SlideShare a Scribd company logo
ISBN : 978-974-625-579-0
ค�ำน�ำ
ฟักทองเป็นพืชฟักทองจัดเป็นผักในตระกูลแตงที่มีการ
ใช้ประโยชน์มาอย่างยาวนานที่สุดชนิดหนึ่ง คาดการณ์ว่า
มีการปลูกมานานไม่ต�่ำกว่า ๑๐,๐๐๐ ปี ส�ำหรับการปลูกฟักทอง
ในประเทศไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง คนไทยนิยม
บริโภคฟักทองที่มีขนาดน�้ำหนักผลเฉลี่ย ๒ - ๓ กิโลกรัม เปลือกมี
สีเขียวคล�้ำ ร่องผลเป็นพูสม�่ำเสมอหรือเปลือกขรุขระแบบหนังคางคก
เนื้อสีเหลืองหนาและเหนียว พันธุ์ฟักทองที่เกษตรกรไทยนิยมปลูก
เป็นการค้าส่วนใหญ่จะซื้อพันธุ์ลูกผสมที่มีราคาค่อนข้างแพงให้ผลผลิต
สูงแต่ไม่สามารถเก็บเมล็ดไว้ท�ำพันธุ์ต่อได้ ดังนั้นทางมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้รวบรวมพันธุ์ฟักทองพื้นเมืองที่เกษตรกร
เก็บคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ปลูกต่อเนื่อง พบว่าฟักทองพื้นเมืองมีลักษณะที
่แตกต่างกัน ๒๓ ลักษณะ ซึ่งแสดงว่ามีความหลากหลายทางด้านพันธุกรรม
สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมตาม
ความต้องการต่อผู้บริโภคได้ต่อไป
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สารบัญ
เรื่อง	
•	ความส�ำคัญ
•	ลักษณะทั่วไปของพืช
•	ลักษณะการเจริญเติบโตของฟักทอง
พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์๑
•	สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่เหมาะสม
•	พื้นที่ปลูก
•	แหล่งปลูกฟักทองในประเทศไทย
•	ความเป็นมาของการพัฒนาฟักทองพันธุ์
พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
•	ตารางที่ ๑ ลักษณะประจ�ำพันธุ์ของฟักทอง
พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
•	การปลูกฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
•	ผังการปลูก
•	ภาคผนวก
หน้า
๒
๒
๓
๓
๔
๔
๕
๖
๗
๑๐
๑๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ความส�ำคัญ
ฟักทองเป็นพืชที่ให้คุณค่าทางอาหารสูง โดยที่เนื้อ
สีเหลืองๆนั้นมีวิตามินเอสูง ช่วยบ�ำรุงสายตา มีฟอสฟอรัส
แคลเซียม วิตามินซีและแป้ง นอกจากนี้ยังมีเบต้าแคโรทีน
ในปริมาณสูง เจ้าสารเบต้าแคโรทีนนี้เองที่เป็นสารที่ช่วย
ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง มีสารกรด
โปรไพโอนิคซึ่งช่วยให้เซลล์มะเร็งอ่อนตัวลง ช่วยควบคุม
ระดับน�้ำตาลในเลือด ป้องกันเบาหวาน โรคความดันโลหิต
บ�ำรุงตับและไต นอกจากนี้เปลือกของฟักทองช่วยควบคุม
สมดุลร่างกายโดยช่วยสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่
หมดอายุ ช่วยให้อวัยวะภายในท�ำงานได้อย่างสมดุลและ
มีประสิทธิภาพ ยอดของฟักทองรวมถึงใบอ่อนมีวิตามินเอ
ฟอสฟอรัส แคลเซียมสูง ช่วยบ�ำรุงสายตา กระดูก และมี
กากใยสูงช่วยในการขับถ่าย
เมล็ดของฟักทองประกอบไปด้วยไขมัน แป้ง
ฟอสฟอรัส โปรตีนและวิตามิน มีสารช่วยฆ่าพยาธิตัวตืด
ขับปัสสาวะ ป้องกันการเกิดนิ่ว มะเร็งต่อมลูกหมาก
และกระเพาะปัสสาวะได้ดี และใช้สกัดน�้ำมันส�ำหรับ
ประกอบอาหาร
ลักษณะทั่วไปของพืช
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cucurbita musehata Deene.
ชื่อวงศ์: CUCURBITACEAE
ชื่อสามัญ : (Pumpkin, Cushaw, Winter Squash)
ชื่ออื่น : ฟักทอง(กลาง) มะฟักแก้ว(เหนือ)
มะน�้ำแก้ว(เลย)
หมักคี้ส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
หมักอื๋อ (ปราจีน-เลย)
๒
ลักษณะการเจริญเติบโตของ
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์๑
ฟักทองเป็นพืชผสมข้ามต้น ดอกแสดงแยกเพศ
ผู้ และเพศเมีย เป็นพืชล้มลุกมีอายุตั้งแต่ระยะกล้า
๑๐ วัน ระยะพัฒนาล�ำต้น ๔๐-๔๕ วัน ระยะออกดอกแรก
๔๕ วัน ระยะการพัฒนาผล ๓๐ วัน ระยะเวลาตั้งแต่
ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวใช้เวลาประมาณ ๓ เดือน ล�ำต้นเป็น
เถาเลื้อยไปตามพื้นดินยาว ๓ – ๖ เมตร ควรตัดยอดที่
อายุ ๑๕ วันให้แตกแขนงมีจ�ำนวน ๔ แขนงหลัก แต่ละ
แขนงจะติดผลประมาณข้อที่ ๑๔ หรือข้อที่ ๒๑ ฟักทอง
ต้นหนึ่งควรให้ติดผลจ�ำนวน ๓-๔ ผลถ้ามากกว่านี้จะท�ำให้
ผลมีคุณภาพลดลง ใบมีขนอยู่ทั่วไป เนื้อใบนิ่ม มีรูปร่าง
๕ – ๗ เหลี่ยม ริมใบมีหยักเว้าลึก ๕ – ๗ หยัก ใบกว้าง
๑๐ – ๒๐ เซนติเมตรยาว ๑๕–๓๐ เซนติเมตร ผลมีรูปร่าง
ทรงกลมก้นแบนและขนาด ๒-๒.๕ กิโลกรัมต่อผล ผิวผลมี
