม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่งรวดเร็วมากถึงล้านล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความ ยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่งผ่านสายเคเบิลใยแก้วนําแสง พร้อมกันในเส้นเดียวกัน เทคโนโลยีไร้ สาย 'ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสื อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่งและเครื องรับ สัญญาณจากสถานีบนผิวโลกทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิ ั ่ กะเฮิรตซ์ทีตํา ซึ งจํากัดการสื อสารทังหมดด้วยเส้นสายตาเท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่าง ประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์) ดาวเทียมสือสาร - การสื อสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดย ชันบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร ่ geosynchronous ที 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลก นีมีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสือสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่ง ภูมิภาคทีครอบคลุมออกเป็ นพืนทีทางภูมิศาสตร์ หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่งหรื ออุปกรณ์ เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอดสัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีก พืนทีหนึงข้างหน้า เทคโนโลยีวทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรัม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยี ิ วิทยุความถีสูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้ ั เทคโนโลยีการแพร่ กระจายคลืนความถีเพือการสื อสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด. IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไปของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิ ดทีรู้จกกันคือ ั ั Wifi การสื อสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลาย กรณี ส่วนใหญ่ การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึ งจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์การ สื อสาร
  • 15. เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการ ํ สนับสนุนการใช้งานมือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายทีสําคัญในการสื อสารเคลือนทีคือการส่งมอบการสื อสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไป ้ อีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่งมอบนีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สายบนผิวโลก . เทคโนโลยีทีแปลกใหม่ มีความพยายามต่างๆทีขนส่งข้อมูลผ่านสื อทีแปลกใหม่ ได้แก่:   IP over Avian Carriers เป็ นอารมณ์ขนของ April's fool เป็ น RFC 1149 มันถูกนํามาใช้ใน ั ชีวิตจริ งในปี 2001. ขยายอินเทอร์ เน็ตเพือมิติอวกาศผ่านทางคลืนวิทยุ. ทังสองกรณี มีการหน่วงเวลาสูงอันเนืองมาจากสัญญาณต้องเดินทางไปกลับ ซึ งจะทําให้ การสื อสารสองทางล่าช้ามาก แต่ก็ไม่ได้ขดขวางการส่งข้อมูลจํานวนมาก ั ชนิดของเครื อข่าย ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึ งปัจจุบนเครื อข่ายทีรู้จกกันดีมีอยู่ ั ั 6 แบบ ได้แก่     เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกันในพืนทีใกล้เคียงกัน เช่นอยูในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน ่ เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกัน ในระยะทางทีห่างไกล อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN) เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area network) : CAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)
