SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
โครงงาน มะพร้าวไทย เสนอ อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา จัดทำโดย นางสาว สกุลตรา โทมา เลขที่ 32 ชั้นม้ธยมศึกษาปี่ที่ 6/1
1 . เพื่อให้ได้ต้นมะพร้าวที่มีลักษณะดีตามที่ต้องการ จำเป็นจะต้องคัดเลือกที่จะนำไปเพาะ และเมื่อเพาะงอกเป็นหน่อแล้ว ก็จะต้องคัดเลือกหน่อพันธุ์ด้วย โดยมีขั้นตอนการคัดเลือกดังนี้ สวนพันธุ์ ต้นพันธุ์ ผลพันธุ์ หน่อพันธุ์  ________________________________________ 2 . การเลือกสวนพันธุ์ เป็นสวนที่ปลูกมะพร้าวพันธุ์เดียวกัน ขนาดสวนไม่น้อยกว่า  10   ไร่ อยู่ในแหล่งที่มีการปลูกมะพร้าวเป็นอาชีพ ต้นมะพร้าวมีขนาดอายุไล่เลี่ยกัน และควรจะมีอายุไม่ต่ำกว่า  15   ปี เป็นสวนที่มีการดูแลปานกลาง และมีต้นที่มีผลดกอยู่เป็นส่วนมาก ไม่มีโรคหรือแมลงระบาด ในกรณีที่อยู่ไกลแหล่งปลูกมะพร้าวเป็นอาชีพ ไม่มีสวนขนาดใหญ่อาจคัดเลือกเพียงบาง หลักการเท่าที่จะทำได้ หรือคัดเลือกเป็นต้น ๆ ก็ได้ ________________________________________ ขั้นตอนการปลูกมะพร้าว
3 . การเลือกต้นพันธุ์ ควรเป็นต้นที่อยู่ในบริเวณกลาง ๆ สวน ให้ผลดกไม่น้อยกว่า  60   ผล / ต้น / ปี ควรมีการจดบันทึกการให้ผลของต้นที่คิดว่าจะใช้เป็นต้นพันธุ์ก่อนสัก  3-4   ปี เพื่อให้แน่ใจว่า ให้ผลดกจริง โดยทาสีไว้ที่ต้นเป็นที่สังเกตหรืออาจทำเครื่องหมายอย่างอื่นก็ได้ เป็นต้นที่ไม่อยู่ใกล้บ้าน คอกสัตว์หรือในที่ทีดีกว่าต้นอื่น ลำต้นตรง แข็งแรง อวบ ปล้องถี่ พุ่มใบเป็นรูปวงกลม หรือครึ่งวงกลม มีจำนวนทาง  ( ใบ )  มาก โคนทางสั้นและใหญ่ มีจั่นอย่างน้อย  10   จั่น กระจายอยู่รอบต้น และทุกจั่นมีผลขนาดต่าง ๆ กันติดอยู่ ทะลายควรนั่งทางก้านทะลายสั้นและใหญ่ เป็นต้นที่มีอายุไม่น้อยกว่า  15   ปี ให้ผลมีลักษณะกลมขนาดใหญ่ เส้นรอบของกะลาไม่ต่ำกว่า  45   ซม .  เนื้อหนา เปลือกไม่หนาหรือบางเกินไป 4 . การเลือกผลพันธุ์ ผลมะพร้าวแม้จะเก็บจากต้นแม่พันธุ์ที่ได้รับการคัดเลือกแล้วก็ตาม อาจมีบางผลที่มีลักษณะ ไม่เหมาะจะนำไปเพาะทำพันธุ์ เช่น ผลแตกระหว่างเก็บเกี่ยว มีโรคแมลงทำลาย จึงควรคัดเลือกผลก่อนนำไปเพาะ ซึ่งมีลักษณะการพิจารณาดังนี้ เป็นผลที่ได้รับความกระทบกระเทือนน้อย จึงควรเก็บโดยใช้เชือกโยงลงมา หรือโยนลงน้ำ ผลโตได้ขนาด รูปผลค่อนข้างกลม หรือมีลักษณะตรงตามพันธุ์ ผลแก่จัด เปลือกมีสีก้ามปู หรือสีน้ำตาล มีลักษณะคลอนน้ำ ไม่มีโรคแมลงทำลาย
5 . การเตรียมผลพันธุ์ก่อนเพาะ ปาดเปลือกทางด้านหัวออกขนาดประมาณเท่าผลส้มเขียวหวานเพื่อให้น้ำซึมเข้าได้สะดวกใน ระหว่างเพาะ และช่วยให้หน่องอกแทงออกมาได้ง่าย ถ้าเป็นผลที่ยังไม่แก่จัด เปลือกมีสีเขียวปนเหลือง ให้นำไปผึ่งไว้ในที่ร่มโดยวางเรียงให้ รอยปาดอยู่ด้านบน ผึ่งไว้ประมาณ  15-30   วัน จนเปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เตรียมผลพันธุ์ไว้ประมาณ  2   เท่าของจำนวนหน่อที่ต้องการเพราะในขณะเพาะจะมีพันธุ์ที่ไม่ งอกและเมื่องอกแล้วก็ต้องคัดหน่อที่ไม่แข็งแรงออก ________________________________________ 6 . การเตรียมแปลงเพาะ แปลงเพาะควรอยู่กลางแจ้ง ใกล้แหล่งน้ำ และมีการระบายน้ำดี ไม่เป็นแหล่งที่เคยมีโรคและแมลงระบาดมาก่อน พื้นแปลงควรเป็นทรายหยาบ เพื่อสะดวกในการเพาะและย้ายกล้า ปราบวัชพืชออกให้หมด ถ้าพื้นดินเป็นดินแข็งควรไถดินลึก  15-20   ซม . ถ้าแปลงกว้างมาก ควรแบ่งเป็นแปลงย่อย ขนาดกว้างประมาณ  2.50   เมตร ยาวตามความต้องการ เว้นทางเดินระหว่างแปลง  50   ซม . ในแต่ละแปลงย่อยขุดเป็นร่องลึกประมาณ  10   ซม .  กว้างเท่าขนาดของผลมะพร้าว ยาวตลอด พื้นที่ แต่ละแปลงจะเพาะมะพร้าวได้  10   แถว ________________________________________