ลายจุดแต้ม เนื้อในผลมีสีเหลือง เมล็ดมีจ�ำนวนมาก
	 สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่
เหมาะสม
ฟักทองสามารถเจริญเติบโตทางด้านล�ำต้น ใบ และ
ออกดอกได้ดีตลอดทั้งปี แต่การติดผลของฟักทองต้องการ
สภาพอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิกลางวันที่เหมาะสม
อยู่ที่ระหว่าง ๒๕ - ๓๐ องศาเซลเซียส ฝนและความชื้น
สูงเป็นสาเหตุส�ำคัญท�ำให้โรคทางใบและทางรากระบาด
รุนแรง ดังนั้นฤดูปลูกที่เหมาะสมที่สุดจึงอยู่ในช่วงปลายฤดู
ฝนต่อฤดูหนาว โดยมีช่วงหยอดเมล็ดเพาะกล้าอยู่ระหว่าง
เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมนอกจากสภาพอากาศจะ
เหมาะสมต่อการติดผล ท�ำให้ได้ผลผลิตสูงแล้วยังมีศัตรู
พืชรบกวนน้อย ต้นทุนการผลิตจึงต�่ำกว่าการปลูกในฤดู
อื่นด้วย
๓
พื้นที่ปลูก
ฟักทองเป็นพืชผักสามารถขึ้นได้กับดินแทบทุก
ชนิด แต่ชอบดินร่วนที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)
ของดินในช่วง ๕.๕-๖.๘ (ชอบดินเป็นกรดเล็กน้อย)
และความชื้นของดินพอเหมาะ ต้องการแสงแดดเต็มที่
ตลอดวัน ช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต
ระหว่าง ๒๑-๒๔ องศาเซลเซียส ส�ำหรับฟักทองพันธุ์นี้เป็น
พันธุ์ที่มีความทนทานปรับตัวเข้ากับพื้นที่ทางภาคเหนือ
ได้ดี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์ฯซึ่งเดิมเป็นพื้นที่
ปลูกยาสูบ มีความอุดมสมบูรณ์และอินทรียวัตถุของ
ดินต�่ำโรคทางดินมีมาก และมีแมลงศัตรูคอยระบาดเป็น
ประจ�ำ ดังนั้นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้แสดงว่าจะต้อง
ปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่นี้ได้เป็นอย่างดี
แหล่งปลูกฟักทองในประเทศไทย  
มีหลายจังหวัด แต่ที่ปลูกมากคือ ศรีษะเกษ, สกลนคร, ขอนแก่น, กาญจนบุรี, ชุมพร และฉะเชิงเทรา ซึ่งจะทยอย
กันให้ผลิต ออกมาสู่ท้องตลาด ท�ำให้มีฟักทองขายตลอดทั้งปี
๔
ความเป็นมาของการพัฒนาฟักทองพันธุ์พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองเป็นพืชผักที่จัดอยู่ในกลุ่มพืชตระกูลแตง (Cucurbitaceae) เป็นพืชผักที่มีวิตามินเอสูง ช่วยบ�ำรุงผิว
พรรณและถนอมสายตา น�ำมาท�ำอาหารได้หลายชนิด ฟักทองเป็นพืชผักที่มีล�ำต้นทอดและเลื้อยไปตามพื้นดิน
พันธุ์ฟักทองนี้ จะมีชื่อเรียกแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน มีขนาดรูปร่างสีเปลือก ผล และเนื้อก็แตกต่างกันไป พันธุ์เบา
ให้ผลเล็ก อายุเก็บเกี่ยว ๑๒๐ -๑๘๐ วัน โดยทยอยเก็บผลได้เรื่อยๆ ๔-๕ ครั้ง ต้นหนึ่งๆ จะให้ผลได้ ๔-๕ ผล หรือ
มากกว่าถึง ๗ ผล พันธุ์คางคก หรือพันธุ์ด�ำ ผิวขรุขระมาก พันธุ์ฟักทอง มีหลายพันธุ์ทั้งแบบต้นเลื้อยและเป็นพุ่มเตี้ย
มีพันธุ์พื้นเมืองหลายพันธุ์ เรียกตามลักษณะของผล เช่น พันธุ์ข้องปลา จะมีลักษณะของผลคล้ายข้องปลา, พันธุ์ผล
มะพร้าว จะมีลักษณะผลคล้ายมะพร้าว เป็นต้น จากการรวบรวมพันธุ์ฟักทองพื้นเมืองที่เกษตรกรเก็บคัดเลือกเมล็ด
พันธุ์ปลูกต่อเนืองจาก อ�ำเภอแจ้ห่ม บ้านฮ่องลี บ้านสาอ�ำเภอแม่เมาะ อ�ำเภอเถิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปางมาปลูกที่
สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตรและคัดเลือกพันธุ์ดีมาปลูกต่อที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักพันธ์เพ็ญศิริ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัด
เชียงราย ในช่วงปี ๒๕๕๓ -๒๕๕๕ พบว่าฟักทองพื้นเมืองมีลักษณะที่แตกต่างกัน ๒๓ ลักษณะ ซึ่งมีความหลากหลายทาง
ด้านพันธุกรรมสามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมตามความต้องการได้ต่อไป จากกลุ่ม
ประชากรฟักทองทั้ง ๒๓ เบอร์คัดเลือกผลที่ให้คุณภาพผลดีจ�ำนวน ๕ เบอร์ ได้แก่
เบอร์ ๔,๖,๗,๑๒ และ ๒๑ ซึ่งเป็นที่มาของฟักทองพื้นเมืองที่พัฒนาคัดเลือกมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ได้คัดแยกออก
เป็นผลใหญ่เบอร์ ๖, ๗, ๑๒ และกลุ่มผลเล็กเบอร์ ๔, ๒๑ เนืองจากฟักทองเป็นพืชผสมข้ามการคงลักษณะดีไว้จ�ำเป็น
ต้องให้มีการผสมตัวเองแล้วปลูกคัดเลือกแบบจดประวัติของแต่ละสายต้น คัดเลือกต้นที่ให้ลักษณะดีและผสมตัวเอง
หลายๆรุ่นจนแน่ใจว่ามีการกระจายลักษณะน้อยที่สุด และคัดเลือกได้ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ ผลไม่ใหญ่มาก
ด�ำเนินการปรับปรุงพันธุ์ผสมตัวเองปลูกคัดเลือกมาแล้ว ๘ รอบ
