SlideShare a Scribd company logo
ข้อมูลด้านเกษตรกรรมบ้านนางแล
1. พื้นที่ทำนำ จำนวนทั้งหมด 5,043 ไร่
2. พื้นที่ทำสวน จำนวนทั้งหมด 2,065 ไร่ พืชที่ผลิต ได้แก่ มันเทศ มะม่วง ชมพู่ ลำไย และลิ้นจี่
3. พื้นที่ทำไร่ จำนวนทั้งหมด 4,232 ไร่ พืชที่ผลิต ได้แก่ ข้ำวโพด และสับปะรดเป็นส่วนใหญ่
รำยได้จำกกำรเกษตรกรรม
ปศุสัตว์
จำนวนสัตว์เลี้ยงเพื่อกำรเกษตร มีดังนี้
**ข้อมูลจำกกำรสำรวจข้อมูลพื้นฐำนของหมู่บ้ำน ตำบลนำงแล ณ เดือนพฤษภำคม 2556
รายได้รวมทั้งหมด (บาท) เฉลี่ยต่อครัวเรือน (บาท) เฉลี่ยต่อคน (บาท)
353,877,511.01 147,448.96 45,299.22
จานวนสัตว์เลี้ยงในพื้นที่
โค
(ตัว)
กระบือ
(ตัว)
สุกร
(ตัว)
เป็ด
(ตัว)
ไก่
(ตัว)
นก
(ตัว)
554 83 1,077 1,211 12,348 70
ซึ่งในด้านการเกษตรกรรมนั้น ตาบลนางแลมีชื่อเสียงโดดเด่นทางการเพาะปลูก
สับปะรดพันธุ์นางแลและภูแลเพราะมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนสับปะรดพันธุ์อื่นๆ และ
ได้รับการคัดสรรให้เป็นสุดยอดผลิตผลของดีขึ้นชื่อของตาบล เป็นไม้ผลเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของ
จ.เชียงราย เกษตรกรนิยมปลูกกันมาก พันธุ์ที่นิยมและเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคมีอยู่ 2 สายพันธุ์
คือ พันธุ์นางแล รสชาติหอมหวาน เนื้ อเหลืองฉ่า ผลโต ให้ผลผลิตในช่วงเดือนมีนาคมถึง
พฤษภาคมของทุกปี ส่วนพันธุ์ภูแล เกิดจากพันธุ์ภูเก็ตที่มีผู้นามาปลูกในพื้ นที่ ต.นางแล จึงได้นา
ชื่อแหล่งปลูกเดิมมาผสมคากับแหล่งปลูกใหม่ ซึ่งมีผลขนาดเล็ก หวานฉ่า รับประทานได้ทั้งเนื้ อ
และแกน ให้ผลผลิตตลอดทั้งปี โดยมีตลาดส่งออกที่น่าสนใจคือญี่ปุ่น
 ประวัติความเป็นมาของสับปะรดนางแล
สับปะรดนางแลหรือสับปะรดพันธุ์น้าผึ้ง กลุ่มสายพันธุ์ยาเคน เป็นพันธุ์ย่อยของพันธุ์ปัตตาเวีย
เพราะมีลักษณะ ต้นใบและดอก คล้ายกัน การตั้งชื่อ สับปะรดนางแล ผู้ที่นาสับปะรดนางแลมาปลูกใน
ตาบลนางแลครั้งแรก ชื่อ นายเข่ง แซ่อุย เป็นชาวจีนไหหลาอพยพมาจากประเทศจีน ได้ภรรยาชื่อ นาง
จันทร์ เกิดคา เดิมอาศัยอยู่ที่บ้านปากกองอาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่แล้วอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านป่ า
ซางวิวัฒน์หมู่ที่ 17 ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย นายเข่งได้กลับไปเยี่ยมญาติ และได้นา
สับปะรดพันธุ์นี้ มาจากสิงคโปร์ประมาณปี พ.ศ. 2480 ประมาณ 30 หน่อ โดยมี 3 พันธุ์ คือ
-พันธุ์ใบอ่อน มีหนาม ขนาดผลเล็กหวานหอม เนื้ อกรอบ
- พันธุ์ใบแข็ง มีหนาม ขนาดผลใหญ่กว่าพันธุ์ใบอ่อนมีหนาม หวานหอม ฉ่า ตาตื้น
- พันธุ์ใบไม่มีหนาม (มีหนามปลายใบเล็กน้อย) ขนาดผลใหญ่ตาโปนยื่นออกมา หวาน หอม
เป็นพันธุ์ที่ปลูกกันแพร่หลายอยู่ทุกวันนี้ โดยนามาปลูกที่หลังโบสถ์ คริสตจักรบ้านป่ าซางวิวัฒน์
เป็นครั้งแรก ปรากฏว่าในปีแรกสับปะรดทั้ง 3 พันธุ์ มีเนื้ อขาว หวาน กรอบ แต่ปีต่อๆมา สีเนื้ อได้
เปลี่ยนเป็นสีน้าผึ้ง หวานฉ่า กลิ่นหอมเหมือนน้าผึ้ง นายเข่ง แซ่อุย หรือโกเข่ง เป็นคนที่หวงพันธุ์มาก จึงแพร่
ขยายพันธุ์ช้า ในปี พ.ศ. 2505 กานันคาลือ เขื่อนเพชร กานันเก่าตาบลนางแลได้ซื้อหน่อสับปะรด จากสวน
นายเข่ง แซ่อุย มาปลูกและไม่หวงพันธุ์สับปะรดพันธุ์นี้ จึงได้แพร่ขยายพันธุ์ต่อไป และเป็นที่นิยมของผู้บริโภค
สับปะรดนางแล
ทรงพุ่ม - เล็กกว่าพันธุ์ปัตตาเวีย
ใบ - ขอบใบเรียบไม่มีหนาม จะมีหนามที่ปลายใบเล็กน้อย
ผล - มีรูปทรงกระบอก ผลย่อยมีจานวนน้อย และใหญ่กว่าพันธุ์ปัตตาเวีย
ตา - นูนโปนยื่นออกมา ตาไม่ฝังลึก ปอกด้วยมีดเพียงบาง ๆ ก็จะถึงเนื้ อในไม่มี
ส่วนของตาเหลืออยู่ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาและเสียเนื้ อใน
เนื้ อ - มีรสหวานแหลมจัด ฉ่า สีเหลือเข้มออกสีน้าผึ้ง กลิ่นหอมเหมือนกลิ่นน้าผึ้ง
ขนาดผล - มีขนาดผลตั้งแต่ 0.5 กก. ถึง 2.5 กก. เฉลี่ยน้าหนักผล 1 – 1.5 กก.