7 . วิธีการเพาะ วางผลมะพร้าวตามแนวนอนลงในร่องที่เตรียมไว้ หันด้านที่ปาดขึ้นข้างบนเรียงไปตามทิศ ทางเดียวกัน ให้แต่ละผลติดกันหรือห่างกันไม่เกิน  5   ซม . กลบทรายหรือดินให้ส่วนของผลมะพร้าวโผล่พ้นผิวดินประมาณ  1/3   ของผล ถ้าฝนไม่ตก รดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ โดยสังเกตจากความชื้นตรงบริเวณรอยปาด คอยดูแลกำจัดวัชพืช โรค - แมลงต่าง ๆ หลังจากเพาะแล้วประมาณ  2-3   สัปดาห์หน่อจะเริ่มงอก ในระยะแรก ๆ จะงอกน้อย เมื่อเลย  4   สัปดาห์ไปแล้วหน่อจะงอกมากขึ้น มะพร้าวที่ไม่งอกภายใน  10   สัปดาห์ หรือ  70   วัน ควรคัดทิ้ง หรือนำไปทำมะพร้าวแห้ง เพราะถ้าปล่อยทิ้งไว้ให้งอกก็จะได้หน่อที่ไม่ดี ตามปกติมะพร้าวจะ งอกประมาณร้อยละ  60   ภายใน  10   สัปดาห์ เมื่อหน่อยาวประมาณ  1-3   นิ้ว ควรย้ายลงแปลงชำ ในการค้าจะไม่ย้ายลงแปลงชำทีละน้อย แต่จะรอย้ายพร้อมกันในคราวเดียว ในกรณีที่ทำการเพาะมะพร้าวเป็นจำนวนไม่มากนักอาจทำการเพาะโดยไม่ต้องนำลงแปลงชำ ก็ได้ แต่ในการเพาะจะต้องขยายระยะให้กว้างขึ้น โดยวางผลห่างกันประมาณ  45-50   ซม .  เพื่อให้หน่อเจริญได้ดี จะได้หน่อที่อ้วนและแข็งแรง เมื่อหน่อมีใบประมาณ  4-6   ใบ ก็คัดไป ปลูกได้ ________________________________________
8 . วิธีการชำ เตรียมแปลงชำเช่นเดียวกับแปลงเพาะ แปลงชำควรอยู่ใหล้กับแปลงเพาะ เพื่อสะดวกในการขนย้ายหน่อ ถ้าดินไม่ดีให้ใส่ปุ๋ยคอกไร่ละ  24   ปี๊บ  ( 240   กก .)  หว่านให้ทั่วแปลงแล้วไถกลบ ขุดหลุมขนาดเท่าผลมะพร้าว ระยะระหว่างหลุม  60   ซม .  อาจวางผังการทำแบบสามเหลี่ยมด้านเท่า หรือแบบสี่เหลี่ยมจตุรัสก็ได้ ย้ายหน่อมะพร้าวจากแปลงเพาะลงชำในหลุมให้หน่อตั้งตรง กลบดินหนาประมาณ  2/3 ของผล เพื่อไม่ให้ดินทับส่วนคอของหน่อพันธุ์ ใช้ทางมะพร้าวหรือหญ้าแห้งคลุมแปลง  ( อาจใช้วัสดุอื่นก็ได้ )  เพื่อรักษาความชุมชื้น ถ้าฝนไม่ตก รดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ ป้องกันกำจัดวัชพืช โรค - แมลง เมื่อมะพร้าวมีอายุระหว่าง  6-8   เดือน (  อยู่ในแปลงชำ  4-6   เดือน )  หรือมีใบประมาณ  4-6   ใบ  ( ทาง )  ก็คัดเลือกหน่อที่สมบูรณ์ไปปลูกได้ ________________________________________ 9 . ลักษญะหน่อพันธุ์ที่ดี หน่อมีอายุ  6-8   เดือน หรือมีใบ  4-6   ใบ หน่อมีลักษณะอวบ โคนหน่อโต ใบกว้างสีเขียวเข้ม ก้านทางสั้นใหญ่ ไม่มีโรคและแมลงทำลาย
ประโยชน์ทางยา ส่วนที่ใช้เป็นยา คือเปลือกต้น เนื้อ น้ำมะพร้าว น้ำมัน กะลา ดอก ราก กาบสรรพคุณในตำรายาไทย เปลือกต้นสด แก้เจ็บปวดฟัน และใช้ทาแก้หิด เนื้อมะพร้าว รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง ขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไข้ กระหายน้ำ  น้ำมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาระบาย แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ แก้พิษ แก้กระหายน้ำ แก้นิ่ว แก้อาเจียนเป็นโลหิตและบวมน้ำ นอกจากนี้ยังทำเป็นน้ำส้มสายชูใช้ประโยชน์อื่น ๆ อีกมาก น้ำมันมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง หรือทาเป็นยาแก้กลากเกลื้อน บำรุงหัวใจ แก้โรคผิวหนังต่างๆ ทาแผลน้ำร้อนลวก ทาผิวหนังแตกแห้ง และใช้ทาผม  กะลา เป็นยาแก้ท้องเสีย แก้ปวดกระดูกและเอ็น  ดอก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้เจ็บปากเจ็บคอ แก้ท้องเสีย แก้ไข้ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ กล่อมเสมหะ บำรุงโลหิต แก้ปากเปื่อย  ราก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ หรืออมบ้วนปากแก้เจ็บคอ  ขนาดและวิธีใช้ ้แก้ปวดฟัน ใช้เปลือกต้นสด เผาไหม้ให้เป็นเถ้า นำมาสีฟัน  แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ใช้กะลามะพร้าวสะอาดเผาไฟจนแดงเอาคีมคีบเก็บไว้ในปีบสะอาด และปิดฝาจะได้ถ่านกะลาสีดำ เอามาบดเป็นผงรับประทาฯ ใช้คราวละ  1-2  ช้อนโต๊ะ  รักษาแผลเป็น เอามะพร้าวก้นกะลาขูดออกมาแล้วบีบเอาน้ำมันได้เท่าไร เอาไปเคี่ยวจนสุกแล้วทิ้งไว้ให้เย็น เอายอกมะลิ กลั้นใจเด็ด  7  ยอด โขลกให้ละเอียด ผสมน้ำมันมะพร้าวที่เคี่ยวแล้ว ทาทุกวันแผลเป็นจะหาย  สรรพคุณทางยาของมะพร้าว