  • 16.   เครื อข่ายส่วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่าง อุปกรณ์เคลือนทีส่วนบุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้ เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่าย ย่อย) ความเร็ วสูงวัตถุประสงค์เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิด ั ต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบนคัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่ของผูใช้ ั ้ อุปกรณ์เครื อข่าย      เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลัก ในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บและให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับ ้ คอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ นเซิ ร์ฟเวอร์ มักจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสูง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื องอืน ๆ ในเครื อข่าย ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายที ร้องขอ บริ การและเข้าถึงไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ ้ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย ้ ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าทีรับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่งข้อมูลลดลง ั เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 2 และทําหน้าทีส่ง ข้อมูลทีได้รับมาจากพอร์ ตหนึงไปยังพอร์ ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อกับพอร์ ตทีเหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการ รับส่งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนี ่ ั ั มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 3 เราท์เตอร์จะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานีปลายทางทีส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่งแพ็ก เก็ตต่อไป เราท์เตอร์ จะมีตวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเทเบิ ล(Routing Table) ั หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่งข้อมูลไปยังเครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น
  • 17.  IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียัง เชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้า ด้วยกัน ทําให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิ ทธิภาพรวม ของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการติดต่อของเครื องทีอยูในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ ่ ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และเนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ที ทํางานอยูในระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อเครื อข่ายที ่ แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น บริ ดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชือมเครื อข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายใหญ่ เพียงเครื อข่ายเดียว เพือให้เครื อข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อกับเครื อข่ายย่อยอืนๆ ได้  เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชือมต่อเครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ ประเภทพีซี (PC) เข้ากับ คอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น โพรโทคอลการสื อสาร คือชุดของกฎหรื อข้อกําหนดต่างๆสําหรับการแลกเปลียนข้อมูลในเครื อข่าย ในโพรโท คอลสแต็ค (ระดับชันของโพรโทคอล ดูแบบจําลองโอเอสไอ) แต่ละโพรโทคอลยกระดับการ ให้บริ การของโพรโทตคลทีอยูในชันล่าง ตัวอย่างทีสําคัญในโพรโทคอลสแต็คได้แก่ HTTP ที ่ ทํางานบน TCP over IP ผ่านข้อกําหนด IEEE 802.11 (TCP และ IP ทีเป็ นสมาชิกของชุด โปรโตคอลอินเทอร์ เน็ต. IEEE 802.11 เป็ นสมาชิกของชุดอีเธอร์ เน็ตโพรโทคอล.) สแต็คนีจะ ถูกใช้ระหว่างเราต์เตอร์ ไร้สายกับคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลของผูใช้ตามบ้านเมือผูใช้จะท่องเว็บ ้ ้ โพรโทคอลการสื อสารมีลกษณะต่างๆกัน ซึ งอาจจะเชือมต่อแบบ connection หรื อ ั connectionless, หรื ออาจจะใช้ circuit mode หรื อแพ็กเกตสวิตชิง, หรื ออาจใช้การ addressing ตามลําดับชันหรื อแบบ flat มีโพรโทคอลการสือสารมากมาย บางส่วนได้อธิบายไว้ดานล่างนี ้
