SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ เพื่อทดลองประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นเหม็นอับต่างๆ โดยได้รั
บคาปรึกษาจาก อาจารย์จิตสถา เตชะทวีกุล
และอาจารย์อาทิตย์ จันทร์ดี ที่ได้ให้คาปรึกษาในการทาโครงงานและการทารูปเล่มโครงงาน
คณะผู้จัดทา ขอขอบคุณทุกท่านดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นและที่ไม่ได้กล่าวถึงไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมมีกลิ่นเป็นมลพิษต่อระบบหายใจหากเราซื้อน้ายาดับกลิ่นตามท้องตลาดมาใ
ช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น
คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม เช่น ใบเตย ผิวมะกูด
ใบตะไคร้
มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมารที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นใน
สถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้าสถานที่ ที่มีกลิ่นอับ
จากการศึกษาพบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ
อัตราส่วนระหว่างสมุนไพร 20กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร
และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัดจากผิวมะกูด
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
“เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีเพื่อชี้แนะแนวทาง
ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมี
พอใช้การรู้จักพอประมาณการคานึงถึงความมีเหตุผล
ส่งเสริมความประหยัดในครัวเรือนจากแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การซื้อน้ายาดับกลิ่นห้องน้าตามท้องตลาดมาใช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจ
ากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม
คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมเช่น ใบเตย ผิวมะกูด
ใบตะไคร้
มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นใ
นสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้าสถานที่ ที่มีกลิ่นอับ
จากการศึกษาพบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ
อัตราส่วนระหว่างสมุนไพร 20กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 มิลลิลิตร
และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัดจากผิวมะกูด
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้หอม
ในอัตราส่วนที่แตกต่าง
2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย
ผิวมะกูดและใบตะไคร้
3. เพื่อเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น
ตัวแปร
ตัวแปรต้น สารสกัดจากสมุนไพร
ตัวแปรตาม ความสามารถในการกาจัดกลิ่น
ตัวแปรควบคุม ปริมาณของสมุนไพร และแอลกอฮอล์
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1. เพื่อศึกษาการทาสเปรย์ปรับอากาศสมุนไพร
2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นอับ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. การเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรในท้องถิ่น
2. การลดมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม
3. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับวิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ผู้ทาโครงงานได้ศึกษาความรู้ในเรื่องต่างๆดังนี้
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.ต้นตะไคร้
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus Rendle
วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE)
ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด
ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 5-
20 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา
ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น
ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาวได้ถึง 80ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่
ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5ช่อ ผลแห้งไม่แตก
ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้นและใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก
แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย
2.ต้นใบเตย
ชื่อวิทยาศาสตร์ pandans tectorins
ลักษณะ เป็นไม้กิ่งพุ่ม ก้านใบเดียว มีรางน้า มีสีนวล
3.ต้นมะกูด
ชื่อทางพฤกษศาสตร์ : Citrus Hystrix
วงศ์ : RUTACEAE
ชื่อที่เรียก :ในไทยทั่วไปเรียก มะกูด ภาคใต้เรียก ส้มมั่วผี ทางภาคอีสานเรียก
มะหูด ทางภาคกลางเรียก ส้มมะกรูด
ลักษณะ :ต้นมะกรูด เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม ใบเขียวหนา มีคอดกิ่วที่กลางใบ
เป็นตอนๆ ดอกสีขาว เกสรมีสีเหลือง กลิ่นหอมเล็กน้อย ผลคล้ายผล
ส้มซ่า ผิวหนาเป็นร่องขรุขระทั้งลูก มีขั้วจุกสูง ตามต้นและกิ่งมีหนาม
ยาวเล็กน้อย น้าในลูกมีรสเปรี้ยว
การเจริญเติบโต :ปลูกได้ไม่ต้องเลือกดิน มีปลูกกันตามบ้านเรือกส
4.การปลูก
ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก
ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ
สรรพคุณ ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็น
ยาไทย แผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน ทาให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลาใส้ แก้แน่น
ตะไคร้หอมได้ถูกนามาใช้ไล่แมลง อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7ส่วน
ผสมในแอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน
อัตราส่วน 1:1ทาตรงขอบประตู ที่ปิดเปิดเสมอ หรือชุบสาลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก
หรือใช้ใบตะไคร้หอม มัดแล้วทุบให้ช้าวางใว้ตามมุมห้องหรือใต้เตียง
5.สรรพคุณ
รากแก้ปัสสวะแดง
ใบแก้ท้องเสีย
วนไร่นา
6 .พันธุ์ได้ด้วยการเพาะเมล็ด การตอนกิ่งก็ได้
ประโยชน์ : ใบนามาปรุงกับอาหารดับกลิ่นคาว น้าในผลใช้ในการย้อมผ้า ทาน้า
ยาสระผมได้
สรรพคุณ : ราก กระทุ้งพิษ ถอดพิษสาแดง แก้ลมจุกเสียด แก้พิษฝีภายใน แก้
เสมหะเป็นโทษ
ลูกมะกรูดนามามักดองทาเป็นยาดองเปรี้ยวเค็ม รับประทานเป็นยา
ฟอกล้างและบารุงโลหิต ลูกมะกรูดนี้ถ้าเอามาเผาไฟ ก่อนเผาคว้าน
เอาไส้ในออก แล้วเอามหาหิงคุ์ใส่ในกลางผล สุมไฟให้เกรียมจนกรอบ
บดเป็นผงละเอียด ละลายกับน้าผึ้งป้ายลิ้นเด็กที่คลอดใหม่ขับผายลม
ดีนัก แก้ปวดท้อง
ผิวของลูกมะกรูด ปรุงเป็นยาลม ขับลมในลาไส้ ขับระดู
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการทดลอง
อุปกรณ์และสารเคมี
อุปกรณ์
1. หม้อ
2. กรวย
3. ขวดสเปรย์
4. ภาชนะตวง
วัสดุและสารเคมี
1. ตะไคร้ 30กรัม
2. ใบมะกรูด 30 กรัม
3. ใบเตย 30 กรัม
4. . แอลกอฮอร์ 600 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%)
วิธีการทดลอง
1. นาใบเตย ตะไคร้
ใบมะกรูดมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ(เพื่อให้สมุนไพรสามารถออกกลิ่นได้เร็วกว่าการที่ต้มโดยไม่หั่น)
ใบเตย ตะไคร้
ใบมะกรูด
.
2.ต้มแอลกอฮอล์แล้วนาสมุนไพรทั้ง 3ชนิดลงไปต้ม
ต้มใบเตยกับแอลกอฮอล์ ต้มตะไคร้กับแอลกอฮอล์ ต้มใบมะกรูดกับแอลกอฮอล์
3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก จากนั้นสามารถบรรจุลงขวดสเปรย์ได้ทันที