มะพร้าวเป็นพืชที่มีความผูกพันกับ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของคนไทยมาช้านาน คุณสมบัติที่ดีของมะพร้าว คือ ส่วนต่างๆ ของมะพร้าวสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ หลากหลาย ตั้งแต่ ลำต้น ใบ ก้าน ผล กะลา รากมะพร้าว กาบมะพร้าว รากมะพร้าวประเภทของรูปแบบผลิตภัณฑ์มะพร้าว เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม มีมากมายหลายชนิด ขึ้นอยู่กับวัสดุที่มาจากส่วนต่างๆ ของมะพร้าว เช่น ก้านมะพร้าว หรือแกนใบ นำมาผลิตงานหัตถกรรมได้หลายอย่าง เช่น ไม้กวาด เสวียนหม้อ หรือก้นหม้อ ที่รองจาน เครื่องประดับข้างฝา โป๊ะไฟฟ้า พัด ที่หุ้มภาชนะปักดอกไม้ กระเป๋าถือสตรี กระจาดใส่ผลไม้ เป็นต้น   กาบมะพร้าวหรือเปลือกมะพร้าว มีคุณสมบัติแข็งแรง คงทนต่อน้ำและน้ำทะเล มีความยืดหยุ่น และสปริงดี นำมาทำเชือก ทำพรม กระสอบ แปรงชนิดต่างๆ อวน ไม้กวาด เส้นใบสั้นใช้อัดไส้ของที่นอน เบาะรถยนต์ เป็นต้น  ใบมะพร้าว ใช้สานเป็นภาชนะใส่ของชั่วคราว ห่อขนม สานหมวกกันแดด สานเป็นเครื่องเล่นเด็ก และผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกรูปสัตว์ต่างๆ ของที่ระลึกประดับตกแต่ง  รากมะพร้าว เป็นเส้นยาว เหนียวมาก ใช้สานเป็นผลิตภัณฑ์ใช้สอย จำพวกตะกร้า ถาด ภาชนะสำหรับดอกไม้หรือใส่ของต่างๆ ประดิษฐ์เป็นหัตถกรรมของที่ระลึก  รกมะพร้าว หรือเยื่อหุ้มคอมะพร้าว ลักษณะเป็นแผ่นใยหยาบบางๆ ยืดหยุ่นได้ แต่แยกขาดง่าย ใช้ผลิตหัตถกรรมประเภท กระเป๋า หมวก รองเท้าแตะ กล่องใส่ของ ดอกไม้ประดิษฐ์ เป็นต้น  กะลามะพร้าว มะพร้าวแก่จะมีความคงทนมาก ไม่หดตัวแม้ถูกน้ำ ถูกแดด แต่จะเปราะง่าย หักง่าย หากกระทบกับสิ่งที่แข็งๆ ใช้ทำผลิตภัณฑ์ ภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องดนตรี ที่วางแก้วน้ำ กระบวยตักน้ำ ที่เขี่ยบุหรี่ เป็นต้น  งานฝีมือจากมะพร้าว
1.   การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากเนื้อมะพร้าว                ผลิตภัณฑ์อาหารจากมะพร้าวส่วนใหญ่ได้จากเนื้อมะพร้าวซึ่งมีอยู่   29-30  เปอร์เซนต์ ต่อน้ำหนักผล และจากน้ำมันมะพร้าวซึ่งมีอยู่  21-26  เปอร์เซนต์ ต่อน้ำหนักผล ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ กะทิ กะทิเข้มข้น กะทิผง น้ำมันมะพร้าว แป้งมะพร้าว ส่วนผลิตภัณฑ์จากน้ำมะพร้าว ได้แก่ น้ำส้มสายชู น้ำ - มะพร้าวอ่อน น้ำตาลมะพร้าว ฯลฯ       1.1   อุตสาหกรรมเนื้อมะพร้าว นอกจากเราใช้มะพร้าวสดและแห้งในการประกอบอาหารในชีวิตประจำวันแล้ว มะพร้าวยังเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในภาคอุตสาหกรรมอีกด้วย การแปรรูปผลผลิตมะพร้าวในทางอุตสาหกรรมอาจแบ่งได้เป็น  4  กลุ่มใหญ่คือ     1.1.1   อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง โดยนำเนื้อมะพร้าวมาตากแดดหรือย่างไฟแบบรมควัน อาจทำในรูปของอุตสาหกรรมในครอบครัว การทำมะพร้าวแห้งส่วนใหญ่จะทำเมื่อราคาของมะพร้าวตกต่ำ ซึ่งราคาของมะพร้าวก็ขึ้นอยู่กับผลผลิตตามฤดูกาลคือในช่วงระหว่างกรกฎาคม - ตุลาคมของทุกปี ผลผลิตมะพร้าวเข้าสู่ตลาดมาก ราคาจะตกต่ำ   1.1.2   อุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรที่รับช่วงการผลิตมาจากอุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง มีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น อุตสาหกรรมทำนม ทำสบู่ เนยเทียม เป็นต้น สาเหตุที่น้ำมันมะพร้าวเป็นที่ยอมรับของทั่วไปเพราะมีกลิ่นและรสเฉพาะตัว ซึ่งเป็นที่ยอมรับของตลาด และปริมาณหาได้ค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดทั้งปี        ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะพร้าว