๕
ตารางที่ ๑ ลักษณะประจ�ำพันธุ์ของฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
๖
การปลูกฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก
เบอร์ ๑
๑.เริ่มจากการเพาะเมล็ดซึ่งนิยมเพาะในถาดหลุม
พลาสติกที่มี ๑๐๔ หลุม วัสดุที่จะใช้เพาะอาจเป็นดิน
ผสมส�ำเร็จรูปที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาดหรือจะเป็นผสม
เตรียมเองโดยมีอัตราส่วนดิน : ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
๓ : ๑ คลุกให้เข้ากัน
๒. การดูแลรักษากล้า หลังจากหยอดเมล็ดแล้ว
ให้น�้ำทันที โดยวิธีการฉีดพ่นให้เป็นฝอยละเอียดที่สุด
เท่าที่จะท�ำได้ ควรจะให้วันละ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ให้ตรวจดู
ความชื้นก่อนการให้น�้ำทุกครั้ง ถาดเพาะกล้านี้ควรเก็บไว้
ในที่แดดไม่จัดหรือมีการใช้วัสดุกันแสงไม่ให้มากระทบต้น
กล้ามากเกินไปเมื่อแตงกวา เริ่มงอกให้หมั่นตรวจดูความ
ผิดปกติของต้นกล้าเป็นระยะๆ หากมีการระบาดของ
แมลงหรือโรคพืช ต้องรีบก�ำจัดโดยเร็ว และเมื่อต้นกล้า
มีใบจริงประมาณ ๓-๔ ใบ จะอยู่ในระยะพร้อมที่จะย้าย
ปลูกประมาณ ๑๐ วัน
๓.การเตรียมแปลงปลูกควรใช้ปูนขาวหรือโดโลไมด์
ใช้อัตรา ๕๐-๑๐๐ กิโลกรัม ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
ประมาณ ๑ ตันต่อไร่พร้อมกับปุ๋ยเคมี ๑๕-๑๕-๑๕ ใน
อัตรา ๒๕ กิโลกรัมต่อไร่ โรยตามแนวแถวที่จะปลูกแล้ว
ไถพรวนคลุกเคล้ากัน แล้วท�ำการเปิดร่องโดยใช้รถไถ
ให้ร่องมีขนาด ๕๐ เซนติเมตร ตลอดตามแนวที่จะปลูก
ฟักทอง จากนั้นใช้พลาสติกด�ำคลุมแปลงขนาดหน้ากว้าง
๑๒๐ เซนติเมตร คลุมหน้าดินตลอดแนวปลูกทั้งสองข้าง
ของร่อง เพื่อป้องกันวัชพืช แต่ละร่องห่างกันประมาณ
๔ เมตร จากนั้นย้ายกล้าจากถาดเพาะมาปลูกในแปลงที่
เตรียมไว้ โดยปลูกแถวเดี่ยวระยะ ระหว่างต้น ๑ เมตร ห่าง
จากกึ่งกลางร่องประมาณ ๓๐ เซนติเมตร
๗
๔. การให้น�้ำช่วงแรกหลังย้ายกล้าปลูกต้องให้น�้ำ
ทันที คือการให้น�้ำตามร่อง ช่วงเวลาการให้น�้ำในระยะแรก
ควรให้ ๒-๓ วันต่อครั้งและเมื่อต้นฟักทอง เริ่มเจริญเติบโต
แล้วจึงปรับช่วงเวลาการให้น�้ำให้นานขึ้น ข้อควรค�ำนึง
ส�ำหรับการให้น�้ำนั้น คือ ต้องกระจายในพื้นที่สม�่ำเสมอ
ตลอดแปลง และตรวจดูความชื้นในดินไม่ให้สูงเกินไปจน
กลายเป็นแฉะ เพราะจะท�ำให้รากเน่าได้
๕.การใส่ปุ๋ยในฟักทองนั้น อาจแบ่งเป็นระยะ
ต่าง ๆ ดังนี้
	 ๕.๑. ระยะเตรียมดิน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ย
คอก หรือปุ๋ยหมัก อัตรา ๑-๒ ตันต่อไร่ และใส่ปุ๋ยสูตร
๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตราประมาณ
๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่ ผสมกับดินตามแนวแปลงปลูก
หรือจะใช้รองก้นหลุมตามแนวยาวของแถวแตงกวา
ที่จะปลูกบนแปลงที่เตรียมไว้ซึ่งวิถีนี้จะประหยัดการ
ใช้ปุ๋ย และแตงกวาได้ใช้ประโยชน์จากปุ๋ยที่ใส่มากกว่า
หว่านทั้งแปลง
	 ๕.๒. หลังย้ายปลูกประมาณ ๗ วัน ใส่ปุ๋ยที่มี
ไนโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือ แอมโมเนียซัลเฟต ในอัตรา
ประมาณ ๒๐ กิโลกรัมต่อไร่
	 ๕.๓. ระยะฟักทองออกดอก ซึ่งจะใช้ระยะเวลา
ประมาณ ๒๕ วัน หลังจากย้ายกล้า ใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕
หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตรา ประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่
หลังจากใส่ปุ๋ยเคมีทุกครั้งต้องให้น�้ำทันที
๘
๖.การป้องกันก�ำจัดโรคแมลงซึ่งพยายามลดการ
ใช้สารเคมีใช้จุลินทรีย์และสารสกัดจากพืชแทนในการ
ป้องกันก�ำจัดทั้งโรคและแมลง โรคและแมลงที่ส�ำคัญของ
ฟักทอง ได้แก่
๖.๑.โรคไวรัส เกิดจากแมลงพาหะน�ำมาเช่นเพลี้ย
อ่อน เพลี้ยต่างๆ ท�ำให้ใบหงิกงอต้นแคระแกร็นท�ำความ
เสียหายมากท�ำให้ฟักทองไม่ติดผล ฉะนั้นช่วงแรกจ�ำเป็น
ต้องก�ำจัดแมลงปากดูดตั้งแต่เริ่มย้ายกล้าต้องไม่ให้เข้า
ท�ำลายอย่างจริงจัง จึงจะท�ำให้ฟักทองไม่เป็นโรคไวรัส
๖.๒.โรคราแป้งมักพบช่วงฤดูหนาวท�ำลายใบต้องรีบ
ป้องกันก�ำจัดโดยใช้ผงฟูละลายน�้ำพ่นหรือใช้สูตรน�้ำมัน
อบเชยพ่น
๖.๓.โรคราน�้ำค้างเป็นโรคที่พบเป็นประจ�ำและช่วงที่
เหมาะสมจะระบาดรุนแรงควรใช้สารเคมีป้องกันเป็นระยะ
เช่นแมนโคเซบ
๖.๔.แมลงวันแตง ท�ำลายผลอ่อนท�ำให้ร่วงหล่นเสีย
หายมาก การป้องกันก�ำจัด ใช้ลูกเหม็นใส่ถุงผ้ามัดไว้ใกล้