บทที่ 4
ผลการทดลอง
จากการทดลองเรื่อง
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศทาให้คณะผู้จัดทาได้สารวจประสิทธิภาพของสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ
จากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพจะเห็นได้ดังนี้
ชนิดของสมุนไพร
ผลการทดลอง
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
1.ใบเตย มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
2.ใบมะกรูด ไม่มีกลิ่น มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย
3.ตะไคร้ มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น
จากการทดลองสรุปได้ว่า
สเปรย์ปรับอากาศกลิ่นตะไคร้สามารถดับกลิ่นได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ฉีดสเปรย์
เพราะขณะสกัดสารคลอโรฟิลล์จากมะกรูด มะกรูดใช้ระยะเวลาที่สั้นกว่าสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด
แล้วยังมีกลิ่นที่มีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นกว่าสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
สรุปได้ว่าสารสกัดสมุนไพรจากผิวมะกรูดในปริมาณ 20 กรัม ต่อ 200 ลูกบาศก์เวนติเมตร
กาจัดกลิ่นห้องน้าได้ดีที่สุด
อภิปรายผลจากการวิเคราะห์
จากการทดพบว่าสารสกัดสมุนไพรจากผิวมะกรูดในปริมาณ 20 กรัม
ต่อ 200 ลุกบาศก์เซนติเมตรกาจัดกลิ่นห้องน้าได้และสามารถนาไปใช้ในสถานที่ที่มีกลิ่นอับทาให้อากาศสด
ชื่นกาจัดกลิ่นเหม็นได้ เพราะความเข้มข้นของสารมากจะกาจัดกลิ่นได้มา
ข้อเสนอแนะ
- การทดลองในครั้งนี้เป็นการทดลองเปรียบเทียบ ควรมีการทดลองเปรียบเทียบในอัตราส่วนอื่นๆ
และควรศึกษาสมุนไพรชนิดอื่นๆ ด้วย
- ในการสกัดคลอโรฟิลล์ควรระมัดระวังการใช้แอลกอฮอล์เพราะเป็นสารติดไฟได้ง่าย

More Related Content

What's hot

เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥everadaq
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥โครงงานวิทยาศาสตร์♥
โครงงานวิทยาศาสตร์♥
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 

สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ

  • 1. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ เพื่อทดลองประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นเหม็นอับต่างๆ โดยได้รั บคาปรึกษาจาก อาจารย์จิตสถา เตชะทวีกุล และอาจารย์อาทิตย์ จันทร์ดี ที่ได้ให้คาปรึกษาในการทาโครงงานและการทารูปเล่มโครงงาน คณะผู้จัดทา ขอขอบคุณทุกท่านดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นและที่ไม่ได้กล่าวถึงไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง คณะผู้จัดทา บทคัดย่อ ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมมีกลิ่นเป็นมลพิษต่อระบบหายใจหากเราซื้อน้ายาดับกลิ่นตามท้องตลาดมาใ ช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมมากขึ้น คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม เช่น ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมารที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นใน สถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้าสถานที่ ที่มีกลิ่นอับ จากการศึกษาพบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ อัตราส่วนระหว่างสมุนไพร 20กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัดจากผิวมะกูด
  • 2. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ “เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีเพื่อชี้แนะแนวทาง ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมี พอใช้การรู้จักพอประมาณการคานึงถึงความมีเหตุผล ส่งเสริมความประหยัดในครัวเรือนจากแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การซื้อน้ายาดับกลิ่นห้องน้าตามท้องตลาดมาใช้นั้นจะมีราคาแพงซึ่งส่วนใหญ่จะผลิตจ ากสารเคมีทาให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม คณะผู้จัดทาจึงศึกษาสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่นและเป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมเช่น ใบเตย ผิวมะกูด ใบตะไคร้ มาทดลองสกัดคลอโรฟิลล์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณที่เหมาะสมและชนิดของสมุนไพรที่สามารถกาจัดกลิ่นใ นสถานที่ต่าง ๆเช่น ห้องน้าสถานที่ ที่มีกลิ่นอับ จากการศึกษาพบว่าสารสกัดจากสมุนไพรในปริมาณที่เหมาะสมสามารถกาจัดกลิ่นได้ดีคือ อัตราส่วนระหว่างสมุนไพร 20กรัม ต่อ แอลกอฮอล์ 200 มิลลิลิตร และสมุนไพรที่กาจัดกลิ่นได้ดีที่สุดคือสารสกัดจากผิวมะกูด จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัด ใบเตย ผิวมะกูด และใบตะไคร้หอม ในอัตราส่วนที่แตกต่าง 2. เพื่อสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการกาจัดกลิ่นของสารสกัดจากใบเตย
  • 3. ผิวมะกูดและใบตะไคร้ 3. เพื่อเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น ตัวแปร ตัวแปรต้น สารสกัดจากสมุนไพร ตัวแปรตาม ความสามารถในการกาจัดกลิ่น ตัวแปรควบคุม ปริมาณของสมุนไพร และแอลกอฮอล์ ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาการทาสเปรย์ปรับอากาศสมุนไพร 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในการดับกลิ่นอับ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. การเพิ่มคุณค่าให้กับสมุนไพรในท้องถิ่น 2. การลดมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม 3. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับวิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ผู้ทาโครงงานได้ศึกษาความรู้ในเรื่องต่างๆดังนี้ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.ต้นตะไคร้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus Rendle วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE) ชื่อท้องถิ่น ตะไคร้แดง จะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด ลักษณะพืช พืชล้มลุก อายุหลายปี มีเหง้า ลาต้นตั้งตรง สูง 2 เมตร ออกเป็นกอ ใบเกลี้ยง รูปยาวแคบ กว้าง 5- 20 มม. ยาวได้ถึง 1 เมตร มีกลิ่นหอม ตรงรอยต่อระหว่างใบกับกาบ มีแผ่นรูปไข่ปลายตัดยื่นออกมา ยาวประมาณ 2 มม. มีขนกาบหุ้มติดทน กาบล่างสุดเกยซ้อนกัน เมื่อแห้งจะม้วนขึ้น ดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ยาวได้ถึง 80ซม. มีใบประดับ ลักษณะคล้ายกาบ ยาวประมาณ 25 มม. รองรับอยู่
  • 4. ช่อดอกแยกเป็นหลายแขนง แต่ละแขนงมีช่อย่อย 4-5ช่อ ผลแห้งไม่แตก ตะไคร้หอมมีลักษณะส่วนใหญ่คล้ายกับตะไคร้กอ ต่างกันที่กลิ่น ต้นและใบยาวกว่าตะไคร้กอมาก แผ่นใบกว้างยาวและนิ่มกว่าเล็กน้อย 2.ต้นใบเตย ชื่อวิทยาศาสตร์ pandans tectorins ลักษณะ เป็นไม้กิ่งพุ่ม ก้านใบเดียว มีรางน้า มีสีนวล 3.ต้นมะกูด ชื่อทางพฤกษศาสตร์ : Citrus Hystrix วงศ์ : RUTACEAE ชื่อที่เรียก :ในไทยทั่วไปเรียก มะกูด ภาคใต้เรียก ส้มมั่วผี ทางภาคอีสานเรียก มะหูด ทางภาคกลางเรียก ส้มมะกรูด ลักษณะ :ต้นมะกรูด เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม ใบเขียวหนา มีคอดกิ่วที่กลางใบ เป็นตอนๆ ดอกสีขาว เกสรมีสีเหลือง กลิ่นหอมเล็กน้อย ผลคล้ายผล ส้มซ่า ผิวหนาเป็นร่องขรุขระทั้งลูก มีขั้วจุกสูง ตามต้นและกิ่งมีหนาม ยาวเล็กน้อย น้าในลูกมีรสเปรี้ยว การเจริญเติบโต :ปลูกได้ไม่ต้องเลือกดิน มีปลูกกันตามบ้านเรือกส 4.