   1.1.3   อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำน้ำกะทิมะพร้าวมาระเหย เอาน้ำออกบางส่วน แล้วนำไปบรรจุในภาชนะปลอดอากาศ ทำให้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน และสะดวกต่อการใช้เพราะเมื่อนำกะทิดังกล่าวมาผสมเข้ากับน้ำก็จะคืนรูปเป็นกะทิธรรมดา การทำกะทิเข้มข้นทำอยู่ในวงจำกัด ปัจจุบันมีโรงงานด้านนี้  2  โรง เนื่องจากในประเทศเรายังพอหามะพร้าวสดคั้นกะทิได้ง่าย แต่อาจจะจำเป็นสำหรับต่างประเทศ                                          1.1.4   อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง     วิธีการคือนำเนื้อในมะพร้าวมาขุดลักษณะเดี่ยวกับเนื้อมะพร้าวสดขูดที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป หลังจากนั้นนำไปผ่านกรรมวิธีอบแห้งด้วยความร้อนประมาณ  60  องศาเซลเซียส เป็นเวลา  35  นาที จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นผงขาวนวล แต่ยังคงสภาพกลิ่น รส ของมะพร้าวแห้งทุกประการ
2.  ผลิตภัณฑ์เพื่ออุตสาหกรรมอุปโภค                2.1   อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยมะพร้าว เฉลี่ยแล้วกาบมะพร้าว  13  ผล สามารถผลิตเส้นใยมะพร้าวแห้งได้  1  กิโลกรัม เส้นใยเหล่านี้ผ่านเครื่องตี แยกขุยมะพร้าวออกและตากแห้งแล้วถูกส่งออกจำหน่ายในรูปของเส้นใยอัด หรือควั่นเกลียว อุตสาหกรรมที่ใช้เส้นใยมะพร้าวมากได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตที่นอน เบาะรถยนต์ เบาะนั่งโซฟา พรมเช็ดเท้า แผ่นฉนวนป้องกันความร้อน เชือก ฯลฯ   2.2   อุตสาหกรรมแท่งเพาะชำ นำเอาฟองใยมะพร้าวมาเป็นเศษวัสดุเหลือใช้จากโรงงานเส้นใยโดยนำมาอัดเป็นแท่ง และผ่านกรรมวิธีอบแห้ง แล้วบรรจุกล่องส่งขายได้ ส่วนที่เหลือจากการอบแห้งก็นำมาบ่น และบรรจุถุงขายเป็นดินผสมเพื่อใช้ปลูกไม้กระถาง  ใช้ในรูปของอุตสาหกรรมหรือส่งออกต่อไป ซึ่งสามารถแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมมะพร้าวใหญ่ ๆ ได้  2  กลุ่ม คือ                   1.  ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อการบริโภค เช่น อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้งอุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง อุตสาหกรรมน้ำตาลมะพร้าว                   2.    ผลิตภัณฑ์เพื่ออุตสาหกรรมและอุปโภค เช่น อุตสาหกรรมเส้นใยมะพร้าว อุตสาหกรรมแท่งเพาะชำ อุตสาหกรรมเผาถ่านจากกะลามะพร้าว อุตสาหกรรมแปรรูปมะพร้าว  การเพิ่มรายได้สวนมะพร้าว             เนื่องจากมะพร้าวจะเริ่มให้ผลหลังจากปลูกประมาณ  5-6  ปี ดังนั้นในขณะที่ต้นยังเล็กอยู่ จึงควรปลูกพืชแซมระหว่างแถวมะพร้าว เป็นประเภทพืชที่มีอายุสั้น อาจเป็นพืชไร่ เช่น สับปะรด ถั่วต่าง ๆ หรือพืชผัก เช่น ฟักทอง แตงกวา แตงโม ข้าวโพดหวาน ฯลฯ เมื่อมะพร้าวโตขึ้น มีอายุได้  4-5  ปี จะมีทรงพุ่มใหญ่ บังแสงแดดจึงไม่ควรปลูกพืชแซม เพราะจะได้ผลไม่คุ้มค่า และทำให้ต้นมะพร้าวโตช้า แต่เมื่อมะพร้าวมีอายุได้  12-15  ปี ทาง ( ใบ )  จะเริ่มสั้นลง เปิดให้แสงแดดส่องถึงพื้นดินได้มากขึ้น จึงควรปลูกพืชยืนต้นที่เจริญเติบโตได้ดี ในที่ที่มีร่มเงาแซมลงในสวนมะพร้าว เช่น กาแฟ โกโก้ พริกไท ดีปลี ฯลฯ ในสวนมะพร้าวที่ให้ผลแล้ว นอกจากจะจะเพิ่มรายได้โดยการปลูกพืชแซมแล้ว ยังอาจเลี้ยงผึ้งหรือเลี้ยงวัวในสวนมะพร้าวได้ ซึ่งเป็นวิธีการเพิ่มผลผลิตของมะพร้าวอีกทางหนึ่งด้วย
www.foodindustrythailand.com http://www.amphawa.go.th www . angelfire . com www . ryt9 . com www . foodindustrythailand . com แหล่งข้อมูล

More Related Content

What's hot

การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบnam34348skw
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบnam34348skw
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์dechathon
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)Jadsada Surintun
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารDuangsuwun Lasadang
 

What's hot (18)

การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบ
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบ
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Rubber
RubberRubber
Rubber