เปลือก - บาง ไม่เหมาะสาหรับการขนส่งทางไกล เพราะจะทาให้ชอกช้าได้ง่าย
ลักษณะของสับปะรดนางแล
 ประวัติความเป็นมาสับปะรดภูแล
เมื่อปี พ.ศ. 2520 นายอเนก ประทีป ณ ถลาง อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ
เชียงราย ได้นาหน่อพันธุ์สับปะรดภูเก็ตซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสายพันธุ์ควีนจากจังหวัดภูเก็ต มาปลูก
ครั้งแรกที่ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นแหล่งภูมิศาสตร์ของสับปะรดที่มี
ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคเป็นอย่างดีคือสับปะรดนางแล แต่ด้วยปัจจัยทางธรรมชาติและ
ปัจจัยจากมนุษย์ทาให้สับปะรดที่ปลูกได้ในแหล่งภูมิศาสตร์นี้ มีลักษณะที่แตกต่างจากสับปะรด
ภูเก็ตคือขนาดผลเล็ก รูปร่างทรงกลม จุกใหญ่ ตั้งตรง รับประทานได้ทั้งเนื้ อและแกน ซึ่งต่อมาได้
เรียกชื่อสับปะรดดังกล่าวว่า“สับปะรดภูแล” โดยการนาเอาชื่อ “ภูเก็ต”ซึ่งเป็นแหล่งปลูกเดิมมา
ผสมคากับแหล่งปลูกใหม่คือ“นางแล” และขยายพื้นที่การปลูกครอบคลุมสามตาบลคือตาบลนาง
แล ตาบลท่าสุด และตาบลบ้านดู่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สับปะรดภูแลเชียงราย(Chiangrai
Phulae Pineapple) หมายถึง สับปะรดในกลุ่มควีน ซึ่งปลูกในตาบลนางแล ตาบลท่าสุด และ
ตาบลบ้านดู่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
สับปะรดภูแล
ผล - ขนาดเล็ก มีน้าหนักตั้งแต่ 150 กรัม -1000 กรัม ความยาวของจุกโดย
เฉลี่ย 1- 1.5 เท่า ของความยาวผลตัวจุกมีลักษณะชี้ตรง
ตาผล - ตาเต่งตึงโปนออกมาจากผลอย่างเห็นได้ชัด
เปลือก - เปลือกค่อนข้างหนา เหมาะสาหรับการ ขนส่งระยะไกล เมื่อสุเปลือกผลจะ
มีสีเหลือง หรือเหลืองปนเขียว
เนื้ อ - เนื้ อสีเหลือง กรอบ กลิ่นหอม แกนสับปะรดกรอบรับประทานได้รสชาติ มี
ความหวานปานกลาง
ใบ - เรียวเล็ก สีเขียวอ่อน และมีแถบสีชมพูบริเวณกลางใบขอบใบมีหนามเรียง
ชิดติดกัน ตลอดความยาวของใบ
ลักษณะของสับปะรดภูแล
 การเลือกที่ดิน
สับปะรดเป็นพืชดอน ที่ชอบที่ลาดเทมากว่า 1% เช่น ที่ลาดเชิงเขา หรือเนินเขา ขึ้น
ได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ชอบดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินปน ลูกรัง (กรวด) ไม่ชอบดินเนื้ อ
ละเอียด เช่น ดินเหนียว หรือค่อนข้างเหนียว ต้องเป็นดินที่ระบายน้าได้ดีไม่มีน้าขัง หรือฉ่าน้า
ตลอดเวลา ปลูกได้ เช่นกันแต่ต้องยกร่องเพื่อป้ องกันน้าท่วมหรือน้าขัง
ดินควรเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกรดมาก ความเป็นกรด-ด่าง ควรอยู่ระหว่าง 4.5 –
6 ถ้า PH สูงกว่า 6 จะมีผลให้เป็นโรคง่ายขึ้น และผลผลิตจะลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ไม่
จาเป็นต้องสมบูรณ์มากนักและอินทรีย์วัตถุในดินไม่ควรสูงเกินควรจะอยู่ระหว่างร้อยละ 1 – 3
(1-3%) เพราะถ้าดินสมบูรณ์ที่มีอินทรีย์วัตถุค่อนข้างสูง (เกินร้อยละ 3) จะมีผลทาให้การ
กาจัดวัชพืชยากและมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากขึ้น
ดินในตาบลนางแล ด้านทิศตะวันตก ซึ่งปลูกสับปะรดพันธุ์นางแลมาก และได้ผลผลิต
คุณภาพดี สภาพพื้นที่ ลาดเชิงเขา หรือเนินเขาเตี้ยมีการระบายน้าดีเป็นดินร่วนปนทราบ อยู่ใน
ชุดดินหนองมด (Nong Mot) PH 5-6.5
การปลูกสับปะรดพันธุ์นางแลสับปะรดพันธุ์ภูแล
 การเตรียมดิน
เนื่องจากสับปะรดเป็นพืชที่มีอายุค่อนข้างยาว คือ ประมาณ 3-6 ปี มีระบบรากไม่สามารถสู้
กับรากของวัชพืชได้ โดยเฉพาะรากของหญ้าค้างปีต่าง ๆ เช่น หญ้าคา หญ้าแห้วหนู เป็นต้น ดังนั้นการ
เตรียมดินจึงต้องพิถีพิถัน ถ้าเตรียมดินไม่ดีโดยเฉพาะการกาจัดวัชพืชค้างปีจะเป็นการเพิ่มต้นทุนในการ
ผลิต
 ขั้นตอนในการเตรียมดิน
1. การเคลียร์พื้นที่ จัดการขุดตอและต้นไม้ออกให้หมด ถ้ามีจอมปลวกให้ขุดฐานปลวกลึกลงไป
ไม่น้อยกว่า 50 ซม. แล้วกระจายดินจอมปลวกให้เป็นบริเวณกว้าง แล้วจึงดันดินส่วนอื่นมา
กลบจนเสมอ
2. การปรับพื้นที่ จัดการปรับพื้นที่ ให้ผิวเรียบทั้งแปลง ตามสภาพที่ดินเดิม
3. การไถ
 ไถดะ ใช้รถแทรกเตอร์ติดผาน 3 หรือ 4 ไถให้ลึก 25 – 30 ซม.เพื่อพลิกหน้าดิน
ตากดินไว้ไม่ต่ากว่า 15 วัน เพื่อให้ราก-ลาต้นใต้ดินของวัชพืชตาย
 ไถพรวน ใช้รถแทรกเตอร์ติดผาน 7 ไถพรวน 1 ครั้ง เพื่อย่อยดินและปรับหน้าดิน
ให้สม่าเสมอ
4. เก็บวัชพืช หลังจากไถพรวนปรับหน้าดินให้สม่าเสมอ ใช้แรงคนเก็บเศษวัชพืชต่าง ๆ ออกให้
หมด และปรับบริเวณที่ไม่เรียบให้เรียบสม่าเสมอกัน
 การเตรียมพันธุ์
เกษตรกรส่วนใหญ่ จะไม่ให้ความสนใจคิดว่าไม่ค่อยสาคัญ แต่แท้ที่จริงแล้วการเตรียมพันธุ์
ปลูกที่ถูกต้อง จะช่วยให้ได้ผลสับปะรดมีขนาดใหญ่ สม่าเสมอกันและสามารถกาหนดให้ออกผลได้แน่นอน
ซึ่งส่งผลให้ได้ราคาดี เป็นการลงทุนที่ให้ผลกาไรสูง
 หน่อพันธุ์สับปะรด แยกออกได้ดังนี้
1. จุกพันธุ์ (Crow) คือ ส่วนที่ติดอยู่บนผลของสับปะรด จุกจะเริ่มเติบโตขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ
สับปะรดเริ่มออกดอก สับปะรดนางแลเกษตรกรจะหักจุกทิ้งตั้งแต่เริ่มออกดอก
ได้ ประมาณ 2 ใน 3 ของดอก เกษตรกรจะไม่นาไปใช้ปลูก เพราะต้องเสียเวลา
ในการชาและเลี้ยงไว้ให้ต้นโตก่อน
2. หน่อพันธุ์ (Sacker) เกษตรกรนิยมใช้ปลูกมากกว่าจุก เพราะหน่อมีคุณสมบัติดี
- ทนโรคไส้เน่า
- ให้ผลเร็ว
3. หน่อข้าง หรือตะเกียง คือ หน่อที่เกิดจากตาข้างต้น สับปะรดนางแลจะมีหน่อข้างอยู่ ระหว่าง1–6 หน่อ
ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของต้นเฉลี่ย จะมีหน่อข้างประมาณ 2 หน่อ/ต้น
4. หน่อแทงดิน คือ หน่อดิน หรือหน่องา หน่อที่แทงขึ้นมาจากใต้ดินติดกับต้นแม่
5. หน่อชา คือ หน่อที่เกิดจากต้นสับปะรดที่รื้อทิ้ง เมื่อนาไปกองทิ้งไว้ จะเกิดหน่อขึ้นมาตาม
ตาที่ติดกับต้น ขนาดหน่อเล็กไม่สมบูรณ์ ไม่แนะนาให้เอามาปลูกเพราะหน่อ
ขนาดเล็กไม่สมบูรณ์ และเป็นแหล่งสะสมเชื่อโรค
 การเลือกหน่อปลูก
ควรเลือกหน่อข้างหรือหน่อตะเกียง ที่มีขนาดน้าหนักสม่าเสมอกัน มีความของหน่อ
ประมาณ 30 – 40 ซม.) โคนต้นพันธุ์เป็นหลัก คัดแยกขนาดออกเป็น 3 ขนาด ใหญ่ – กลาง –
เล็ก หรือคัดแยก 2 ขนาด ใหญ่ – เล็ก แล้วแต่ขนาดของหน่อที่มีอยู่
 การจุ่มสารเคมีก่อนนาไปปลูก
การจุ่มสารเคมีก่อนนาพันธุ์ไปปลูก เพื่อช่วยฆ่าเพลี้ยแป้ งที่ติดมากับพันธุ์และป้ องกัน
กาจัดโรคไส้เน่า (Heart rot) โดยการผสมพร้อมกับยาฆ่าแมลง + สารเคมีกันโรครา + สารจับใบ
ตามอัตราที่กาหนดใช้พันธุ์ที่เตรียมไว้นาไปจุ่มให้มิดทั้งต้น แล้วยกทิ้ งให้สะเด็ดน้า
 ฤดูปลูก
สับปะรดนางแล ปลูกได้ทุกฤดู โดยปรกติสับปะรดตั้งแต่ปลูกถึงเก็บเกี่ยวได้ อายุ
ประมาณ 18- 24 เดือน เกษตรกรต้องพิจารณาว่าเมื่อปลูกแล้วจะให้สับปะรดออกในช่วงไหน
แต่ถ้าปลูกแล้วสามารถบังคับให้ออกผลเก็บเกี่ยวได้ในเดือนเมษายน ก่อนที่สับปะรดนางแลจะ
ออกตามฤดูกาลและหลังจากสับปะรดนางแลที่ออกตามฤดูกาลหมด คือ เดือนตุลาคม –
มกราคม ก็จะทาให้เกษตรกรจาหน่ายได้ราคาดี
การปลูกเพื่อต้องการบังคับให้สับปะรดออกก่อนฤดูกาล ต้องกาหนดช่วงระยะเวลาปลูกดังนี้
 ขนาดหน่อ 30 – 40 ซม.
 ปลูกเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขนาดหน่อยมีความยาวตั้งแต่ 30 – 40 ซม
 บังคับให้ออกผลเดือนตุลาคม (อายุ 16 เดือน)
 เก็บเกี่ยวได้ในเดือน เมษายน (อายุ 23 เดือน) จะได้ขนาดผลเฉลี่ยน้าหนักต่อผล 1.2 – 1.5 กก.