ผลแตงอ่อน ถ้าผลใหญ่มีเปลือกเริ่มแข็งจะสามารถป้องกัน
แมลงวันแตงได้เอง
๗.การเก็บเกี่ยว อายุการเก็บเกี่ยวของฟักทองนับ
จากวันปลูกประมาณ ๓ เดือน ผลมีนวลขึ้นตั้งแต่ขั้วไปจน
ตลอดก้นผล แสดงว่าแก่จัดการเก็บควรเหลือขั้วติดไว้ด้วย
สักพอประมาณเพื่อช่วยให้เก็บรักษาได้นานขึ้น
๙
๑๐
ภาคผนวก
โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ประวัติความเป็นมา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมกับมูลนิธิ
แม่ฟ้าหลวง ด�ำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ” ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึกในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ในบริเวณส่วนหนึ่งของที่ดินราชพัสดุ ทะเบียนที่ อชร ๑ ต�ำบลโป่งผา
อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พื้นที่ ๑๓๕ ไร่ ๑ งาน ๑๐.๓ ตารางวา มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืช
ให้เกษตรกรได้มีพืชที่มีสายพันธุ์ที่ดี ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรด้านพันธุ์พืช ทนทานต่อโรคและแมลง
ได้ผลผลิตที่ดี
แนวพระราชด�ำริ
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริปลูกพืชผักเพื่อผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ และเริ่มรับซื้อเมล็ดพันธุ์พืชจาก
โครงการอื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา น�ำมาสะสมไว้เป็นเมล็ดพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์พระราชทานแก่ราษฎร
ทั่วไป และราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ รวบรวมพันธุ์พืชอาหารพื้นบ้าน เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเผยแพร่ ให้เกษตรกร
ให้เกษตรกรได้มีพันธุ์พืชที่มีคุณภาพดีพอสมควร มีความต้านทานโรคดีพอสมควร ให้ผลผลิตดีพอสมควร เพื่อให้เกษตรกร
น�ำพันธุ์ไปขยายหรือปลูกเองได้ในอนาคต โดยวางแผนที่จะพัฒนาพันธุ์พืชอาหารที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพในชีวิต
ประจ�ำวัน เพื่อให้เกษตรกรมีพันธุ์พืชที่ดี  แม้ไม่ใช่พันธุ์ที่ดีที่สุดในเชิงเศรษฐกิจ แต่จะเป็นพันธุ์ที่ดีพอสมควร สามารถ
สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพให้กับครัวเรือน สร้างความแข็งแรงมั่นคงให้เกิดขึ้นกับตนเอง และครอบครัวได้อย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
ประวัติความเป็นมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบนถือก�ำเนิดมา
จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามใหม่ว่า”สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับการ
ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พร้อมกันทั้ง ๙ แห่ง ในสังกัด ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยเสมือน
มีการแบ่งเขตพื้นที่การบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ๖ จังหวัดในเขตภาคเหนือได้แก่ เชียงราย ตาก น่าน พิษณุโลก
เชียงใหม่ และล�ำปาง
การจัดการศึกษา
มหาวิทยาลัยมีนโยบายยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์พัฒนาวิธี
การเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางวิชาการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) นอกจากนี้ยังให้ความ
ส�ำคัญกับกระบวนการเรียนรู้ (Cognitive learning process) ผ่านการบูรณาการทางการศึกษาและการวิจัยที่อยู่บน
พื้นฐานความต้องการของชุมชนและประเทศชาติ เน้นให้นักศึกษามีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) มี
ความเชื่อมโยงกับสถานประกอบการในการฝึกทักษะวิชาชีพ ทักษะสังคมพึ่งตนเองได้ และสามารถออกไปท�ำงานเพื่อ
สร้างสรรค์สังคม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ(Employability) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามีการ
เปิดสอนใน ๔ คณะวิชา ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ
และศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรรวมทั้งสิ้น ๑๐๑ หลักสูตร แบ่งเป็นหลักสูตรระดับ
ปวช.จ�ำนวน ๒ หลักสูตร ปวส. จ�ำนวน ๒๙ หลักสูตร ปริญญาตรี จ�ำนวน ๖๗ หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาโท
จ�ำนวน ๓ หลักสูตร
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑

More Related Content

What's hot

CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breedingCROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
pavanknaik
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
tanapatwangklaew
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
Mint NutniCha
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
Kritat Kantiya
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
Pongsakorn Pc
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
Thamonwan Theerabunchorn
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศApisada Ice
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
hoossanee
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
Jarinya Chaiyabin
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
Seed germination and dormancy powerpoint
Seed germination and dormancy powerpointSeed germination and dormancy powerpoint
Seed germination and dormancy powerpoint
ChanonKulthongkam
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2teerachon
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
minmint
 
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดงโครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
namwan2545
 
physical purity test.pptx
physical purity test.pptxphysical purity test.pptx
physical purity test.pptx
jogindersinghsiddhu1
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
O-SOT Kanesuna POTATO
 

What's hot (20)

CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breedingCROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
CROP IMPROVEMENT OF CARDAMOM breeding
 
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติมโครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
โครงงานเรื่องกล่องเอนกประสงค์จากไม้ไอติม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
โครงงานเครื่องกำจัดหยากไย่
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืชการทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
การทดสอบประสิทธิภาพของเส้นใยธรรมชาติจากพืช
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
Seed germination and dormancy powerpoint
Seed germination and dormancy powerpointSeed germination and dormancy powerpoint
Seed germination and dormancy powerpoint
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดงโครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
โครงงานวิทยาศาสตร์หัวหอมเเดง
 
physical purity test.pptx
physical purity test.pptxphysical purity test.pptx
physical purity test.pptx
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 

Similar to ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑

แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
kaewpanya km
 
มะม่วงพม่า2013
มะม่วงพม่า2013มะม่วงพม่า2013
มะม่วงพม่า2013Kruthai Kidsdee
 
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้า
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้ารายงานเรื่องเห็ดนางฟ้า
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้าchunkidtid
 
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
Rice Development
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลIammonsicha
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยsakuntra
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันKrunong9
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันKrunong9
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1nangna
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 

Similar to ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ (20)

แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
 
มะม่วงพม่า2013
มะม่วงพม่า2013มะม่วงพม่า2013
มะม่วงพม่า2013
 
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้า
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้ารายงานเรื่องเห็ดนางฟ้า
รายงานเรื่องเห็ดนางฟ้า
 
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับพื้นที่
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแล
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมัน
 
รู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมันรู้จักปาล์มน้ำมัน
รู้จักปาล์มน้ำมัน
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑