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
ข้อสอบ O net 56- การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 

Similar to มะพร้าวไทย

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1nangna
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 

Similar to มะพร้าวไทย (20)

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1
 
natchuda
natchudanatchuda
natchuda
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
Banana
BananaBanana
Banana
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
File
FileFile
File
 
Com9 16
Com9 16Com9 16
Com9 16
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 

มะพร้าวไทย

  • 1. โครงงาน มะพร้าวไทย เสนอ อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา จัดทำโดย นางสาว สกุลตรา โทมา เลขที่ 32 ชั้นม้ธยมศึกษาปี่ที่ 6/1
  • 2. 1 . เพื่อให้ได้ต้นมะพร้าวที่มีลักษณะดีตามที่ต้องการ จำเป็นจะต้องคัดเลือกที่จะนำไปเพาะ และเมื่อเพาะงอกเป็นหน่อแล้ว ก็จะต้องคัดเลือกหน่อพันธุ์ด้วย โดยมีขั้นตอนการคัดเลือกดังนี้ สวนพันธุ์ ต้นพันธุ์ ผลพันธุ์ หน่อพันธุ์ ________________________________________ 2 . การเลือกสวนพันธุ์ เป็นสวนที่ปลูกมะพร้าวพันธุ์เดียวกัน ขนาดสวนไม่น้อยกว่า 10 ไร่ อยู่ในแหล่งที่มีการปลูกมะพร้าวเป็นอาชีพ ต้นมะพร้าวมีขนาดอายุไล่เลี่ยกัน และควรจะมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี เป็นสวนที่มีการดูแลปานกลาง และมีต้นที่มีผลดกอยู่เป็นส่วนมาก ไม่มีโรคหรือแมลงระบาด ในกรณีที่อยู่ไกลแหล่งปลูกมะพร้าวเป็นอาชีพ ไม่มีสวนขนาดใหญ่อาจคัดเลือกเพียงบาง หลักการเท่าที่จะทำได้ หรือคัดเลือกเป็นต้น ๆ ก็ได้ ________________________________________ ขั้นตอนการปลูกมะพร้าว
  • 3. 3 . การเลือกต้นพันธุ์ ควรเป็นต้นที่อยู่ในบริเวณกลาง ๆ สวน ให้ผลดกไม่น้อยกว่า 60 ผล / ต้น / ปี ควรมีการจดบันทึกการให้ผลของต้นที่คิดว่าจะใช้เป็นต้นพันธุ์ก่อนสัก 3-4 ปี เพื่อให้แน่ใจว่า ให้ผลดกจริง โดยทาสีไว้ที่ต้นเป็นที่สังเกตหรืออาจทำเครื่องหมายอย่างอื่นก็ได้ เป็นต้นที่ไม่อยู่ใกล้บ้าน คอกสัตว์หรือในที่ทีดีกว่าต้นอื่น ลำต้นตรง แข็งแรง อวบ ปล้องถี่ พุ่มใบเป็นรูปวงกลม หรือครึ่งวงกลม มีจำนวนทาง ( ใบ ) มาก โคนทางสั้นและใหญ่ มีจั่นอย่างน้อย 10 จั่น กระจายอยู่รอบต้น และทุกจั่นมีผลขนาดต่าง ๆ กันติดอยู่ ทะลายควรนั่งทางก้านทะลายสั้นและใหญ่ เป็นต้นที่มีอายุไม่น้อยกว่า 15 ปี ให้ผลมีลักษณะกลมขนาดใหญ่ เส้นรอบของกะลาไม่ต่ำกว่า 45 ซม . เนื้อหนา เปลือกไม่หนาหรือบางเกินไป 4 . การเลือกผลพันธุ์ ผลมะพร้าวแม้จะเก็บจากต้นแม่พันธุ์ที่ได้รับการคัดเลือกแล้วก็ตาม อาจมีบางผลที่มีลักษณะ ไม่เหมาะจะนำไปเพาะทำพันธุ์ เช่น ผลแตกระหว่างเก็บเกี่ยว มีโรคแมลงทำลาย จึงควรคัดเลือกผลก่อนนำไปเพาะ ซึ่งมีลักษณะการพิจารณาดังนี้ เป็นผลที่ได้รับความกระทบกระเทือนน้อย จึงควรเก็บโดยใช้เชือกโยงลงมา หรือโยนลงน้ำ ผลโตได้ขนาด รูปผลค่อนข้างกลม หรือมีลักษณะตรงตามพันธุ์ ผลแก่จัด เปลือกมีสีก้ามปู หรือสีน้ำตาล มีลักษณะคลอนน้ำ ไม่มีโรคแมลงทำลาย
  • 4. 5 . การเตรียมผลพันธุ์ก่อนเพาะ ปาดเปลือกทางด้านหัวออกขนาดประมาณเท่าผลส้มเขียวหวานเพื่อให้น้ำซึมเข้าได้สะดวกใน ระหว่างเพาะ และช่วยให้หน่องอกแทงออกมาได้ง่าย ถ้าเป็นผลที่ยังไม่แก่จัด เปลือกมีสีเขียวปนเหลือง ให้นำไปผึ่งไว้ในที่ร่มโดยวางเรียงให้ รอยปาดอยู่ด้านบน ผึ่งไว้ประมาณ 15-30 วัน จนเปลือกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เตรียมผลพันธุ์ไว้ประมาณ 2 เท่าของจำนวนหน่อที่ต้องการเพราะในขณะเพาะจะมีพันธุ์ที่ไม่ งอกและเมื่องอกแล้วก็ต้องคัดหน่อที่ไม่แข็งแรงออก ________________________________________ 6 . การเตรียมแปลงเพาะ แปลงเพาะควรอยู่กลางแจ้ง ใกล้แหล่งน้ำ และมีการระบายน้ำดี ไม่เป็นแหล่งที่เคยมีโรคและแมลงระบาดมาก่อน พื้นแปลงควรเป็นทรายหยาบ เพื่อสะดวกในการเพาะและย้ายกล้า ปราบวัชพืชออกให้หมด ถ้าพื้นดินเป็นดินแข็งควรไถดินลึก 15-20 ซม . ถ้าแปลงกว้างมาก ควรแบ่งเป็นแปลงย่อย ขนาดกว้างประมาณ 2.50 เมตร ยาวตามความต้องการ เว้นทางเดินระหว่างแปลง 50 ซม . ในแต่ละแปลงย่อยขุดเป็นร่องลึกประมาณ 10 ซม . กว้างเท่าขนาดของผลมะพร้าว ยาวตลอด พื้นที่ แต่ละแปลงจะเพาะมะพร้าวได้ 10 แถว ________________________________________