ถ้าไม่บังคับให้ออกเดือนเมษายน ปล่อยให้ออกตามฤดูกาล จะได้สับปะรดที่มีขนาดผลใหญ่และ
น้าหนักดี
 วิธีปลูก
เกษตรกรที่ปลูกสับปะรดนางแลในเขตตาบลนางแล จะไม่มีการเตรียมดินและยกร่อย
เพียงแต่ปรับดินให้เรียบเสมอกัน ใช้เชือกขึงให้เป็นแถว ขุดหลุมปลูก โดยขุดหลุมลึกประมาณ 1
หน้าจอม ( 15 ซม.) เอาหน่อที่เตรียมไว้ปลูกในหลุม การวางหน่อจะตั้งตรงหรือเอียงประมาณ
45 องศา อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วกลบกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น
 ข้อควรระวัง
 อย่าให้ดินกลบยอด หรือดินเข้าไปในยอดจะทาให้ยอดเน่า
 ก่อนปลูกให้ดึงเอาใบล่างสุดออก 2 – 3 ใบ เพื่อให้รากเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น
 ระยะปลูก
ระยะปลูกของสับปะรดนางแล ค่อนข้างจะห่างกว่าสับปะรดพันธุ์อื่น ซึ่งโดยปรกติแล้ว
สับปะรดนางแลจะมีขนาดผลเล็ก เกษตรกรจึงต้องปลูกห่าง เพื่อจะได้ทรงพุ่มใหญ่และมีขนาดผล
โตตามด้วย
1. แถวเดียว ระหว่างต้น 40 ซม ระหว่างแถว 100 ซม. จานวนต้นต่อไร่ 4,000 – 4,500 ต้น
ข้อดี สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา ใส่ปุ๋ ย กาจัดวัชพืช และการเก็บเกี่ยว
ข้อเสีย ต้นสับปะรดจะล้มในปีที่ 2 และ 3 เปลืองพื้นที่ จานวนต้นต่อไร่น้อย
2. แถวคู่ ปลูกสลับฟันปลา ระหว่างต้น 40 ซม. ระหว่างแถว 50 ซม. ระหว่างแถวคู่ 100 ซม.
ข้อดี จานวนต้นต่อไร่มากและสับปะรดไม่ล้มในปี 2-3
ข้อเสีย การกาจัดวัชพืชไม่สะดวกและการดูแลรักษาในแปลงปลูกบารุงรักษายาก
 น้าหมักบารุงต้นสับปะรด มีวัตถุดิบและวิธีการดังนี้ คือ
1. กากน้าตาล 1 กิโลกรัม
2. เปลือกสับปะรด 3 กิโลกรัม
3. พด. 2 จานวน 1 ซอง
วิธีทา นาส่วนผสมทั้งหมดมาผสมให้เข้ากัน แล้วหมักไว้ประมาณ 3 เดือนสามารถนามาใช้ได้
วิธีการนาไปใช้ ใช้ในอัตราส่วน น้าหมัก 1 ลิตร ต่อน้า 200 ลิตร ใช้ฉีดพ่นพืชผักผลไม้
 การใส่ปุ๋ ย
การปลูกสับปะรดนางแล ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พื้นที่ปลูกส่วน
ใหญ่จะเป็นลาดเทเชิงเขา หรือเนินเขาเตี้ย โดยอาศัยน้าฝน การใส่ปุ๋ ย ดังนี้
 ครั้งแรก ใส่หลังจากปลูกไม่เกิน 3 เดือน ใช้ปุ๋ ยที่เร่งการเจริญเติบโตทางต้น คือ 21-0-0 (Ammonium
Sulphate) 46 – 0 –0 (ยูเรีย) อัตราส่วน 1 ช้อนแกงประมาณ 10 กรัม/ต้น
 ครั้งที่ 2 ใส่เมื่อเริ่มยางเข้าฤดูฝนเดือนพฤษภาคม ใส่ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตราส่วน 1
ช้อนแกง ประมาณ 10 กรัม/ต้น ใส่ที่กาบใบที่ 2 ที่ 3 ที่พ้นจากใบล่างขึ้นมา
 ครั้งที่ 3 ใส่หลังจากใส่ปุ๋ ยครั้งที่ 2 ประมาณ 3 เดือน ก่อนจะหมดฤดูฝน คือ เดือนสิงหาคม ใช้ปุ๋ ยสูตร 13-
13-21 อัตราส่วน 1 ช้อนแกง ประมาณ 10 กรัม/ต้น ใส่ที่กาบใบที่ 2 ที่ 3 นับจากใบล่างขึ้นมา เพื่อให้ต้น
สับปะรดสมบูรณ์เต็มที่ และเพิ่มโปรแตสเซียม ซึ่งจะทาให้สับปะรดมีคุณภาพดี
ในการปลูกสับปะรดนางแลที่ไม่มีการบังคับให้ออกก่อนฤดูกาลควรใส่ปุ๋ ยไม่เกิน 3ครั้ง ก็เพียงพอ
กรณีเกษตรกรต้องการบังคับให้ออกก่อนฤดูกาลควรใส่ปุ๋ ยเสริมเพื่อให้ผลใหญ่ ที่มีคุณภาพดี
ดังนี้
 ครั้งที่ 1 หลังจากที่สับปะรดออกผลและชูก้านผล ประมาณ 60 วัน หลังจากบังคับให้ออกผล ใช้ปุ๋ ยสูตร
13-0-46 ความเข้มข้น 5% อัตรา 150 ซีซี./ต้น ใส่ที่กาบใบ
 การใส่ปุ๋ ยต้นตอ 1 และ 2
หลังจากที่เก็บเกี่ยวสับปะรดแล้ว ต้นตอที่สมบูรณ์จะแทงหน่อข้างออกมา คงไว้ที่หน่อ
ข้างที่อยู่ใกล้ดิน หรือหน่อดินอย่างใด อย่างหนึ่งไว้เพียงหน่อเดียว เมื่อคัดหน่อได้แล้วให้รีบใส่ปุ๋ ย
โดยเร็วที่สุด ใช้ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 ช้อนแกง/ต้น ประมาณ 10 กรัม และใส่ปุ๋ ยอีกครั้ง
ก่อนจะหมดฤดูฝน ใส่ปุ๋ ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนแกง/ต้น ใส่ที่กาบใบ
 ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ ย
 อย่าให้ปุ๋ ยถูกหรือตกลงไปในยอดสับปะรด จะทาให้ยอดเน่า
 การใส่ปุ๋ ยที่กาบใบ ใส่กระจาย 2 ถึง 3 กาบ เพื่อให้ปุ๋ ยเต็มกาบใบ และเพื่อป้ องกันการ
สูญเสียปุ๋ ย
 การบังคับผลสับปะรดนางแล
การปลูกสับปะรดนางแล การบังคับ นับว่ามีความสาคัญมาก สับปะรดนางแลจะออกผลเองตาม
ธรรมชาติตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม เป็นต้นไป และจะหมดในเดือนสิงหาคม ซึ่งถ้าออกมาพร้อมกันมาก
ๆ ก็จะทาให้ราคาตกต่า เพื่อที่จะให้ได้ราคาดีเกษตรกรจึงต้องมีการบังคับการออกผลให้กระจายออกก่อน
ฤดูกาล
ในการบังคับให้สับปะรดออกดอกก่อนกาหนดนั้น จะต้องคานึงถึงขนาดของต้นสับปะรดเป็น
ประการสาคัญ ถ้าต้นสับปะรดมีขนาดเล็กเกิดไปจะไม่ออกดอกหรือออกดอกได้แต่ขนาดผลเล็ก ต้นสับปะรด
ที่จะบังคับได้ โคนต้นจะต้องอวบใหญ่ไม่เรียวหรือประมาณน้าหนักของต้นให้ได้ 2.5 กก. ขึ้นไปหรื
อประมาณใบ 45 ใบขึ้นไป
การคานวณขนาดผลตามขนาดน้าหนักของต้น เรียกว่าอัตราส่วนของน้าหนักต้นต่อน้าหนักผล
 ขนาดน้าหนักต้น 1 กก. จะได้ขนาดผลหนัก 450 – 700 กรัม คือ เฉลี่ยได้น้าหนักผล ½ กก.