  • 18. อีเธอร์ เน็ต อีเธอร์เน็ตเป็ นครอบครัวของโพรโทคอลทีใช้ในระบบ LAN, ตามทีอธิบายอยูในชุดของ ่ มาตรฐานทีเรี ยกว่า IEEE 802 เผยแพร่ โดยสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ งมีวิธีการ addressing แบบ flat และจะดําเนินการส่วนใหญ่ทีระดับ 1 และ 2 ของแบบจําลอง OSI. สําหรับ ผูใช้ทีบ้านในวันนี สมาชิกส่วนใหญ่ของครอบครัวของโปรโตคอลทีรู้จกกันดีนีคือ IEEE 802.11 ้ ั หรื อทีเรี ยกว่า Wireless LAN (WLAN). IEEE 802 โพรโทคอลชุดสมบูรณ์จดให้มีความ ั หลากหลายของความสามารถเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น MAC bridging (IEEE 802.1D) ทํางาน เกียวกับการ forwarding ของแพ็กเกตอีเธอร์ เน็ตโดยใช้โพรโทคอล Spanning tree, IEEE 802.1Q อธิบาย VLANs และ IEEE 802.1X กําหนดโพรโทคอลทีใช้ควบคุมการเข้าถึงเครื อข่ายแบบ พอร์ ตซึ งฟอร์ มตัวเป็ นพืนฐานสําหรับกลไกการตรวจสอบทีใช้ใน VLANs (แต่ก็ยงพบใน ั เครื อข่าย WLANs อีกด้วย) - มันเป็ นสิ งทีผูใช้ตามบ้านเห็นเมือผูใช้จะต้องใส่ "wireless access ้ ้ key". Internet protocol suite อินเทอร์เน็ตโปรโตคอลสวืท, หรื อทีเรี ยกว่า TCP / IP, เป็ นรากฐานของระบบการ เชือมโยงเครื อข่ายทีทันสมัย ทําให้มีการเชือมต่อแบบ connection-less เช่นเดียวกับ connectionoriented ผ่านเครื อข่ายทีไม่น่าเชือถือโดยการส่งดาต้าแกรม(ข้อมูลทีถูกแบ่งเป็ นชิ นเล็กๆ)ทีเล เยอร์โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต (IP) ทีแกนกลางของมัน ชุดโพรโทคอลกําหนด address, การระบุ ตัวตน, และคุณสมบัติของการเราต์ติงสําหรับ Internet Protocol Version 4 (IPv4) และ IPv6 ซึ ง รุ่ นต่อไปทีมีความสามารถในการขยายระบบ addressing อย่างมาก SONET/SDH Synchronous optical networking (SONET) และ Synchronous Digital Hierarchy (SDH) เป็ นโพรโทคอลมาตรฐานสําหรับการ multiplexing ทีทําการถ่ายโอนกระแสบิตดิจิตอลที หลากหลายผ่านใยแก้วนําแสง. พวกมันแต่เดิมถูกออกแบบมาเพือการขนส่งในการสื อสารแบบ circuit mode จากแหล่งทีมาทีหลากหลายแตกต่างกัน, เบืองต้นเพือสนับสนุนระบบเสี ยงทีเป็ น circuit-switched ทีเข้ารหัสในฟอร์ แมท PCM (Pulse-Code Modulation) ทีเป็ นเรี ยลไทม์และ ถูก บีบอัด. อย่างไรก็ตามเนืองจากความเป็ นกลางและคุณสมบัติทีเป็ น transport-oriented,
  • 19. SONET/SDH ยังเป็ นตัวเลือกทีชัดเจนสําหรับการขนส่งเฟรมของ Asynchronous Transfer Mode (ATM) Asynchronous Transfer Mode เป็ นเทคนิคการ switching สําหรับเครื อข่ายการสื อสารโทรคมนาคม ทีใช้ asynchronous time-division multiplexing ATM จะเข้ารหัสข้อมูลทีเป็ นเซลล์ขนาดเล็กคงที วิธีนีจะแตกต่าง จากโพรโทคอลอืน ๆ เช่น Internet Protocol สวีทหรื ออีเธอร์ เน็ตทีใช้แพ็กเกตหลายขนาด ATM มีความคล้ายคลึงกันกับ circuit switched และ packet switched networking. ATM จึงเป็ น ทางเลือกทีดีสาหรับเครื อข่ายทีต้องจัดการทังแบบการจราจรทีมีขอมูล throughput สูงแบบ ํ ้ ดังเดิมและแบบเนือหา real-time, ความล่าช้าแฝงตําเช่นเสี ยงและวิดีโอ. ATM ใช้รูปแบบการ เชือมต่อแบบ connection-oriented model ในทีซึ งวงจรเสมือนจะต้องจัดตังขึนระหว่างจุดสิ นสุด สองจุดก่อนทีการแลกเปลียนข้อมูลทีเกิดขึนจริ งจะเริ มขึน ในขณะทีบทบาทของ ATM จะลดน้อยลงเนืองจากความโปรดปรานของเครื อข่ายรุ่ น ต่อไป มันยังคงมีบทบาทในการเป็ นไมล์สุดท้ายซึงคือการเชือมต่อระหว่างผูให้บริการ ้ อินเทอร์เน็ตและผูใช้ตามบ้าน สําหรับรายละเอียดเพิ มเติมของเทคโนโลยีและโปรโตคอลการ ้ สื อสาร โปรดอ่านเพิ มเติมในหัวข้อข้างท้าย ขอบเขตของเครื อข่าย เครื