  • 5. 7 . วิธีการเพาะ วางผลมะพร้าวตามแนวนอนลงในร่องที่เตรียมไว้ หันด้านที่ปาดขึ้นข้างบนเรียงไปตามทิศ ทางเดียวกัน ให้แต่ละผลติดกันหรือห่างกันไม่เกิน 5 ซม . กลบทรายหรือดินให้ส่วนของผลมะพร้าวโผล่พ้นผิวดินประมาณ 1/3 ของผล ถ้าฝนไม่ตก รดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ โดยสังเกตจากความชื้นตรงบริเวณรอยปาด คอยดูแลกำจัดวัชพืช โรค - แมลงต่าง ๆ หลังจากเพาะแล้วประมาณ 2-3 สัปดาห์หน่อจะเริ่มงอก ในระยะแรก ๆ จะงอกน้อย เมื่อเลย 4 สัปดาห์ไปแล้วหน่อจะงอกมากขึ้น มะพร้าวที่ไม่งอกภายใน 10 สัปดาห์ หรือ 70 วัน ควรคัดทิ้ง หรือนำไปทำมะพร้าวแห้ง เพราะถ้าปล่อยทิ้งไว้ให้งอกก็จะได้หน่อที่ไม่ดี ตามปกติมะพร้าวจะ งอกประมาณร้อยละ 60 ภายใน 10 สัปดาห์ เมื่อหน่อยาวประมาณ 1-3 นิ้ว ควรย้ายลงแปลงชำ ในการค้าจะไม่ย้ายลงแปลงชำทีละน้อย แต่จะรอย้ายพร้อมกันในคราวเดียว ในกรณีที่ทำการเพาะมะพร้าวเป็นจำนวนไม่มากนักอาจทำการเพาะโดยไม่ต้องนำลงแปลงชำ ก็ได้ แต่ในการเพาะจะต้องขยายระยะให้กว้างขึ้น โดยวางผลห่างกันประมาณ 45-50 ซม . เพื่อให้หน่อเจริญได้ดี จะได้หน่อที่อ้วนและแข็งแรง เมื่อหน่อมีใบประมาณ 4-6 ใบ ก็คัดไป ปลูกได้ ________________________________________
  • 6. 8 . วิธีการชำ เตรียมแปลงชำเช่นเดียวกับแปลงเพาะ แปลงชำควรอยู่ใหล้กับแปลงเพาะ เพื่อสะดวกในการขนย้ายหน่อ ถ้าดินไม่ดีให้ใส่ปุ๋ยคอกไร่ละ 24 ปี๊บ ( 240 กก .) หว่านให้ทั่วแปลงแล้วไถกลบ ขุดหลุมขนาดเท่าผลมะพร้าว ระยะระหว่างหลุม 60 ซม . อาจวางผังการทำแบบสามเหลี่ยมด้านเท่า หรือแบบสี่เหลี่ยมจตุรัสก็ได้ ย้ายหน่อมะพร้าวจากแปลงเพาะลงชำในหลุมให้หน่อตั้งตรง กลบดินหนาประมาณ 2/3 ของผล เพื่อไม่ให้ดินทับส่วนคอของหน่อพันธุ์ ใช้ทางมะพร้าวหรือหญ้าแห้งคลุมแปลง ( อาจใช้วัสดุอื่นก็ได้ ) เพื่อรักษาความชุมชื้น ถ้าฝนไม่ตก รดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ ป้องกันกำจัดวัชพืช โรค - แมลง เมื่อมะพร้าวมีอายุระหว่าง 6-8 เดือน ( อยู่ในแปลงชำ 4-6 เดือน ) หรือมีใบประมาณ 4-6 ใบ ( ทาง ) ก็คัดเลือกหน่อที่สมบูรณ์ไปปลูกได้ ________________________________________ 9 . ลักษญะหน่อพันธุ์ที่ดี หน่อมีอายุ 6-8 เดือน หรือมีใบ 4-6 ใบ หน่อมีลักษณะอวบ โคนหน่อโต ใบกว้างสีเขียวเข้ม ก้านทางสั้นใหญ่ ไม่มีโรคและแมลงทำลาย
  • 7. ประโยชน์ทางยา ส่วนที่ใช้เป็นยา คือเปลือกต้น เนื้อ น้ำมะพร้าว น้ำมัน กะลา ดอก ราก กาบสรรพคุณในตำรายาไทย เปลือกต้นสด แก้เจ็บปวดฟัน และใช้ทาแก้หิด เนื้อมะพร้าว รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง ขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไข้ กระหายน้ำ น้ำมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาระบาย แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ แก้พิษ แก้กระหายน้ำ แก้นิ่ว แก้อาเจียนเป็นโลหิตและบวมน้ำ นอกจากนี้ยังทำเป็นน้ำส้มสายชูใช้ประโยชน์อื่น ๆ อีกมาก น้ำมันมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง หรือทาเป็นยาแก้กลากเกลื้อน บำรุงหัวใจ แก้โรคผิวหนังต่างๆ ทาแผลน้ำร้อนลวก ทาผิวหนังแตกแห้ง และใช้ทาผม กะลา เป็นยาแก้ท้องเสีย แก้ปวดกระดูกและเอ็น ดอก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้เจ็บปากเจ็บคอ แก้ท้องเสีย แก้ไข้ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ กล่อมเสมหะ บำรุงโลหิต แก้ปากเปื่อย ราก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ หรืออมบ้วนปากแก้เจ็บคอ ขนาดและวิธีใช้ ้แก้ปวดฟัน ใช้เปลือกต้นสด เผาไหม้ให้เป็นเถ้า นำมาสีฟัน แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ใช้กะลามะพร้าวสะอาดเผาไฟจนแดงเอาคีมคีบเก็บไว้ในปีบสะอาด และปิดฝาจะได้ถ่านกะลาสีดำ เอามาบดเป็นผงรับประทาฯ ใช้คราวละ 1-2 ช้อนโต๊ะ รักษาแผลเป็น เอามะพร้าวก้นกะลาขูดออกมาแล้วบีบเอาน้ำมันได้เท่าไร เอาไปเคี่ยวจนสุกแล้วทิ้งไว้ให้เย็น เอายอกมะลิ กลั้นใจเด็ด 7 ยอด โขลกให้ละเอียด ผสมน้ำมันมะพร้าวที่เคี่ยวแล้ว ทาทุกวันแผลเป็นจะหาย สรรพคุณทางยาของมะพร้าว