สับปะรดนางแลต้นที่ควรบังคับให้ออกผล ซึ่งจะได้ขนาดผลเป็นที่ต้องการของตลาด ควรจะมีน้าหนักต้น
ตั้งแต่ 2.5 กก. ขึ้นไป หรือนับไปประมาณ 45 ใบ ขึ้นไป
การที่สับปะรดจะออกผลนั้น เนื่องจากต้นสับปะรดจะหยุดการเจริญทางต้น ทางใบ ต้นสับปะรด
จึงเริ่มสร้างดอกผลทันที ในธรรมชาติอุณหภูมิ ความชื้น และธาตุอาหาร (ปุ๋ ย) เป็นตัวที่ทาให้เกิดการชงัก
การเจริญเติบโตทางใบและต้น ทาให้สับปะรดเปลี่ยนไปสร้างดอกผลเพื่อขยายพันธุ์ต่อไป ทางธรรมชาติใน
การบังคับให้ออกผลของต้นสับปะรด คือ ต้องทาให้ต้นสับปะรดหยุดการเจริญเติบโตทางต้นและใบ
 สารเคมีที่ใช้กันทั่วไปมี 3 ชนิด
 ฮอร์โมนสาเร็จรูปชนิดเม็ด (Pine top) ใช้หยอดที่ยอดสับปะรด 1-2 เม็ด
 ถ่านแก๊ส (Calcium carbide) มีลักษณะการใช้อย่าง 2 อย่าง คือ
 ป่นถ่านแก๊สให้เป็นเม็ดขนาดเท่าปลายนิ้ วก้อย หยอดที่ยอดแล้วหยอดน้าตามประมาณ 50 ซีซี
 ใช้ถ่านแก๊สละลายน้า โดยใช้ถ่ายแก๊ส 1.5 –2 กก. ต่อน้า 20 ลิตร หยอดที่ยอดต้นละ 50 ซีซี
 การใช้สารเคมีอีเทรล (Ethrel) สูตรเคมีของสารเร่งอีเทรล คือ 2- Chloroethyl
phosphonicacid ซึ่งจะปล่อยสารเอททีลีน (Ethelene) เข้าไปในเหยื่อของสับปะรดแล้ว
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของพืชคล้าย ๆ กับฮอร์โมน สารเคมีที่จาหน่ายใน
ท้องตลาดมี 2 ชนิด คือ
 ชนิดเข้มข้นมีสารออกฤทธิ์ (Active ingredient) 39% บรรจุในขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร มีชื่อทาง
การค้า เช่น อีเทรล โปรเทรล (Prothrel)
 ชนิดที่ผสมให้เจือจางแล้ว (Ethrel P.G.R.30) บรรจุในขวดพลาสติก
 อัตราการใช้สารเร่งอีเทรล
ชนิดเข้มข้นมีสารออกฤทธิ 39% จะใช้อีเทรลหรือโปรเทรล อย่างใดอย่างหนึ่งในอัตรา
10 – 15 ซีซี. ปุ๋ ยยูเรีย 300-400 กรัม/น้า 20 ลิตร ผสมและคนให้ปุ๋ ยละลายใช้หยอดที่ยอด
ต้นละ 60 ซีซี. ครั้งเดียวหยอดในตอนเช้าหรือหลังจากหยอดยาประมาณ 45 วัน จะสังเกตเห็น
ดอก แต่เพื่อความแน่นอนควรสุ่มตัวอย่างหลังหยอดยา 10 –15 วัน ทาการผ่าดูถ้าได้ผลที่ปลาย
สุดของยอดจะมีปุ่มเห็นได้ ชัดเจน
 ข้อควรระวังในการหยอดยา
 การใช้สารเร่งปุ๋ ยและน้าสะอาดควรให้ได้ตามอัตราส่วน
 เมื่อผสมน้าแล้วต้องนาออกไปใช้ทันที ไม่ควรเกิน 2 ชม. มิฉะนั้นประสิทธิภาพของสารเร่งจะเสื่อม
 การหยอดสารเร่งให้หยอดที่กลางยอด อย่าให้สารเร่งหยอดหกหรือกระฉอก
 การหยอดสารเร่งจะได้รับผลดีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ อัตราการใช้ ควรหยอดในขณะ
อากาศเย็น เช่น ตอนเช้าหรือตอนเย็นแดดไม่ร้อนจัด
 ขณะที่หยอดสารเร่งฝนตกให้หยุดหยอดทันที หรือหลังจากหยอดสารเร่งแล้วภายใน 2 ชม. ถ้าฝน
ตกให้หยอดสารเร่งซ้าอีกครั้ง
 หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเร่งทั้งทางผิวหนัง เสื้อผ้า และตา
 การหักจุก
จุก (Crown) คือ ส่วนที่ติดอยู่บนผลสับปะรด โดยปรกติสับปะรด 1 ผล จะมีจุก 1 จุก
นอกจากกรณีผิดปรกติจะมี 2 จุกติดกัน การหักจุกสับปะรด ซึ่งเกษตรกรที่นี่จะหักจุกสับปะรด
ออก เพราะคนปลูกครั้งแรกต้องการขยายพันธุ์ให้ได้มากเลยหักจุกมาปลูก และถ้ามีจุกอยู่ไม่
สะดวกในการมัดใบ
การหักจุกสับปะรดนางแล จะหักเมื่อดอกสับปะรดเริ่มบานแล้ว เริ่มฝ่อประมาณ 2 ใน
3 ของดอก หรือหลังจากบังคับให้ออกดอกประมาณ 90 วัน ถ้าปล่อยไว้ให้จุกใหญ่จะทาให้หักจุก
ยาก สับปะรดนางแลมีความจาเป็นมากที่จะต้องมัดใบสับปะรด เพราะสับปะรดนางแล เปลือกผิว
บางถ้าไม่มัดจะทาให้แดดเผาผิว ทาให้ผิวซีดเหลือง(ชาวบ้านเรียกว่า ม้านแดด) วิธีการมัด
สับปะรด โดยการรวบใบขึ้นมาห่อหุ้มผลสับปะรด แล้วใช้ตอกมัดที่ปลายใบที่รวบมาห่อหุ้มผล
สับปะรด รวบใบมาห่อหุ้มผลสับปะรดแล้ว ใช้ตอกมัดที่ปลายใบ ข้อดี รวดเร็ว ข้อเสีย หลุดง่าย
เมื่อถูกลมพัด
 การเก็บผล
การเก็บผลสับปะรดนางแล โดยปรกติถ้าสภาพภูมิอากาศไม่ผิดปรกติมากสับปะรด
นางแลจะเริ่มสุก พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวประมาณ 180 วัน หลังจากบังคับให้ออกดอก
 การสังเกตการสุกของสับปะรดนางแล
 สีของผิว เมื่อเริ่มแก่ผิวของสับปะรดจะเปลี่ยนจากสีเขียวอมม่วงแดงมาเป็นสีเขียว และสี
ของขนตาจะเริ่มเปลี่ยนจากสีชมพูม่วงเป็นสีน้าตาลอ่อน (สีขนตาจะซีดลงและเริ่มเหี่ยว) สี
ผิวตาเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลืองหรือเหลือง ประมาณ 3-5 ตา ถ้าในฤดูหนาว อาจต้อง
รอสีตาล่างของผลเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือหรือเหลืองประมาณ 1 ใน 3 ของผล
 ตา คือ ตาสดใส เต่งตึงโปนออกมา
 ก้านผล คือ ก้านของสับปะรดจะเหี่ยวเป็นร่องเล็กๆ มองดูไม่ค่อยเห็นใช้มือลูบหรือถูจะ
เห็นเป็นร่อง
 ใบรองผลจะเหี่ยว
 ประโยชน์ของสับปะรด
สับปะรดมีสารอาหารที่มีประโยชน์จานวนมากและมีคุณค่าทางยาสูงมีสรรพคุณช่วย
ย่อยอาหารจาพวกเนื้ อเสริมการดูดซึมอาหาร ดับร้อนแก้กระหาย สับปะรดยังมีสารจาพวก
น้าตาล กรด วิตามิน อยู่หลายชนิด การรับประทานสับปะรดเป็นประจาจะช่วยป้ องกันโรค ไต
อักเสบ ความดันโลหิตสูง หลอดลมอักเสบ
 สรุปข้อแตกต่างระหว่างสับปะรดนางกับสับประรดภูแล
สับปะรดนางแลจะให้ผลผลิตค่อนข้างดีกว่าภูแลประมาณ 2000 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วน
ราคาจาหน่ายพันธุ์นางแลจะต่ากว่าภูแลเล็กน้อย นางแลราคาต่าสุดอยู่ที่ประมาณ 2-3 บาทต่อ
กิโลกรัม สูงสุดประมาณ 12 บาทต่อกิโลกรัม แต่ปัจจุบันจาหน่ายกก.ละ7-8 บาท ส่วนสับปะรด
พันธุ์ภูแลจะให้ผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่ และราคาต่าสุดจะอยู่ที่ประมาณ 5 บาทต่อ
กิโลกรัม สูงสุดประมาณ 17 บาทต่อกิโลกรัม ปัจจุบันจาหน่ายในราคากิโลกรัมละ 11 บาท
ลักษณะของสับปะรดนางแลนั้นผลจะไม่ใหญ่มากนัก มีขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ภูแลแต่ก็เล็ก
กว่าสับปะรดพันธุ์อื่นๆมาก สับปะรดนางแลที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีและถูกต้องตั้งแต่
เริ่มปลูก จะมีรสชาติหวานฉ่า เนื้ อด้านในมีสีเหลืองน่ารับประทาน สับปะรดนางแลจะมีรสชาติดี
ที่สุดในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน หลังจากเดือนกันยายนไปแล้วรสชาติจะไม่ค่อยดีเท่าที่ควร
ส่วนสับปะรดพันธุ์ภูแล เป็นสับปะรดที่มีผลขนาดเล็ก เนื้ อด้านในมีสีเหลืองอ่อน น่า
รับประทาน มีรสชาติหวาน กรอบ สับปะรดภูแลจะมีรสชาติอร่อยคงเดิมตลอดทั้งปี จึงสามารถ
รับประทานได้ตลอดปี แต่ช่วงที่นิยมกันมากที่สุดคือช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม เพราะช่วงนี้
สับปะรดพันธุ์นางแลจะขาดตลาดและมีรสชาติไม่ค่อยดีเท่าที่ควร คนทั่วไปจึงหันมาทานภูแลกัน
มากขึ้นในช่วงนี้

More Related Content

What's hot

farmland
farmlandfarmland
farmland
Tolaha Diri
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
M Mild Charinrat Aloha
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Kan Pan
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
M Mild Charinrat Aloha
 

What's hot (7)

farmland
farmlandfarmland
farmland
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
 

Similar to เกษตรกรรมบ้านนางแล

โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
Akradech M.