  • 2.
  • 3. ค�ำน�ำ ฟักทองเป็นพืชฟักทองจัดเป็นผักในตระกูลแตงที่มีการ ใช้ประโยชน์มาอย่างยาวนานที่สุดชนิดหนึ่ง คาดการณ์ว่า มีการปลูกมานานไม่ต�่ำกว่า ๑๐,๐๐๐ ปี ส�ำหรับการปลูกฟักทอง ในประเทศไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง คนไทยนิยม บริโภคฟักทองที่มีขนาดน�้ำหนักผลเฉลี่ย ๒ - ๓ กิโลกรัม เปลือกมี สีเขียวคล�้ำ ร่องผลเป็นพูสม�่ำเสมอหรือเปลือกขรุขระแบบหนังคางคก เนื้อสีเหลืองหนาและเหนียว พันธุ์ฟักทองที่เกษตรกรไทยนิยมปลูก เป็นการค้าส่วนใหญ่จะซื้อพันธุ์ลูกผสมที่มีราคาค่อนข้างแพงให้ผลผลิต สูงแต่ไม่สามารถเก็บเมล็ดไว้ท�ำพันธุ์ต่อได้ ดังนั้นทางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้รวบรวมพันธุ์ฟักทองพื้นเมืองที่เกษตรกร เก็บคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ปลูกต่อเนื่อง พบว่าฟักทองพื้นเมืองมีลักษณะที ่แตกต่างกัน ๒๓ ลักษณะ ซึ่งแสดงว่ามีความหลากหลายทางด้านพันธุกรรม สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมตาม ความต้องการต่อผู้บริโภคได้ต่อไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  • 4. สารบัญ เรื่อง • ความส�ำคัญ • ลักษณะทั่วไปของพืช • ลักษณะการเจริญเติบโตของฟักทอง พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์๑ • สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่เหมาะสม • พื้นที่ปลูก • แหล่งปลูกฟักทองในประเทศไทย • ความเป็นมาของการพัฒนาฟักทองพันธุ์ พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ • ตารางที่ ๑ ลักษณะประจ�ำพันธุ์ของฟักทอง พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ • การปลูกฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ • ผังการปลูก • ภาคผนวก หน้า ๒ ๒ ๓ ๓ ๔ ๔ ๕ ๖ ๗ ๑๐ ๑๑
  • 5.
  • 6. ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ ความส�ำคัญ ฟักทองเป็นพืชที่ให้คุณค่าทางอาหารสูง โดยที่เนื้อ สีเหลืองๆนั้นมีวิตามินเอสูง ช่วยบ�ำรุงสายตา มีฟอสฟอรัส แคลเซียม วิตามินซีและแป้ง นอกจากนี้ยังมีเบต้าแคโรทีน ในปริมาณสูง เจ้าสารเบต้าแคโรทีนนี้เองที่เป็นสารที่ช่วย ต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง มีสารกรด โปรไพโอนิคซึ่งช่วยให้เซลล์มะเร็งอ่อนตัวลง ช่วยควบคุม ระดับน�้ำตาลในเลือด ป้องกันเบาหวาน โรคความดันโลหิต บ�ำรุงตับและไต นอกจากนี้เปลือกของฟักทองช่วยควบคุม สมดุลร่างกายโดยช่วยสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ หมดอายุ ช่วยให้อวัยวะภายในท�ำงานได้อย่างสมดุลและ มีประสิทธิภาพ ยอดของฟักทองรวมถึงใบอ่อนมีวิตามินเอ ฟอสฟอรัส แคลเซียมสูง ช่วยบ�ำรุงสายตา กระดูก และมี กากใยสูงช่วยในการขับถ่าย เมล็ดของฟักทองประกอบไปด้วยไขมัน แป้ง ฟอสฟอรัส โปรตีนและวิตามิน มีสารช่วยฆ่าพยาธิตัวตืด ขับปัสสาวะ ป้องกันการเกิดนิ่ว มะเร็งต่อมลูกหมาก และกระเพาะปัสสาวะได้ดี และใช้สกัดน�้ำมันส�ำหรับ ประกอบอาหาร ลักษณะทั่วไปของพืช ชื่อวิทยาศาสตร์: Cucurbita musehata Deene. ชื่อวงศ์: CUCURBITACEAE ชื่อสามัญ : (Pumpkin, Cushaw, Winter Squash) ชื่ออื่น : ฟักทอง(กลาง) มะฟักแก้ว(เหนือ) มะน�้ำแก้ว(เลย) หมักคี้ส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) หมักอื๋อ (ปราจีน-เลย) ๒
  • 7. ลักษณะการเจริญเติบโตของ ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์๑ ฟักทองเป็นพืชผสมข้ามต้น ดอกแสดงแยกเพศ ผู้ และเพศเมีย เป็นพืชล้มลุกมีอายุตั้งแต่ระยะกล้า ๑๐ วัน ระยะพัฒนาล�ำต้น ๔๐-๔๕ วัน ระยะออกดอกแรก ๔๕ วัน ระยะการพัฒนาผล ๓๐ วัน ระยะเวลาตั้งแต่ ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวใช้เวลาประมาณ ๓ เดือน ล�ำต้นเป็น เถาเลื้อยไปตามพื้นดินยาว ๓ – ๖ เมตร ควรตัดยอดที่ อายุ ๑๕ วันให้แตกแขนงมีจ�ำนวน ๔ แขนงหลัก แต่ละ แขนงจะติดผลประมาณข้อที่ ๑๔ หรือข้อที่ ๒๑ ฟักทอง ต้นหนึ่งควรให้ติดผลจ�ำนวน ๓-๔ ผลถ้ามากกว่านี้จะท�ำให้ ผลมีคุณภาพลดลง ใบมีขนอยู่ทั่วไป เนื้อใบนิ่ม มีรูปร่าง ๕ – ๗ เหลี่ยม ริมใบมีหยักเว้าลึก ๕ – ๗ หยัก ใบกว้าง ๑๐ – ๒๐ เซนติเมตรยาว ๑๕–๓๐ เซนติเมตร ผลมีรูปร่าง ทรงกลมก้นแบนและขนาด ๒-๒.๕ กิโลกรัมต่อผล ผิวผลมี ลายจุดแต้ม เนื้อในผลมีสีเหลือง เมล็ดมีจ�ำนวนมาก สภาพภูมิอากาศและฤดูปลูกที่ เหมาะสม ฟักทองสามารถเจริญเติบโตทางด้านล�ำต้น ใบ และ ออกดอกได้ดีตลอดทั้งปี แต่การติดผลของฟักทองต้องการ สภาพอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิกลางวันที่เหมาะสม อยู่ที่ระหว่าง ๒๕ - ๓๐ องศาเซลเซียส ฝนและความชื้น สูงเป็นสาเหตุส�ำคัญท�ำให้โรคทางใบและทางรากระบาด รุนแรง ดังนั้นฤดูปลูกที่เหมาะสมที่สุดจึงอยู่ในช่วงปลายฤดู ฝนต่อฤดูหนาว โดยมีช่วงหยอดเมล็ดเพาะกล้าอยู่ระหว่าง เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมนอกจากสภาพอากาศจะ เหมาะสมต่อการติดผล ท�ำให้ได้ผลผลิตสูงแล้วยังมีศัตรู พืชรบกวนน้อย ต้นทุนการผลิตจึงต�่ำกว่าการปลูกในฤดู อื่นด้วย ๓
  • 8. พื้นที่ปลูก ฟักทองเป็นพืชผักสามารถขึ้นได้กับดินแทบทุก ชนิด แต่ชอบดินร่วนที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของดินในช่วง ๕.๕-๖.๘ (ชอบดินเป็นกรดเล็กน้อย) และความชื้นของดินพอเหมาะ ต้องการแสงแดดเต็มที่ ตลอดวัน ช่วงอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโต ระหว่าง ๒๑-๒๔ องศาเซลเซียส ส�ำหรับฟักทองพันธุ์นี้เป็น พันธุ์ที่มีความทนทานปรับตัวเข้ากับพื้นที่ทางภาคเหนือ ได้ดี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์ฯซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ ปลูกยาสูบ มีความอุดมสมบูรณ์และอินทรียวัตถุของ ดินต�่ำโรคทางดินมีมาก และมีแมลงศัตรูคอยระบาดเป็น ประจ�ำ ดังนั้นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้แสดงว่าจะต้อง ปรับตัวเข้ากับสภาพพื้นที่นี้ได้เป็นอย่างดี แหล่งปลูกฟักทองในประเทศไทย มีหลายจังหวัด แต่ที่ปลูกมากคือ ศรีษะเกษ, สกลนคร, ขอนแก่น, กาญจนบุรี, ชุมพร และฉะเชิงเทรา ซึ่งจะทยอย กันให้ผลิต ออกมาสู่ท้องตลาด ท�ำให้มีฟักทองขายตลอดทั้งปี ๔