  • 8. มะพร้าวเป็นพืชที่มีความผูกพันกับ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของคนไทยมาช้านาน คุณสมบัติที่ดีของมะพร้าว คือ ส่วนต่างๆ ของมะพร้าวสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และสามารถนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ หลากหลาย ตั้งแต่ ลำต้น ใบ ก้าน ผล กะลา รากมะพร้าว กาบมะพร้าว รากมะพร้าวประเภทของรูปแบบผลิตภัณฑ์มะพร้าว เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม มีมากมายหลายชนิด ขึ้นอยู่กับวัสดุที่มาจากส่วนต่างๆ ของมะพร้าว เช่น ก้านมะพร้าว หรือแกนใบ นำมาผลิตงานหัตถกรรมได้หลายอย่าง เช่น ไม้กวาด เสวียนหม้อ หรือก้นหม้อ ที่รองจาน เครื่องประดับข้างฝา โป๊ะไฟฟ้า พัด ที่หุ้มภาชนะปักดอกไม้ กระเป๋าถือสตรี กระจาดใส่ผลไม้ เป็นต้น กาบมะพร้าวหรือเปลือกมะพร้าว มีคุณสมบัติแข็งแรง คงทนต่อน้ำและน้ำทะเล มีความยืดหยุ่น และสปริงดี นำมาทำเชือก ทำพรม กระสอบ แปรงชนิดต่างๆ อวน ไม้กวาด เส้นใบสั้นใช้อัดไส้ของที่นอน เบาะรถยนต์ เป็นต้น ใบมะพร้าว ใช้สานเป็นภาชนะใส่ของชั่วคราว ห่อขนม สานหมวกกันแดด สานเป็นเครื่องเล่นเด็ก และผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกรูปสัตว์ต่างๆ ของที่ระลึกประดับตกแต่ง รากมะพร้าว เป็นเส้นยาว เหนียวมาก ใช้สานเป็นผลิตภัณฑ์ใช้สอย จำพวกตะกร้า ถาด ภาชนะสำหรับดอกไม้หรือใส่ของต่างๆ ประดิษฐ์เป็นหัตถกรรมของที่ระลึก รกมะพร้าว หรือเยื่อหุ้มคอมะพร้าว ลักษณะเป็นแผ่นใยหยาบบางๆ ยืดหยุ่นได้ แต่แยกขาดง่าย ใช้ผลิตหัตถกรรมประเภท กระเป๋า หมวก รองเท้าแตะ กล่องใส่ของ ดอกไม้ประดิษฐ์ เป็นต้น กะลามะพร้าว มะพร้าวแก่จะมีความคงทนมาก ไม่หดตัวแม้ถูกน้ำ ถูกแดด แต่จะเปราะง่าย หักง่าย หากกระทบกับสิ่งที่แข็งๆ ใช้ทำผลิตภัณฑ์ ภาชนะ เครื่องประดับ เครื่องดนตรี ที่วางแก้วน้ำ กระบวยตักน้ำ ที่เขี่ยบุหรี่ เป็นต้น งานฝีมือจากมะพร้าว
  • 9. 1.   การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารจากเนื้อมะพร้าว               ผลิตภัณฑ์อาหารจากมะพร้าวส่วนใหญ่ได้จากเนื้อมะพร้าวซึ่งมีอยู่ 29-30 เปอร์เซนต์ ต่อน้ำหนักผล และจากน้ำมันมะพร้าวซึ่งมีอยู่ 21-26 เปอร์เซนต์ ต่อน้ำหนักผล ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ กะทิ กะทิเข้มข้น กะทิผง น้ำมันมะพร้าว แป้งมะพร้าว ส่วนผลิตภัณฑ์จากน้ำมะพร้าว ได้แก่ น้ำส้มสายชู น้ำ - มะพร้าวอ่อน น้ำตาลมะพร้าว ฯลฯ     1.1   อุตสาหกรรมเนื้อมะพร้าว นอกจากเราใช้มะพร้าวสดและแห้งในการประกอบอาหารในชีวิตประจำวันแล้ว มะพร้าวยังเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญยิ่งในภาคอุตสาหกรรมอีกด้วย การแปรรูปผลผลิตมะพร้าวในทางอุตสาหกรรมอาจแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่คือ   1.1.1   อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง โดยนำเนื้อมะพร้าวมาตากแดดหรือย่างไฟแบบรมควัน อาจทำในรูปของอุตสาหกรรมในครอบครัว การทำมะพร้าวแห้งส่วนใหญ่จะทำเมื่อราคาของมะพร้าวตกต่ำ ซึ่งราคาของมะพร้าวก็ขึ้นอยู่กับผลผลิตตามฤดูกาลคือในช่วงระหว่างกรกฎาคม - ตุลาคมของทุกปี ผลผลิตมะพร้าวเข้าสู่ตลาดมาก ราคาจะตกต่ำ 1.1.2   อุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว เป็นอุตสาหกรรมการเกษตรที่รับช่วงการผลิตมาจากอุตสาหกรรมมะพร้าวแห้ง มีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น อุตสาหกรรมทำนม ทำสบู่ เนยเทียม เป็นต้น สาเหตุที่น้ำมันมะพร้าวเป็นที่ยอมรับของทั่วไปเพราะมีกลิ่นและรสเฉพาะตัว ซึ่งเป็นที่ยอมรับของตลาด และปริมาณหาได้ค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดทั้งปี       ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะพร้าว