อข่ายโดยทัวไปถูกจัดการโดยองค์กรทีเป็ นเจ้าของ เครื อข่ายองค์กรเอกชนอาจจะใช้ รวมกันทังอินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต และยังอาจจัดให้มีการเข้าถึงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตซึ งไม่ มีเจ้าของเดียวและให้การเชือมต่อทัวโลกแทบไม่จากัด ํ อินทราเน็ตและเอ็กซ์ ทราเน็ต อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นส่วนหนึงหรื อส่วนขยายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที มักจะเป็ น LAN อินทราเน็ต เป็ นชุดของเครื อข่ายทีอยูภายใต้การควบคุมของหน่วยการบริ หารเดียว ่ อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล IP และเครื องมือทีเป็ น IP-based เช่นเว็บเบราเซอร์ และโปรแกรมการ ถ่ายโอนไฟล์ หน่วยการบริ หารจํากัดการใช้อินทราเน็ตเฉพาะผูได้รับอนุญาตเท่านัน ส่วนใหญ่ ้
  • 20. แล้ว อินทราเน็ตจะเป็ นเครื อข่ายภายในองค์กร อินทราเน็ตขนาดใหญ่มกจะมีเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ อย่าง ั น้อยหนึงตัวเพือให้ผใช้เข้าถึงข้อมูลขององค์กรเอง ู้ เอ็กซ์ ทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายทียังอยูภายใต้การควบคุมของผูดูแลระบบขององค์กรเดียว แต่ ่ ้ สนับสนุนการเชือมต่อทีจํากัดเฉพาะเครื อข่ายภายนอกทีเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่นองค์กรอาจจัด ให้มีการเข้าถึงบางแง่มุมของอินทราเน็ตของบริ ษทเพือแชร์ ขอมูลร่ วมกับคู่คาทางธุรกิจหรื อ ั ้ ้ ลูกค้า หน่วยงานอืน ๆ เหล่านีไม่จาเป็ นต้องได้รับความเชือถือจากมุมมองของการรักษาความ ํ ปลอดภัย การเชือมต่อเครื อข่ายเอ็กซ์ทราเน็ตมักจะเป็ น, แต่ไม่เสมอไป, การดําเนินการผ่านทาง WAN เทคโนโลยี Internetwork Internetwork คือการเชือมต่อของหลายเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ผานทางเทคโนโลยีการ ่ กําหนดเส้นทางร่ วมกันโดยใช้เราต์เตอร์ อินเทอร์ เน็ต อินเทอร์เน็ตเป็ นตัวอย่างทีใหญ่ทีสุดของ Internetwork มันเป็ นระบบทีเชือมต่อกันทัวโลก ของภาครัฐ, นักวิชาการ, องค์กรของรัฐและเอกชน, และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล มัน ขึนอยูกบเทคโนโลยีระบบเครื อข่ายของ Internet Protocol สวีท ซึ งสื บทอดมาจากโครงการวิจย ่ ั ั ขันสูงของหน่วยงานเครื อข่าย (ARPANET) พัฒนาโดย DARPA ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริ กา อินเทอร์ เน็ตยังเป็ นแกนนําการสื อสารพืนฐานเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW) ผูเ้ ข้าร่ วมใน Internet ใช้ความหลากหลายของวิธีการหลายร้อยโพรโทคอลทีถูกทําเป็ น เอกสารและเป็ นมาตรฐานไว้แล้ว โพรโทคอลดังกล่าวมักจะเข้ากันได้ดีกบ Internet Protocol ั Suite และระบบ addressing (ทีอยู่ IP) ทีถูกบริ หารงานโดยหน่วยงานกําหนดหมายเลข อินเทอร์เน็ตและทะเบียน address. ผูให้บริ การและองค์กรขนาดใหญ่ทาการแลกเปลียนข้อมูล ้ ํ เกียวกับความสามารถในการเข้าถึงพืนทีทีเป็ น address ของพวกเขาผ่าน Border Gateway Protocol (BGP) ทําให้เป็ นเส้นทางการส่งทีซําซ้อนของตาข่ายทัวโลก โทโพโลยีเครื อข่าย
  • 21. Network Topologies โทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นรู ปแบบหรื อลําดับชันของโหนดทีเชือมต่อกันของเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ รูปแบบสามัญ รู ปแบบทีพบบ่อยคือ:     เครื อข่ายแบบบัส: ทุกโหนดจะถูกเชือมต่อกับสือกลางไปตลอดทังตัวสือนี รู ปแบบนีใช้ ในต้นฉบับอีเธอร์ เน็ตทีเรี ยกว่า 10BASE5 และ 10Base2 เครื อข่ายรู ปดาว: ทุกโหนดจะเชือมต่อกับโหนดกลางพิเศษ รู ปแบบนีพบโดยทัวไปใน LAN ไร้สายทีลูกค้าแต่ละรายเชือมต่อแบบไร้สายกับจุดการเข้าถึง (Wireless access point) เครื อข่ายวงแหวน: แต่ละโหนดมีการเชือมต่อไปยังโหนดข้างเคียงด้านซ้ายและด้านขวา เพือทีว่าทุกโหนดมีการเชือมต่อและแต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอืน โดยเข้าหาทาง