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เจื๋อง เมืองลื้อ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
Fourt'p Spnk
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักKaemkaem Kanyamas
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
Nattayaporn Dokbua
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
Sompop Petkleang
 
ต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษtheesraponno
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
kaewpanya km
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5Patchareeya Pinit
 
เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^Patchareeya Pinit
 

Similar to เกษตรกรรมบ้านนางแล (20)

Lesson03
Lesson03Lesson03
Lesson03
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
Ipmแมลงศัตรูผัก
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Sweet
SweetSweet
Sweet
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
ต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษต้นไม้กระดาษ
ต้นไม้กระดาษ
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
ฟักทองพื้นเมืองผลเล็ก เบอร์ ๑
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5
 
เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^
 

เกษตรกรรมบ้านนางแล

  • 1.
  • 2. ข้อมูลด้านเกษตรกรรมบ้านนางแล 1. พื้นที่ทำนำ จำนวนทั้งหมด 5,043 ไร่ 2. พื้นที่ทำสวน จำนวนทั้งหมด 2,065 ไร่ พืชที่ผลิต ได้แก่ มันเทศ มะม่วง ชมพู่ ลำไย และลิ้นจี่ 3. พื้นที่ทำไร่ จำนวนทั้งหมด 4,232 ไร่ พืชที่ผลิต ได้แก่ ข้ำวโพด และสับปะรดเป็นส่วนใหญ่ รำยได้จำกกำรเกษตรกรรม ปศุสัตว์ จำนวนสัตว์เลี้ยงเพื่อกำรเกษตร มีดังนี้ **ข้อมูลจำกกำรสำรวจข้อมูลพื้นฐำนของหมู่บ้ำน ตำบลนำงแล ณ เดือนพฤษภำคม 2556 รายได้รวมทั้งหมด (บาท) เฉลี่ยต่อครัวเรือน (บาท) เฉลี่ยต่อคน (บาท) 353,877,511.01 147,448.96 45,299.22 จานวนสัตว์เลี้ยงในพื้นที่ โค (ตัว) กระบือ (ตัว) สุกร (ตัว) เป็ด (ตัว) ไก่ (ตัว) นก (ตัว) 554 83 1,077 1,211 12,348 70
  • 3. ซึ่งในด้านการเกษตรกรรมนั้น ตาบลนางแลมีชื่อเสียงโดดเด่นทางการเพาะปลูก สับปะรดพันธุ์นางแลและภูแลเพราะมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนสับปะรดพันธุ์อื่นๆ และ ได้รับการคัดสรรให้เป็นสุดยอดผลิตผลของดีขึ้นชื่อของตาบล เป็นไม้ผลเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของ จ.เชียงราย เกษตรกรนิยมปลูกกันมาก พันธุ์ที่นิยมและเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคมีอยู่ 2 สายพันธุ์ คือ พันธุ์นางแล รสชาติหอมหวาน เนื้ อเหลืองฉ่า ผลโต ให้ผลผลิตในช่วงเดือนมีนาคมถึง พฤษภาคมของทุกปี ส่วนพันธุ์ภูแล เกิดจากพันธุ์ภูเก็ตที่มีผู้นามาปลูกในพื้ นที่ ต.นางแล จึงได้นา ชื่อแหล่งปลูกเดิมมาผสมคากับแหล่งปลูกใหม่ ซึ่งมีผลขนาดเล็ก หวานฉ่า รับประทานได้ทั้งเนื้ อ และแกน ให้ผลผลิตตลอดทั้งปี โดยมีตลาดส่งออกที่น่าสนใจคือญี่ปุ่น
  • 4.  ประวัติความเป็นมาของสับปะรดนางแล สับปะรดนางแลหรือสับปะรดพันธุ์น้าผึ้ง กลุ่มสายพันธุ์ยาเคน เป็นพันธุ์ย่อยของพันธุ์ปัตตาเวีย เพราะมีลักษณะ ต้นใบและดอก คล้ายกัน การตั้งชื่อ สับปะรดนางแล ผู้ที่นาสับปะรดนางแลมาปลูกใน ตาบลนางแลครั้งแรก ชื่อ นายเข่ง แซ่อุย เป็นชาวจีนไหหลาอพยพมาจากประเทศจีน ได้ภรรยาชื่อ นาง จันทร์ เกิดคา เดิมอาศัยอยู่ที่บ้านปากกองอาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่แล้วอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านป่ า ซางวิวัฒน์หมู่ที่ 17 ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย นายเข่งได้กลับไปเยี่ยมญาติ และได้นา สับปะรดพันธุ์นี้ มาจากสิงคโปร์ประมาณปี พ.ศ. 2480 ประมาณ 30 หน่อ โดยมี 3 พันธุ์ คือ -พันธุ์ใบอ่อน มีหนาม ขนาดผลเล็กหวานหอม เนื้ อกรอบ - พันธุ์ใบแข็ง มีหนาม ขนาดผลใหญ่กว่าพันธุ์ใบอ่อนมีหนาม หวานหอม ฉ่า ตาตื้น - พันธุ์ใบไม่มีหนาม (มีหนามปลายใบเล็กน้อย) ขนาดผลใหญ่ตาโปนยื่นออกมา หวาน หอม เป็นพันธุ์ที่ปลูกกันแพร่หลายอยู่ทุกวันนี้ โดยนามาปลูกที่หลังโบสถ์ คริสตจักรบ้านป่ าซางวิวัฒน์ เป็นครั้งแรก ปรากฏว่าในปีแรกสับปะรดทั้ง 3 พันธุ์ มีเนื้ อขาว หวาน กรอบ แต่ปีต่อๆมา สีเนื้ อได้ เปลี่ยนเป็นสีน้าผึ้ง หวานฉ่า กลิ่นหอมเหมือนน้าผึ้ง นายเข่ง แซ่อุย หรือโกเข่ง เป็นคนที่หวงพันธุ์มาก จึงแพร่ ขยายพันธุ์ช้า ในปี พ.ศ. 2505 กานันคาลือ เขื่อนเพชร กานันเก่าตาบลนางแลได้ซื้อหน่อสับปะรด จากสวน นายเข่ง แซ่อุย มาปลูกและไม่หวงพันธุ์สับปะรดพันธุ์นี้ จึงได้แพร่ขยายพันธุ์ต่อไป และเป็นที่นิยมของผู้บริโภค สับปะรดนางแล
  • 5. ทรงพุ่ม - เล็กกว่าพันธุ์ปัตตาเวีย ใบ - ขอบใบเรียบไม่มีหนาม จะมีหนามที่ปลายใบเล็กน้อย ผล - มีรูปทรงกระบอก ผลย่อยมีจานวนน้อย และใหญ่กว่าพันธุ์ปัตตาเวีย ตา - นูนโปนยื่นออกมา ตาไม่ฝังลึก ปอกด้วยมีดเพียงบาง ๆ ก็จะถึงเนื้ อในไม่มี ส่วนของตาเหลืออยู่ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาและเสียเนื้ อใน เนื้ อ - มีรสหวานแหลมจัด ฉ่า สีเหลือเข้มออกสีน้าผึ้ง กลิ่นหอมเหมือนกลิ่นน้าผึ้ง ขนาดผล - มีขนาดผลตั้งแต่ 0.5 กก. ถึง 2.5 กก. เฉลี่ยน้าหนักผล 1 – 1.5 กก. เปลือก - บาง ไม่เหมาะสาหรับการขนส่งทางไกล เพราะจะทาให้ชอกช้าได้ง่าย ลักษณะของสับปะรดนางแล