  • 10.    1.1.3   อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำน้ำกะทิมะพร้าวมาระเหย เอาน้ำออกบางส่วน แล้วนำไปบรรจุในภาชนะปลอดอากาศ ทำให้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน และสะดวกต่อการใช้เพราะเมื่อนำกะทิดังกล่าวมาผสมเข้ากับน้ำก็จะคืนรูปเป็นกะทิธรรมดา การทำกะทิเข้มข้นทำอยู่ในวงจำกัด ปัจจุบันมีโรงงานด้านนี้ 2 โรง เนื่องจากในประเทศเรายังพอหามะพร้าวสดคั้นกะทิได้ง่าย แต่อาจจะจำเป็นสำหรับต่างประเทศ                                       1.1.4   อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง    วิธีการคือนำเนื้อในมะพร้าวมาขุดลักษณะเดี่ยวกับเนื้อมะพร้าวสดขูดที่มีขายอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป หลังจากนั้นนำไปผ่านกรรมวิธีอบแห้งด้วยความร้อนประมาณ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 35 นาที จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นผงขาวนวล แต่ยังคงสภาพกลิ่น รส ของมะพร้าวแห้งทุกประการ
  • 11. 2. ผลิตภัณฑ์เพื่ออุตสาหกรรมอุปโภค               2.1   อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยมะพร้าว เฉลี่ยแล้วกาบมะพร้าว 13 ผล สามารถผลิตเส้นใยมะพร้าวแห้งได้ 1 กิโลกรัม เส้นใยเหล่านี้ผ่านเครื่องตี แยกขุยมะพร้าวออกและตากแห้งแล้วถูกส่งออกจำหน่ายในรูปของเส้นใยอัด หรือควั่นเกลียว อุตสาหกรรมที่ใช้เส้นใยมะพร้าวมากได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตที่นอน เบาะรถยนต์ เบาะนั่งโซฟา พรมเช็ดเท้า แผ่นฉนวนป้องกันความร้อน เชือก ฯลฯ 2.2   อุตสาหกรรมแท่งเพาะชำ นำเอาฟองใยมะพร้าวมาเป็นเศษวัสดุเหลือใช้จากโรงงานเส้นใยโดยนำมาอัดเป็นแท่ง และผ่านกรรมวิธีอบแห้ง แล้วบรรจุกล่องส่งขายได้ ส่วนที่เหลือจากการอบแห้งก็นำมาบ่น และบรรจุถุงขายเป็นดินผสมเพื่อใช้ปลูกไม้กระถาง ใช้ในรูปของอุตสาหกรรมหรือส่งออกต่อไป ซึ่งสามารถแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมมะพร้าวใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ                 1. ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อการบริโภค เช่น อุตสาหกรรมมะพร้าวแห้งอุตสาหกรรมน้ำมันมะพร้าว อุตสาหกรรมกะทิเข้มข้น อุตสาหกรรมมะพร้าวขูดแห้ง อุตสาหกรรมน้ำตาลมะพร้าว                 2.    ผลิตภัณฑ์เพื่ออุตสาหกรรมและอุปโภค เช่น อุตสาหกรรมเส้นใยมะพร้าว อุตสาหกรรมแท่งเพาะชำ อุตสาหกรรมเผาถ่านจากกะลามะพร้าว อุตสาหกรรมแปรรูปมะพร้าว การเพิ่มรายได้สวนมะพร้าว             เนื่องจากมะพร้าวจะเริ่มให้ผลหลังจากปลูกประมาณ 5-6 ปี ดังนั้นในขณะที่ต้นยังเล็กอยู่ จึงควรปลูกพืชแซมระหว่างแถวมะพร้าว เป็นประเภทพืชที่มีอายุสั้น อาจเป็นพืชไร่ เช่น สับปะรด ถั่วต่าง ๆ หรือพืชผัก เช่น ฟักทอง แตงกวา แตงโม ข้าวโพดหวาน ฯลฯ เมื่อมะพร้าวโตขึ้น มีอายุได้ 4-5 ปี จะมีทรงพุ่มใหญ่ บังแสงแดดจึงไม่ควรปลูกพืชแซม เพราะจะได้ผลไม่คุ้มค่า และทำให้ต้นมะพร้าวโตช้า แต่เมื่อมะพร้าวมีอายุได้ 12-15 ปี ทาง ( ใบ ) จะเริ่มสั้นลง เปิดให้แสงแดดส่องถึงพื้นดินได้มากขึ้น จึงควรปลูกพืชยืนต้นที่เจริญเติบโตได้ดี ในที่ที่มีร่มเงาแซมลงในสวนมะพร้าว เช่น กาแฟ โกโก้ พริกไท ดีปลี ฯลฯ ในสวนมะพร้าวที่ให้ผลแล้ว นอกจากจะจะเพิ่มรายได้โดยการปลูกพืชแซมแล้ว ยังอาจเลี้ยงผึ้งหรือเลี้ยงวัวในสวนมะพร้าวได้ ซึ่งเป็นวิธีการเพิ่มผลผลิตของมะพร้าวอีกทางหนึ่งด้วย
  • 12. www.foodindustrythailand.com http://www.amphawa.go.th www . angelfire . com www . ryt9 . com www . foodindustrythailand . com แหล่งข้อมูล