  • 9. ความเป็นมาของการพัฒนาฟักทองพันธุ์พื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ ฟักทองเป็นพืชผักที่จัดอยู่ในกลุ่มพืชตระกูลแตง (Cucurbitaceae) เป็นพืชผักที่มีวิตามินเอสูง ช่วยบ�ำรุงผิว พรรณและถนอมสายตา น�ำมาท�ำอาหารได้หลายชนิด ฟักทองเป็นพืชผักที่มีล�ำต้นทอดและเลื้อยไปตามพื้นดิน พันธุ์ฟักทองนี้ จะมีชื่อเรียกแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน มีขนาดรูปร่างสีเปลือก ผล และเนื้อก็แตกต่างกันไป พันธุ์เบา ให้ผลเล็ก อายุเก็บเกี่ยว ๑๒๐ -๑๘๐ วัน โดยทยอยเก็บผลได้เรื่อยๆ ๔-๕ ครั้ง ต้นหนึ่งๆ จะให้ผลได้ ๔-๕ ผล หรือ มากกว่าถึง ๗ ผล พันธุ์คางคก หรือพันธุ์ด�ำ ผิวขรุขระมาก พันธุ์ฟักทอง มีหลายพันธุ์ทั้งแบบต้นเลื้อยและเป็นพุ่มเตี้ย มีพันธุ์พื้นเมืองหลายพันธุ์ เรียกตามลักษณะของผล เช่น พันธุ์ข้องปลา จะมีลักษณะของผลคล้ายข้องปลา, พันธุ์ผล มะพร้าว จะมีลักษณะผลคล้ายมะพร้าว เป็นต้น จากการรวบรวมพันธุ์ฟักทองพื้นเมืองที่เกษตรกรเก็บคัดเลือกเมล็ด พันธุ์ปลูกต่อเนืองจาก อ�ำเภอแจ้ห่ม บ้านฮ่องลี บ้านสาอ�ำเภอแม่เมาะ อ�ำเภอเถิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปางมาปลูกที่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตรและคัดเลือกพันธุ์ดีมาปลูกต่อที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักพันธ์เพ็ญศิริ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัด เชียงราย ในช่วงปี ๒๕๕๓ -๒๕๕๕ พบว่าฟักทองพื้นเมืองมีลักษณะที่แตกต่างกัน ๒๓ ลักษณะ ซึ่งมีความหลากหลายทาง ด้านพันธุกรรมสามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความเหมาะสมตามความต้องการได้ต่อไป จากกลุ่ม ประชากรฟักทองทั้ง ๒๓ เบอร์คัดเลือกผลที่ให้คุณภาพผลดีจ�ำนวน ๕ เบอร์ ได้แก่ เบอร์ ๔,๖,๗,๑๒ และ ๒๑ ซึ่งเป็นที่มาของฟักทองพื้นเมืองที่พัฒนาคัดเลือกมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ได้คัดแยกออก เป็นผลใหญ่เบอร์ ๖, ๗, ๑๒ และกลุ่มผลเล็กเบอร์ ๔, ๒๑ เนืองจากฟักทองเป็นพืชผสมข้ามการคงลักษณะดีไว้จ�ำเป็น ต้องให้มีการผสมตัวเองแล้วปลูกคัดเลือกแบบจดประวัติของแต่ละสายต้น คัดเลือกต้นที่ให้ลักษณะดีและผสมตัวเอง หลายๆรุ่นจนแน่ใจว่ามีการกระจายลักษณะน้อยที่สุด และคัดเลือกได้ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ ผลไม่ใหญ่มาก ด�ำเนินการปรับปรุงพันธุ์ผสมตัวเองปลูกคัดเลือกมาแล้ว ๘ รอบ ๕
  • 11. การปลูกฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ ๑.เริ่มจากการเพาะเมล็ดซึ่งนิยมเพาะในถาดหลุม พลาสติกที่มี ๑๐๔ หลุม วัสดุที่จะใช้เพาะอาจเป็นดิน ผสมส�ำเร็จรูปที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาดหรือจะเป็นผสม เตรียมเองโดยมีอัตราส่วนดิน : ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ๓ : ๑ คลุกให้เข้ากัน ๒. การดูแลรักษากล้า หลังจากหยอดเมล็ดแล้ว ให้น�้ำทันที โดยวิธีการฉีดพ่นให้เป็นฝอยละเอียดที่สุด เท่าที่จะท�ำได้ ควรจะให้วันละ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ให้ตรวจดู ความชื้นก่อนการให้น�้ำทุกครั้ง ถาดเพาะกล้านี้ควรเก็บไว้ ในที่แดดไม่จัดหรือมีการใช้วัสดุกันแสงไม่ให้มากระทบต้น กล้ามากเกินไปเมื่อแตงกวา เริ่มงอกให้หมั่นตรวจดูความ ผิดปกติของต้นกล้าเป็นระยะๆ หากมีการระบาดของ แมลงหรือโรคพืช ต้องรีบก�ำจัดโดยเร็ว และเมื่อต้นกล้า มีใบจริงประมาณ ๓-๔ ใบ จะอยู่ในระยะพร้อมที่จะย้าย ปลูกประมาณ ๑๐ วัน ๓.การเตรียมแปลงปลูกควรใช้ปูนขาวหรือโดโลไมด์ ใช้อัตรา ๕๐-๑๐๐ กิโลกรัม ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ประมาณ ๑ ตันต่อไร่พร้อมกับปุ๋ยเคมี ๑๕-๑๕-๑๕ ใน อัตรา ๒๕ กิโลกรัมต่อไร่ โรยตามแนวแถวที่จะปลูกแล้ว ไถพรวนคลุกเคล้ากัน แล้วท�ำการเปิดร่องโดยใช้รถไถ ให้ร่องมีขนาด ๕๐ เซนติเมตร ตลอดตามแนวที่จะปลูก ฟักทอง จากนั้นใช้พลาสติกด�ำคลุมแปลงขนาดหน้ากว้าง ๑๒๐ เซนติเมตร คลุมหน้าดินตลอดแนวปลูกทั้งสองข้าง ของร่อง เพื่อป้องกันวัชพืช แต่ละร่องห่างกันประมาณ ๔ เมตร จากนั้นย้ายกล้าจากถาดเพาะมาปลูกในแปลงที่ เตรียมไว้ โดยปลูกแถวเดี่ยวระยะ ระหว่างต้น ๑ เมตร ห่าง จากกึ่งกลางร่องประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ๗
  • 12. ๔. การให้น�้ำช่วงแรกหลังย้ายกล้าปลูกต้องให้น�้ำ ทันที คือการให้น�้ำตามร่อง ช่วงเวลาการให้น�้ำในระยะแรก ควรให้ ๒-๓ วันต่อครั้งและเมื่อต้นฟักทอง เริ่มเจริญเติบโต แล้วจึงปรับช่วงเวลาการให้น�้ำให้นานขึ้น ข้อควรค�ำนึง ส�ำหรับการให้น�้ำนั้น คือ ต้องกระจายในพื้นที่สม�่ำเสมอ ตลอดแปลง และตรวจดูความชื้นในดินไม่ให้สูงเกินไปจน กลายเป็นแฉะ เพราะจะท�ำให้รากเน่าได้ ๕.การใส่ปุ๋ยในฟักทองนั้น อาจแบ่งเป็นระยะ ต่าง ๆ ดังนี้ ๕.๑. ระยะเตรียมดิน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ย คอก หรือปุ๋ยหมัก อัตรา ๑-๒ ตันต่อไร่ และใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตราประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่ ผสมกับดินตามแนวแปลงปลูก หรือจะใช้รองก้นหลุมตามแนวยาวของแถวแตงกวา ที่จะปลูกบนแปลงที่เตรียมไว้ซึ่งวิถีนี้จะประหยัดการ ใช้ปุ๋ย และแตงกวาได้ใช้ประโยชน์จากปุ๋ยที่ใส่มากกว่า หว่านทั้งแปลง ๕.๒. หลังย้ายปลูกประมาณ ๗ วัน ใส่ปุ๋ยที่มี ไนโตรเจน เช่น ยูเรีย หรือ แอมโมเนียซัลเฟต ในอัตรา ประมาณ ๒๐ กิโลกรัมต่อไร่ ๕.๓. ระยะฟักทองออกดอก ซึ่งจะใช้ระยะเวลา ประมาณ ๒๕ วัน หลังจากย้ายกล้า ใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ หรือ ๑๒-๒๔-๑๒ อัตรา ประมาณ ๒๐-๓๐ กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากใส่ปุ๋ยเคมีทุกครั้งต้องให้น�้ำทันที ๘