  • 6.  ประวัติความเป็นมาสับปะรดภูแล เมื่อปี พ.ศ. 2520 นายอเนก ประทีป ณ ถลาง อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ เชียงราย ได้นาหน่อพันธุ์สับปะรดภูเก็ตซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มสายพันธุ์ควีนจากจังหวัดภูเก็ต มาปลูก ครั้งแรกที่ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นแหล่งภูมิศาสตร์ของสับปะรดที่มี ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคเป็นอย่างดีคือสับปะรดนางแล แต่ด้วยปัจจัยทางธรรมชาติและ ปัจจัยจากมนุษย์ทาให้สับปะรดที่ปลูกได้ในแหล่งภูมิศาสตร์นี้ มีลักษณะที่แตกต่างจากสับปะรด ภูเก็ตคือขนาดผลเล็ก รูปร่างทรงกลม จุกใหญ่ ตั้งตรง รับประทานได้ทั้งเนื้ อและแกน ซึ่งต่อมาได้ เรียกชื่อสับปะรดดังกล่าวว่า“สับปะรดภูแล” โดยการนาเอาชื่อ “ภูเก็ต”ซึ่งเป็นแหล่งปลูกเดิมมา ผสมคากับแหล่งปลูกใหม่คือ“นางแล” และขยายพื้นที่การปลูกครอบคลุมสามตาบลคือตาบลนาง แล ตาบลท่าสุด และตาบลบ้านดู่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สับปะรดภูแลเชียงราย(Chiangrai Phulae Pineapple) หมายถึง สับปะรดในกลุ่มควีน ซึ่งปลูกในตาบลนางแล ตาบลท่าสุด และ ตาบลบ้านดู่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สับปะรดภูแล
  • 7. ผล - ขนาดเล็ก มีน้าหนักตั้งแต่ 150 กรัม -1000 กรัม ความยาวของจุกโดย เฉลี่ย 1- 1.5 เท่า ของความยาวผลตัวจุกมีลักษณะชี้ตรง ตาผล - ตาเต่งตึงโปนออกมาจากผลอย่างเห็นได้ชัด เปลือก - เปลือกค่อนข้างหนา เหมาะสาหรับการ ขนส่งระยะไกล เมื่อสุเปลือกผลจะ มีสีเหลือง หรือเหลืองปนเขียว เนื้ อ - เนื้ อสีเหลือง กรอบ กลิ่นหอม แกนสับปะรดกรอบรับประทานได้รสชาติ มี ความหวานปานกลาง ใบ - เรียวเล็ก สีเขียวอ่อน และมีแถบสีชมพูบริเวณกลางใบขอบใบมีหนามเรียง ชิดติดกัน ตลอดความยาวของใบ ลักษณะของสับปะรดภูแล
  • 8.  การเลือกที่ดิน สับปะรดเป็นพืชดอน ที่ชอบที่ลาดเทมากว่า 1% เช่น ที่ลาดเชิงเขา หรือเนินเขา ขึ้น ได้ในดินแทบทุกชนิด แต่ชอบดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินปน ลูกรัง (กรวด) ไม่ชอบดินเนื้ อ ละเอียด เช่น ดินเหนียว หรือค่อนข้างเหนียว ต้องเป็นดินที่ระบายน้าได้ดีไม่มีน้าขัง หรือฉ่าน้า ตลอดเวลา ปลูกได้ เช่นกันแต่ต้องยกร่องเพื่อป้ องกันน้าท่วมหรือน้าขัง ดินควรเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกรดมาก ความเป็นกรด-ด่าง ควรอยู่ระหว่าง 4.5 – 6 ถ้า PH สูงกว่า 6 จะมีผลให้เป็นโรคง่ายขึ้น และผลผลิตจะลดลง ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ไม่ จาเป็นต้องสมบูรณ์มากนักและอินทรีย์วัตถุในดินไม่ควรสูงเกินควรจะอยู่ระหว่างร้อยละ 1 – 3 (1-3%) เพราะถ้าดินสมบูรณ์ที่มีอินทรีย์วัตถุค่อนข้างสูง (เกินร้อยละ 3) จะมีผลทาให้การ กาจัดวัชพืชยากและมีปัญหาเกี่ยวกับโรคมากขึ้น ดินในตาบลนางแล ด้านทิศตะวันตก ซึ่งปลูกสับปะรดพันธุ์นางแลมาก และได้ผลผลิต คุณภาพดี สภาพพื้นที่ ลาดเชิงเขา หรือเนินเขาเตี้ยมีการระบายน้าดีเป็นดินร่วนปนทราบ อยู่ใน ชุดดินหนองมด (Nong Mot) PH 5-6.5 การปลูกสับปะรดพันธุ์นางแลสับปะรดพันธุ์ภูแล
  • 9.  การเตรียมดิน เนื่องจากสับปะรดเป็นพืชที่มีอายุค่อนข้างยาว คือ ประมาณ 3-6 ปี มีระบบรากไม่สามารถสู้ กับรากของวัชพืชได้ โดยเฉพาะรากของหญ้าค้างปีต่าง ๆ เช่น หญ้าคา หญ้าแห้วหนู เป็นต้น ดังนั้นการ เตรียมดินจึงต้องพิถีพิถัน ถ้าเตรียมดินไม่ดีโดยเฉพาะการกาจัดวัชพืชค้างปีจะเป็นการเพิ่มต้นทุนในการ ผลิต  ขั้นตอนในการเตรียมดิน 1. การเคลียร์พื้นที่ จัดการขุดตอและต้นไม้ออกให้หมด ถ้ามีจอมปลวกให้ขุดฐานปลวกลึกลงไป ไม่น้อยกว่า 50 ซม. แล้วกระจายดินจอมปลวกให้เป็นบริเวณกว้าง แล้วจึงดันดินส่วนอื่นมา กลบจนเสมอ 2. การปรับพื้นที่ จัดการปรับพื้นที่ ให้ผิวเรียบทั้งแปลง ตามสภาพที่ดินเดิม 3. การไถ  ไถดะ ใช้รถแทรกเตอร์ติดผาน 3 หรือ 4 ไถให้ลึก 25 – 30 ซม.เพื่อพลิกหน้าดิน ตากดินไว้ไม่ต่ากว่า 15 วัน เพื่อให้ราก-ลาต้นใต้ดินของวัชพืชตาย  ไถพรวน ใช้รถแทรกเตอร์ติดผาน 7 ไถพรวน 1 ครั้ง เพื่อย่อยดินและปรับหน้าดิน ให้สม่าเสมอ 4. เก็บวัชพืช หลังจากไถพรวนปรับหน้าดินให้สม่าเสมอ ใช้แรงคนเก็บเศษวัชพืชต่าง ๆ ออกให้ หมด และปรับบริเวณที่ไม่เรียบให้เรียบสม่าเสมอกัน
  • 10.  การเตรียมพันธุ์ เกษตรกรส่วนใหญ่ จะไม่ให้ความสนใจคิดว่าไม่ค่อยสาคัญ แต่แท้ที่จริงแล้วการเตรียมพันธุ์ ปลูกที่ถูกต้อง จะช่วยให้ได้ผลสับปะรดมีขนาดใหญ่ สม่าเสมอกันและสามารถกาหนดให้ออกผลได้แน่นอน ซึ่งส่งผลให้ได้ราคาดี เป็นการลงทุนที่ให้ผลกาไรสูง  หน่อพันธุ์สับปะรด แยกออกได้ดังนี้ 1. จุกพันธุ์ (Crow) คือ ส่วนที่ติดอยู่บนผลของสับปะรด จุกจะเริ่มเติบโตขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ สับปะรดเริ่มออกดอก สับปะรดนางแลเกษตรกรจะหักจุกทิ้งตั้งแต่เริ่มออกดอก ได้ ประมาณ 2 ใน 3 ของดอก เกษตรกรจะไม่นาไปใช้ปลูก เพราะต้องเสียเวลา ในการชาและเลี้ยงไว้ให้ต้นโตก่อน 2. หน่อพันธุ์ (Sacker) เกษตรกรนิยมใช้ปลูกมากกว่าจุก เพราะหน่อมีคุณสมบัติดี - ทนโรคไส้เน่า - ให้ผลเร็ว 3. หน่อข้าง หรือตะเกียง คือ หน่อที่เกิดจากตาข้างต้น สับปะรดนางแลจะมีหน่อข้างอยู่ ระหว่าง1–6 หน่อ ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของต้นเฉลี่ย จะมีหน่อข้างประมาณ 2 หน่อ/ต้น 4. หน่อแทงดิน คือ หน่อดิน หรือหน่องา หน่อที่แทงขึ้นมาจากใต้ดินติดกับต้นแม่ 5. หน่อชา คือ หน่อที่เกิดจากต้นสับปะรดที่รื้อทิ้ง เมื่อนาไปกองทิ้งไว้ จะเกิดหน่อขึ้นมาตาม ตาที่ติดกับต้น ขนาดหน่อเล็กไม่สมบูรณ์ ไม่แนะนาให้เอามาปลูกเพราะหน่อ ขนาดเล็กไม่สมบูรณ์ และเป็นแหล่งสะสมเชื่อโรค
  • 11.  การเลือกหน่อปลูก ควรเลือกหน่อข้างหรือหน่อตะเกียง ที่มีขนาดน้าหนักสม่าเสมอกัน มีความของหน่อ ประมาณ 30 – 40 ซม.) โคนต้นพันธุ์เป็นหลัก คัดแยกขนาดออกเป็น 3 ขนาด ใหญ่ – กลาง – เล็ก หรือคัดแยก 2 ขนาด ใหญ่ – เล็ก แล้วแต่ขนาดของหน่อที่มีอยู่  การจุ่มสารเคมีก่อนนาไปปลูก การจุ่มสารเคมีก่อนนาพันธุ์ไปปลูก เพื่อช่วยฆ่าเพลี้ยแป้ งที่ติดมากับพันธุ์และป้ องกัน กาจัดโรคไส้เน่า (Heart rot) โดยการผสมพร้อมกับยาฆ่าแมลง + สารเคมีกันโรครา + สารจับใบ ตามอัตราที่กาหนดใช้พันธุ์ที่เตรียมไว้นาไปจุ่มให้มิดทั้งต้น แล้วยกทิ้ งให้สะเด็ดน้า