การปลูก ใช้หน่อหรือเหง้าชอบขึ้นในดินร่วนซุย น้าไม่ขัง ชอบแดดมาก ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบและกาบใบ สรรพคุณ ต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหง เป็น ยาไทย แผลในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทาน ทาให้แท้ง บีบรัดมดลูก ขับลมในลาใส้ แก้แน่น ตะไคร้หอมได้ถูกนามาใช้ไล่แมลง อย่างแพร่หลายนานมาแล้ว โดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7ส่วน ผสมในแอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ใน อัตราส่วน 1:1ทาตรงขอบประตู ที่ปิดเปิดเสมอ หรือชุบสาลีแขวนเอาไว้หน้าประตูเข้าออก หรือใช้ใบตะไคร้หอม มัดแล้วทุบให้ช้าวางใว้ตามมุมห้องหรือใต้เตียง 5.สรรพคุณ รากแก้ปัสสวะแดง ใบแก้ท้องเสีย วนไร่นา 6 .พันธุ์ได้ด้วยการเพาะเมล็ด การตอนกิ่งก็ได้ ประโยชน์ : ใบนามาปรุงกับอาหารดับกลิ่นคาว น้าในผลใช้ในการย้อมผ้า ทาน้า ยาสระผมได้
  • 5. สรรพคุณ : ราก กระทุ้งพิษ ถอดพิษสาแดง แก้ลมจุกเสียด แก้พิษฝีภายใน แก้ เสมหะเป็นโทษ ลูกมะกรูดนามามักดองทาเป็นยาดองเปรี้ยวเค็ม รับประทานเป็นยา ฟอกล้างและบารุงโลหิต ลูกมะกรูดนี้ถ้าเอามาเผาไฟ ก่อนเผาคว้าน เอาไส้ในออก แล้วเอามหาหิงคุ์ใส่ในกลางผล สุมไฟให้เกรียมจนกรอบ บดเป็นผงละเอียด ละลายกับน้าผึ้งป้ายลิ้นเด็กที่คลอดใหม่ขับผายลม ดีนัก แก้ปวดท้อง ผิวของลูกมะกรูด ปรุงเป็นยาลม ขับลมในลาไส้ ขับระดู บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการทดลอง อุปกรณ์และสารเคมี อุปกรณ์ 1. หม้อ 2. กรวย 3. ขวดสเปรย์ 4. ภาชนะตวง วัสดุและสารเคมี 1. ตะไคร้ 30กรัม 2. ใบมะกรูด 30 กรัม 3. ใบเตย 30 กรัม 4. . แอลกอฮอร์ 600 มิลลิลิตร (เจือจาง 70%)
  • 7. ต้มใบเตยกับแอลกอฮอล์ ต้มตะไคร้กับแอลกอฮอล์ ต้มใบมะกรูดกับแอลกอฮอล์ 3. ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วกรองกากสมุนไพรออก จากนั้นสามารถบรรจุลงขวดสเปรย์ได้ทันที
  • 8. บทที่ 4 ผลการทดลอง จากการทดลองเรื่อง สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศทาให้คณะผู้จัดทาได้สารวจประสิทธิภาพของสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศ จากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพจะเห็นได้ดังนี้ ชนิดของสมุนไพร ผลการทดลอง ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 1.ใบเตย มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น 2.ใบมะกรูด ไม่มีกลิ่น มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย 3.ตะไคร้ มีกลิ่นเล็กน้อย มีกลิ่นเล็กน้อย ไม่มีกลิ่น จากการทดลองสรุปได้ว่า สเปรย์ปรับอากาศกลิ่นตะไคร้สามารถดับกลิ่นได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ฉีดสเปรย์ เพราะขณะสกัดสารคลอโรฟิลล์จากมะกรูด มะกรูดใช้ระยะเวลาที่สั้นกว่าสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด แล้วยังมีกลิ่นที่มีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นกว่าสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง สรุปได้ว่าสารสกัดสมุนไพรจากผิวมะกรูดในปริมาณ 20 กรัม ต่อ 200 ลูกบาศก์เวนติเมตร กาจัดกลิ่นห้องน้าได้ดีที่สุด อภิปรายผลจากการวิเคราะห์ จากการทดพบว่าสารสกัดสมุนไพรจากผิวมะกรูดในปริมาณ 20 กรัม ต่อ 200 ลุกบาศก์เซนติเมตรกาจัดกลิ่นห้องน้าได้และสามารถนาไปใช้ในสถานที่ที่มีกลิ่นอับทาให้อากาศสด ชื่นกาจัดกลิ่นเหม็นได้ เพราะความเข้มข้นของสารมากจะกาจัดกลิ่นได้มา