  • 13. ๖.การป้องกันก�ำจัดโรคแมลงซึ่งพยายามลดการ ใช้สารเคมีใช้จุลินทรีย์และสารสกัดจากพืชแทนในการ ป้องกันก�ำจัดทั้งโรคและแมลง โรคและแมลงที่ส�ำคัญของ ฟักทอง ได้แก่ ๖.๑.โรคไวรัส เกิดจากแมลงพาหะน�ำมาเช่นเพลี้ย อ่อน เพลี้ยต่างๆ ท�ำให้ใบหงิกงอต้นแคระแกร็นท�ำความ เสียหายมากท�ำให้ฟักทองไม่ติดผล ฉะนั้นช่วงแรกจ�ำเป็น ต้องก�ำจัดแมลงปากดูดตั้งแต่เริ่มย้ายกล้าต้องไม่ให้เข้า ท�ำลายอย่างจริงจัง จึงจะท�ำให้ฟักทองไม่เป็นโรคไวรัส ๖.๒.โรคราแป้งมักพบช่วงฤดูหนาวท�ำลายใบต้องรีบ ป้องกันก�ำจัดโดยใช้ผงฟูละลายน�้ำพ่นหรือใช้สูตรน�้ำมัน อบเชยพ่น ๖.๓.โรคราน�้ำค้างเป็นโรคที่พบเป็นประจ�ำและช่วงที่ เหมาะสมจะระบาดรุนแรงควรใช้สารเคมีป้องกันเป็นระยะ เช่นแมนโคเซบ ๖.๔.แมลงวันแตง ท�ำลายผลอ่อนท�ำให้ร่วงหล่นเสีย หายมาก การป้องกันก�ำจัด ใช้ลูกเหม็นใส่ถุงผ้ามัดไว้ใกล้ ผลแตงอ่อน ถ้าผลใหญ่มีเปลือกเริ่มแข็งจะสามารถป้องกัน แมลงวันแตงได้เอง ๗.การเก็บเกี่ยว อายุการเก็บเกี่ยวของฟักทองนับ จากวันปลูกประมาณ ๓ เดือน ผลมีนวลขึ้นตั้งแต่ขั้วไปจน ตลอดก้นผล แสดงว่าแก่จัดการเก็บควรเหลือขั้วติดไว้ด้วย สักพอประมาณเพื่อช่วยให้เก็บรักษาได้นานขึ้น ๙
  • 16. โครงการศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ ประวัติความเป็นมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมกับมูลนิธิ แม่ฟ้าหลวง ด�ำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ” ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึกในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ในบริเวณส่วนหนึ่งของที่ดินราชพัสดุ ทะเบียนที่ อชร ๑ ต�ำบลโป่งผา อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พื้นที่ ๑๓๕ ไร่ ๑ งาน ๑๐.๓ ตารางวา มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืช ให้เกษตรกรได้มีพืชที่มีสายพันธุ์ที่ดี ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรด้านพันธุ์พืช ทนทานต่อโรคและแมลง ได้ผลผลิตที่ดี แนวพระราชด�ำริ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริปลูกพืชผักเพื่อผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ และเริ่มรับซื้อเมล็ดพันธุ์พืชจาก โครงการอื่นๆ ของมูลนิธิชัยพัฒนา น�ำมาสะสมไว้เป็นเมล็ดพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน เพื่อเป็นเมล็ดพันธุ์พระราชทานแก่ราษฎร ทั่วไป และราษฎรที่ประสบภัยพิบัติ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ รวบรวมพันธุ์พืชอาหารพื้นบ้าน เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเผยแพร่ ให้เกษตรกร ให้เกษตรกรได้มีพันธุ์พืชที่มีคุณภาพดีพอสมควร มีความต้านทานโรคดีพอสมควร ให้ผลผลิตดีพอสมควร เพื่อให้เกษตรกร น�ำพันธุ์ไปขยายหรือปลูกเองได้ในอนาคต โดยวางแผนที่จะพัฒนาพันธุ์พืชอาหารที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีพในชีวิต ประจ�ำวัน เพื่อให้เกษตรกรมีพันธุ์พืชที่ดี  แม้ไม่ใช่พันธุ์ที่ดีที่สุดในเชิงเศรษฐกิจ แต่จะเป็นพันธุ์ที่ดีพอสมควร สามารถ สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพให้กับครัวเรือน สร้างความแข็งแรงมั่นคงให้เกิดขึ้นกับตนเอง และครอบครัวได้อย่างยั่งยืน
  • 17. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประวัติความเป็นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบนถือก�ำเนิดมา จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามใหม่ว่า”สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับการ ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พร้อมกันทั้ง ๙ แห่ง ในสังกัด ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้จัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยเสมือน มีการแบ่งเขตพื้นที่การบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุม ๖ จังหวัดในเขตภาคเหนือได้แก่ เชียงราย ตาก น่าน พิษณุโลก เชียงใหม่ และล�ำปาง การจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบายยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพอาจารย์พัฒนาวิธี การเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางวิชาการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hands-on) นอกจากนี้ยังให้ความ ส�ำคัญกับกระบวนการเรียนรู้ (Cognitive learning process) ผ่านการบูรณาการทางการศึกษาและการวิจัยที่อยู่บน พื้นฐานความต้องการของชุมชนและประเทศชาติ เน้นให้นักศึกษามีการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long learning) มี ความเชื่อมโยงกับสถานประกอบการในการฝึกทักษะวิชาชีพ ทักษะสังคมพึ่งตนเองได้ และสามารถออกไปท�ำงานเพื่อ สร้างสรรค์สังคม เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ(Employability) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามีการ เปิดสอนใน ๔ คณะวิชา ได้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรรวมทั้งสิ้น ๑๐๑ หลักสูตร แบ่งเป็นหลักสูตรระดับ ปวช.จ�ำนวน ๒ หลักสูตร ปวส. จ�ำนวน ๒๙ หลักสูตร ปริญญาตรี จ�ำนวน ๖๗ หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาโท จ�ำนวน ๓ หลักสูตร