  • 12.  ฤดูปลูก สับปะรดนางแล ปลูกได้ทุกฤดู โดยปรกติสับปะรดตั้งแต่ปลูกถึงเก็บเกี่ยวได้ อายุ ประมาณ 18- 24 เดือน เกษตรกรต้องพิจารณาว่าเมื่อปลูกแล้วจะให้สับปะรดออกในช่วงไหน แต่ถ้าปลูกแล้วสามารถบังคับให้ออกผลเก็บเกี่ยวได้ในเดือนเมษายน ก่อนที่สับปะรดนางแลจะ ออกตามฤดูกาลและหลังจากสับปะรดนางแลที่ออกตามฤดูกาลหมด คือ เดือนตุลาคม – มกราคม ก็จะทาให้เกษตรกรจาหน่ายได้ราคาดี การปลูกเพื่อต้องการบังคับให้สับปะรดออกก่อนฤดูกาล ต้องกาหนดช่วงระยะเวลาปลูกดังนี้  ขนาดหน่อ 30 – 40 ซม.  ปลูกเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขนาดหน่อยมีความยาวตั้งแต่ 30 – 40 ซม  บังคับให้ออกผลเดือนตุลาคม (อายุ 16 เดือน)  เก็บเกี่ยวได้ในเดือน เมษายน (อายุ 23 เดือน) จะได้ขนาดผลเฉลี่ยน้าหนักต่อผล 1.2 – 1.5 กก. ถ้าไม่บังคับให้ออกเดือนเมษายน ปล่อยให้ออกตามฤดูกาล จะได้สับปะรดที่มีขนาดผลใหญ่และ น้าหนักดี
  • 13.  วิธีปลูก เกษตรกรที่ปลูกสับปะรดนางแลในเขตตาบลนางแล จะไม่มีการเตรียมดินและยกร่อย เพียงแต่ปรับดินให้เรียบเสมอกัน ใช้เชือกขึงให้เป็นแถว ขุดหลุมปลูก โดยขุดหลุมลึกประมาณ 1 หน้าจอม ( 15 ซม.) เอาหน่อที่เตรียมไว้ปลูกในหลุม การวางหน่อจะตั้งตรงหรือเอียงประมาณ 45 องศา อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วกลบกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น  ข้อควรระวัง  อย่าให้ดินกลบยอด หรือดินเข้าไปในยอดจะทาให้ยอดเน่า  ก่อนปลูกให้ดึงเอาใบล่างสุดออก 2 – 3 ใบ เพื่อให้รากเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น
  • 14.  ระยะปลูก ระยะปลูกของสับปะรดนางแล ค่อนข้างจะห่างกว่าสับปะรดพันธุ์อื่น ซึ่งโดยปรกติแล้ว สับปะรดนางแลจะมีขนาดผลเล็ก เกษตรกรจึงต้องปลูกห่าง เพื่อจะได้ทรงพุ่มใหญ่และมีขนาดผล โตตามด้วย 1. แถวเดียว ระหว่างต้น 40 ซม ระหว่างแถว 100 ซม. จานวนต้นต่อไร่ 4,000 – 4,500 ต้น ข้อดี สะดวกในการปฏิบัติดูแลรักษา ใส่ปุ๋ ย กาจัดวัชพืช และการเก็บเกี่ยว ข้อเสีย ต้นสับปะรดจะล้มในปีที่ 2 และ 3 เปลืองพื้นที่ จานวนต้นต่อไร่น้อย 2. แถวคู่ ปลูกสลับฟันปลา ระหว่างต้น 40 ซม. ระหว่างแถว 50 ซม. ระหว่างแถวคู่ 100 ซม. ข้อดี จานวนต้นต่อไร่มากและสับปะรดไม่ล้มในปี 2-3 ข้อเสีย การกาจัดวัชพืชไม่สะดวกและการดูแลรักษาในแปลงปลูกบารุงรักษายาก
  • 15.  น้าหมักบารุงต้นสับปะรด มีวัตถุดิบและวิธีการดังนี้ คือ 1. กากน้าตาล 1 กิโลกรัม 2. เปลือกสับปะรด 3 กิโลกรัม 3. พด. 2 จานวน 1 ซอง วิธีทา นาส่วนผสมทั้งหมดมาผสมให้เข้ากัน แล้วหมักไว้ประมาณ 3 เดือนสามารถนามาใช้ได้ วิธีการนาไปใช้ ใช้ในอัตราส่วน น้าหมัก 1 ลิตร ต่อน้า 200 ลิตร ใช้ฉีดพ่นพืชผักผลไม้
  • 16.  การใส่ปุ๋ ย การปลูกสับปะรดนางแล ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พื้นที่ปลูกส่วน ใหญ่จะเป็นลาดเทเชิงเขา หรือเนินเขาเตี้ย โดยอาศัยน้าฝน การใส่ปุ๋ ย ดังนี้  ครั้งแรก ใส่หลังจากปลูกไม่เกิน 3 เดือน ใช้ปุ๋ ยที่เร่งการเจริญเติบโตทางต้น คือ 21-0-0 (Ammonium Sulphate) 46 – 0 –0 (ยูเรีย) อัตราส่วน 1 ช้อนแกงประมาณ 10 กรัม/ต้น  ครั้งที่ 2 ใส่เมื่อเริ่มยางเข้าฤดูฝนเดือนพฤษภาคม ใส่ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตราส่วน 1 ช้อนแกง ประมาณ 10 กรัม/ต้น ใส่ที่กาบใบที่ 2 ที่ 3 ที่พ้นจากใบล่างขึ้นมา  ครั้งที่ 3 ใส่หลังจากใส่ปุ๋ ยครั้งที่ 2 ประมาณ 3 เดือน ก่อนจะหมดฤดูฝน คือ เดือนสิงหาคม ใช้ปุ๋ ยสูตร 13- 13-21 อัตราส่วน 1 ช้อนแกง ประมาณ 10 กรัม/ต้น ใส่ที่กาบใบที่ 2 ที่ 3 นับจากใบล่างขึ้นมา เพื่อให้ต้น สับปะรดสมบูรณ์เต็มที่ และเพิ่มโปรแตสเซียม ซึ่งจะทาให้สับปะรดมีคุณภาพดี ในการปลูกสับปะรดนางแลที่ไม่มีการบังคับให้ออกก่อนฤดูกาลควรใส่ปุ๋ ยไม่เกิน 3ครั้ง ก็เพียงพอ กรณีเกษตรกรต้องการบังคับให้ออกก่อนฤดูกาลควรใส่ปุ๋ ยเสริมเพื่อให้ผลใหญ่ ที่มีคุณภาพดี ดังนี้  ครั้งที่ 1 หลังจากที่สับปะรดออกผลและชูก้านผล ประมาณ 60 วัน หลังจากบังคับให้ออกผล ใช้ปุ๋ ยสูตร 13-0-46 ความเข้มข้น 5% อัตรา 150 ซีซี./ต้น ใส่ที่กาบใบ
  • 17.  การใส่ปุ๋ ยต้นตอ 1 และ 2 หลังจากที่เก็บเกี่ยวสับปะรดแล้ว ต้นตอที่สมบูรณ์จะแทงหน่อข้างออกมา คงไว้ที่หน่อ ข้างที่อยู่ใกล้ดิน หรือหน่อดินอย่างใด อย่างหนึ่งไว้เพียงหน่อเดียว เมื่อคัดหน่อได้แล้วให้รีบใส่ปุ๋ ย โดยเร็วที่สุด ใช้ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 ช้อนแกง/ต้น ประมาณ 10 กรัม และใส่ปุ๋ ยอีกครั้ง ก่อนจะหมดฤดูฝน ใส่ปุ๋ ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนแกง/ต้น ใส่ที่กาบใบ  ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ ย  อย่าให้ปุ๋ ยถูกหรือตกลงไปในยอดสับปะรด จะทาให้ยอดเน่า  การใส่ปุ๋ ยที่กาบใบ ใส่กระจาย 2 ถึง 3 กาบ เพื่อให้ปุ๋ ยเต็มกาบใบ และเพื่อป้ องกันการ สูญเสียปุ๋ ย
  • 18.  การบังคับผลสับปะรดนางแล การปลูกสับปะรดนางแล การบังคับ นับว่ามีความสาคัญมาก สับปะรดนางแลจะออกผลเองตาม ธรรมชาติตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม เป็นต้นไป และจะหมดในเดือนสิงหาคม ซึ่งถ้าออกมาพร้อมกันมาก ๆ ก็จะทาให้ราคาตกต่า เพื่อที่จะให้ได้ราคาดีเกษตรกรจึงต้องมีการบังคับการออกผลให้กระจายออกก่อน ฤดูกาล ในการบังคับให้สับปะรดออกดอกก่อนกาหนดนั้น จะต้องคานึงถึงขนาดของต้นสับปะรดเป็น ประการสาคัญ ถ้าต้นสับปะรดมีขนาดเล็กเกิดไปจะไม่ออกดอกหรือออกดอกได้แต่ขนาดผลเล็ก ต้นสับปะรด ที่จะบังคับได้ โคนต้นจะต้องอวบใหญ่ไม่เรียวหรือประมาณน้าหนักของต้นให้ได้ 2.5 กก. ขึ้นไปหรื อประมาณใบ 45 ใบขึ้นไป การคานวณขนาดผลตามขนาดน้าหนักของต้น เรียกว่าอัตราส่วนของน้าหนักต้นต่อน้าหนักผล  ขนาดน้าหนักต้น 1 กก. จะได้ขนาดผลหนัก 450 – 700 กรัม คือ เฉลี่ยได้น้าหนักผล ½ กก. สับปะรดนางแลต้นที่ควรบังคับให้ออกผล ซึ่งจะได้ขนาดผลเป็นที่ต้องการของตลาด ควรจะมีน้าหนักต้น ตั้งแต่ 2.5 กก. ขึ้นไป หรือนับไปประมาณ 45 ใบ ขึ้นไป การที่สับปะรดจะออกผลนั้น เนื่องจากต้นสับปะรดจะหยุดการเจริญทางต้น ทางใบ ต้นสับปะรด จึงเริ่มสร้างดอกผลทันที ในธรรมชาติอุณหภูมิ ความชื้น และธาตุอาหาร (ปุ๋ ย) เป็นตัวที่ทาให้เกิดการชงัก การเจริญเติบโตทางใบและต้น ทาให้สับปะรดเปลี่ยนไปสร้างดอกผลเพื่อขยายพันธุ์ต่อไป ทางธรรมชาติใน การบังคับให้ออกผลของต้นสับปะรด คือ ต้องทาให้ต้นสับปะรดหยุดการเจริญเติบโตทางต้นและใบ