โหนดด้านซ้ายหรื อโหนดด้านขวาก็ได้ ไฟเบอร์ การเชือมต่อข้อมูลแบบกระจาย (Fiber Distributed Data Interface หรื อ FDDI) ใช้โทโพโลยีแบบนี เครื อข่ายตาข่าย: แต่ละโหนดจะเชือมต่อกับโหนดอืนๆได้เกือบทังหมดในลักษณะทีมีอยู่ อย่างน้อยหนึงเส้นทางไปยังโหนดใดๆ แต่อาจต้องผ่านโหนดอืนไป  เครื อข่ายทีเชือมต่ออย่างเต็มที: ในแต่ละโหนดจะเชือมต่อกับทุกโหนดอืน ๆ ในเครื อข่าย  ต้นไม้: ในกรณี นีโหนดทังหมดมีการจัดลําดับชัน โปรดสังเกตว่ารู ปแบบทางกายภาพของโหนดในเครื อข่ายอาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนให้ ํ เห็นถึงโทโพโลยีเครื อข่าย ตัวอย่างเช่น, FDDI มีโทโพโลยีเครื อข่ายเป็ นวงแหวน (ทีจริ งสองวง หมุนสวนทางกัน) แต่โครงสร้างทางกายภาพอาจเป็ นรู ปดาวเพราะทุกการเชือมต่อกับโหนดทีอยู่ ใกล้เคียงจะถูกส่งผ่านโหนดทีอยูตรงกลาง ่
  • 22. เครือข่ ายซ้ อนทับ เครื อข่ายซ้อนทับเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เสมือนทีถูกสร้างขึนทับบนเครื อข่ายอืน โหนดในเครื อข่ายซ้อนทับจะถูกลิงค์เข้าด้วยกันแบบเสมือนหรื อแบบลอจิก ทีซึ งแต่ละลิงค์จะ สอดคล้องกับเส้นทางในเครื อข่ายหลักด้านล่าง ทีอาจจะผ่านการลิงค์ทางกายภาพหลายลิงค์ โทโพโลยีของเครื อข่ายซ้อนทับอาจ (และมักจะ) แตกต่างจากของเครื อข่ายด้านล่าง. เช่น เครื อข่ายแบบ peer-to-peer หลายเครื อข่ายเป็ นเครื อข่ายซ้อนทับ พวกมันจะถูกจัดให้เป็ นโหนด ของระบบเสมือนจริ งของลิงค์ทีทํางานบนอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ตถูกสร้างขึนครังแรกเป็ นภาพ ซ้อนทับบนเครื อข่ายโทรศัพท์. ตัวอย่างทีโดดเด่นทีสุดของเครื อข่ายซ้อนทับคือระบบของ Internet เอง. ทีเลเยอร์ เครื อข่าย แต่ละโหนดสามารถเข้าถึงโหนดอืน ๆ โดยการเชือมต่อโดยตรงไปยัง IP address ทีต้องการ ทํา ให้เกิดการสร้างเครื อข่ายทีถูกเชือมต่ออย่างเต็มที อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายด้านล่างจะ ประกอบด้วยการเชือมต่อภายในเหมือนตาข่ายของเครื อข่ายย่อยทีมี topologies (และเทคโนโลยี) ทีแตกต่างกัน การจําแนก address และการเราต์ติงค์เป็ นวิธีทีใช้ในการทํา mapping ของเครื อข่าย ซ้อนทับ(แบบ IP ทีถูกเชือมต่ออย่างเต็มที)ข้างบนกับเครื อข่ายทีอยูขางล่าง ่ ้ เครื อข่ายซ้อนทับเกิดขึนตังแต่มีการสร้างเครื อข่ายเมือระบบคอมพิวเตอร์ถูกเชือมต่อผ่าน สายโทรศัพท์โดยใช้โมเด็ม และเกิดขึนก่อนทีจะมีเครื อข่ายข้อมูลเสี ยอีก อีกตัวอย่างของเครื อข่ายซ้อนทับก็คือตารางแฮชกระจายซึ ง map คีย(์ keys)ไปยังโหนดใน เครื อข่าย ในกรณี นีเครื อข่ายข้างใต้เป็ นเครื อข่าย IP และเครื อข่ายทับซ้อนเป็ นตาราง (ทีจริ งเป็ น แผนที) ทีถูกทําดัชนีโดยคีย์ เครื อข่ายซ้อนทับยังได้รับการเสนอให้เป็ นวิธีการปรับปรุ งการเราต์ติงค์ในอินเทอร์เน็ต เช่นการเราต์โดยการรับประกันคุณภาพการให้บริ การเพือให้ได้สือกลางสตรี มมิ งทีมีคุณภาพสูง ข้อเสนอก่อนหน้านีเช่น IntServ, DiffServ และ IP Multicast ไม่ได้เห็นการยอมรับอย่าง กว้างขวางเพราะข้อเสนอเหล่านีจําเป็ นต้องมีการปรับเปลียนของเราต์เตอร์ ทงหมดในเครื อข่าย. ั ในขณะทีเครื อข่ายทับซ้อนถูกนําไปใช้งานเพิ มขึนบน end-hosts ที run ซอฟแวร์ โปรโตคอลทับ ซ้อนโดยไม่ตองรับความร่ วมมือจากผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ตเครื อข่ายซ้อนทับไม่มีการควบคุม ้ ้ วิธีการทีแพ็คเก็ตจะถูกเราต์ในเครื อข่ายข้างล่างระหว่างสองโหนดทีซ้อนทับกัน แต่มนสามารถ ั ควบคุม, ตัวอย่างเช่น, ลําดับของโหนดซ้อนทับทีข้อความจะลัดเลาะไปก่อนทีจะถึงปลายทาง
  • 23. ตัวอย่างเช่น Akamai เทคโนโลยีทาการบริ หารจัดการเครื อข่ายซ้อนทับทีดําเนินการจัดส่ง ํ เนือหาอย่างมีประสิ ทธิภาพและน่าเชือถือ (ชนิดหนึงของ multicast). งานวิจยทีเป็ นวิชาการ ั รวมถึงการ multicast ระบบปลาย, การเราต์ติงค์ทีมีความยืดหยุนและการศึกษาเรื อง'คุณภาพของ ่ บริ การ'(quality of service), ระหว่างเครื อข่ายซ้อนทับอืน ๆ