  • 19.  สารเคมีที่ใช้กันทั่วไปมี 3 ชนิด  ฮอร์โมนสาเร็จรูปชนิดเม็ด (Pine top) ใช้หยอดที่ยอดสับปะรด 1-2 เม็ด  ถ่านแก๊ส (Calcium carbide) มีลักษณะการใช้อย่าง 2 อย่าง คือ  ป่นถ่านแก๊สให้เป็นเม็ดขนาดเท่าปลายนิ้ วก้อย หยอดที่ยอดแล้วหยอดน้าตามประมาณ 50 ซีซี  ใช้ถ่านแก๊สละลายน้า โดยใช้ถ่ายแก๊ส 1.5 –2 กก. ต่อน้า 20 ลิตร หยอดที่ยอดต้นละ 50 ซีซี  การใช้สารเคมีอีเทรล (Ethrel) สูตรเคมีของสารเร่งอีเทรล คือ 2- Chloroethyl phosphonicacid ซึ่งจะปล่อยสารเอททีลีน (Ethelene) เข้าไปในเหยื่อของสับปะรดแล้ว ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของพืชคล้าย ๆ กับฮอร์โมน สารเคมีที่จาหน่ายใน ท้องตลาดมี 2 ชนิด คือ  ชนิดเข้มข้นมีสารออกฤทธิ์ (Active ingredient) 39% บรรจุในขวดพลาสติกขนาด 1 ลิตร มีชื่อทาง การค้า เช่น อีเทรล โปรเทรล (Prothrel)  ชนิดที่ผสมให้เจือจางแล้ว (Ethrel P.G.R.30) บรรจุในขวดพลาสติก
  • 20.  อัตราการใช้สารเร่งอีเทรล ชนิดเข้มข้นมีสารออกฤทธิ 39% จะใช้อีเทรลหรือโปรเทรล อย่างใดอย่างหนึ่งในอัตรา 10 – 15 ซีซี. ปุ๋ ยยูเรีย 300-400 กรัม/น้า 20 ลิตร ผสมและคนให้ปุ๋ ยละลายใช้หยอดที่ยอด ต้นละ 60 ซีซี. ครั้งเดียวหยอดในตอนเช้าหรือหลังจากหยอดยาประมาณ 45 วัน จะสังเกตเห็น ดอก แต่เพื่อความแน่นอนควรสุ่มตัวอย่างหลังหยอดยา 10 –15 วัน ทาการผ่าดูถ้าได้ผลที่ปลาย สุดของยอดจะมีปุ่มเห็นได้ ชัดเจน  ข้อควรระวังในการหยอดยา  การใช้สารเร่งปุ๋ ยและน้าสะอาดควรให้ได้ตามอัตราส่วน  เมื่อผสมน้าแล้วต้องนาออกไปใช้ทันที ไม่ควรเกิน 2 ชม. มิฉะนั้นประสิทธิภาพของสารเร่งจะเสื่อม  การหยอดสารเร่งให้หยอดที่กลางยอด อย่าให้สารเร่งหยอดหกหรือกระฉอก  การหยอดสารเร่งจะได้รับผลดีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ อัตราการใช้ ควรหยอดในขณะ อากาศเย็น เช่น ตอนเช้าหรือตอนเย็นแดดไม่ร้อนจัด  ขณะที่หยอดสารเร่งฝนตกให้หยุดหยอดทันที หรือหลังจากหยอดสารเร่งแล้วภายใน 2 ชม. ถ้าฝน ตกให้หยอดสารเร่งซ้าอีกครั้ง  หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเร่งทั้งทางผิวหนัง เสื้อผ้า และตา
  • 21.  การหักจุก จุก (Crown) คือ ส่วนที่ติดอยู่บนผลสับปะรด โดยปรกติสับปะรด 1 ผล จะมีจุก 1 จุก นอกจากกรณีผิดปรกติจะมี 2 จุกติดกัน การหักจุกสับปะรด ซึ่งเกษตรกรที่นี่จะหักจุกสับปะรด ออก เพราะคนปลูกครั้งแรกต้องการขยายพันธุ์ให้ได้มากเลยหักจุกมาปลูก และถ้ามีจุกอยู่ไม่ สะดวกในการมัดใบ การหักจุกสับปะรดนางแล จะหักเมื่อดอกสับปะรดเริ่มบานแล้ว เริ่มฝ่อประมาณ 2 ใน 3 ของดอก หรือหลังจากบังคับให้ออกดอกประมาณ 90 วัน ถ้าปล่อยไว้ให้จุกใหญ่จะทาให้หักจุก ยาก สับปะรดนางแลมีความจาเป็นมากที่จะต้องมัดใบสับปะรด เพราะสับปะรดนางแล เปลือกผิว บางถ้าไม่มัดจะทาให้แดดเผาผิว ทาให้ผิวซีดเหลือง(ชาวบ้านเรียกว่า ม้านแดด) วิธีการมัด สับปะรด โดยการรวบใบขึ้นมาห่อหุ้มผลสับปะรด แล้วใช้ตอกมัดที่ปลายใบที่รวบมาห่อหุ้มผล สับปะรด รวบใบมาห่อหุ้มผลสับปะรดแล้ว ใช้ตอกมัดที่ปลายใบ ข้อดี รวดเร็ว ข้อเสีย หลุดง่าย เมื่อถูกลมพัด
  • 22.  การเก็บผล การเก็บผลสับปะรดนางแล โดยปรกติถ้าสภาพภูมิอากาศไม่ผิดปรกติมากสับปะรด นางแลจะเริ่มสุก พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวประมาณ 180 วัน หลังจากบังคับให้ออกดอก  การสังเกตการสุกของสับปะรดนางแล  สีของผิว เมื่อเริ่มแก่ผิวของสับปะรดจะเปลี่ยนจากสีเขียวอมม่วงแดงมาเป็นสีเขียว และสี ของขนตาจะเริ่มเปลี่ยนจากสีชมพูม่วงเป็นสีน้าตาลอ่อน (สีขนตาจะซีดลงและเริ่มเหี่ยว) สี ผิวตาเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลืองหรือเหลือง ประมาณ 3-5 ตา ถ้าในฤดูหนาว อาจต้อง รอสีตาล่างของผลเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลือหรือเหลืองประมาณ 1 ใน 3 ของผล  ตา คือ ตาสดใส เต่งตึงโปนออกมา  ก้านผล คือ ก้านของสับปะรดจะเหี่ยวเป็นร่องเล็กๆ มองดูไม่ค่อยเห็นใช้มือลูบหรือถูจะ เห็นเป็นร่อง  ใบรองผลจะเหี่ยว
  • 23.  ประโยชน์ของสับปะรด สับปะรดมีสารอาหารที่มีประโยชน์จานวนมากและมีคุณค่าทางยาสูงมีสรรพคุณช่วย ย่อยอาหารจาพวกเนื้ อเสริมการดูดซึมอาหาร ดับร้อนแก้กระหาย สับปะรดยังมีสารจาพวก น้าตาล กรด วิตามิน อยู่หลายชนิด การรับประทานสับปะรดเป็นประจาจะช่วยป้ องกันโรค ไต อักเสบ ความดันโลหิตสูง หลอดลมอักเสบ
  • 24.  สรุปข้อแตกต่างระหว่างสับปะรดนางกับสับประรดภูแล สับปะรดนางแลจะให้ผลผลิตค่อนข้างดีกว่าภูแลประมาณ 2000 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วน ราคาจาหน่ายพันธุ์นางแลจะต่ากว่าภูแลเล็กน้อย นางแลราคาต่าสุดอยู่ที่ประมาณ 2-3 บาทต่อ กิโลกรัม สูงสุดประมาณ 12 บาทต่อกิโลกรัม แต่ปัจจุบันจาหน่ายกก.ละ7-8 บาท ส่วนสับปะรด พันธุ์ภูแลจะให้ผลผลิตประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่ และราคาต่าสุดจะอยู่ที่ประมาณ 5 บาทต่อ กิโลกรัม สูงสุดประมาณ 17 บาทต่อกิโลกรัม ปัจจุบันจาหน่ายในราคากิโลกรัมละ 11 บาท ลักษณะของสับปะรดนางแลนั้นผลจะไม่ใหญ่มากนัก มีขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ภูแลแต่ก็เล็ก กว่าสับปะรดพันธุ์อื่นๆมาก สับปะรดนางแลที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีและถูกต้องตั้งแต่ เริ่มปลูก จะมีรสชาติหวานฉ่า เนื้ อด้านในมีสีเหลืองน่ารับประทาน สับปะรดนางแลจะมีรสชาติดี ที่สุดในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน หลังจากเดือนกันยายนไปแล้วรสชาติจะไม่ค่อยดีเท่าที่ควร ส่วนสับปะรดพันธุ์ภูแล เป็นสับปะรดที่มีผลขนาดเล็ก เนื้ อด้านในมีสีเหลืองอ่อน น่า รับประทาน มีรสชาติหวาน กรอบ สับปะรดภูแลจะมีรสชาติอร่อยคงเดิมตลอดทั้งปี จึงสามารถ รับประทานได้ตลอดปี แต่ช่วงที่นิยมกันมากที่สุดคือช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม เพราะช่วงนี้ สับปะรดพันธุ์นางแลจะขาดตลาดและมีรสชาติไม่ค่อยดีเท่าที่ควร คนทั่วไปจึงหันมาทานภูแลกัน มากขึ้นในช่วงนี้