SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
      เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัด
เก็บ ประมวลผล และเผยแพร่สารสนเทศ ซึ่งรวมแล้วก็คือ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม หรือ
Computer and Communications

ความหมาย และองค์ ป ระกอบของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
       มีผู้ให้คำานิยามเกี่ยวกับคำาว่าเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ดังนี้
Ellington และ Harris (1986) ให้คำานิยามเทคโนโลยีสารสนเทศ
ว่า "เป็นการรับ การประมวลผล และการแจกจ่าย สารสนเทศในรูป
แบบเสียง ภาพ เนื้อหาที่เป็นข้อความและ ตัวเลข โดยระบบพื้นฐาน
หลักการไมโครอิเล็กทรอนิคร่วมกับคอมพิวเตอร์ และระบบ
โทรคมนาคม
       UNESCO (อ้างถึงใน ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์,2540) ให้คำา
นิยามเทคโนโลยีสารสนเทศ และความสัมพันธ์และความสำาคัญที่
น่าสนใจดังนี้คือ
       เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็น
วิศวกรรมศาสตร์และการจัดการสำาหรับใช้ในการนำาเสนอและการ
จัดการข้อสนเทศกับคอมพิวเตอร์ และการปฏิสัมพันธ์กับคน หรือ
ปฏิสัมพันธ์กับเครื่องมืออุปกรณ์ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสังคม
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ"
       เทคโนโลยีสารสนเทศมีกำาเนิดขึ้นมาเป็นเทคโนโลยีสาขา
หนึ่ง โดยเหตุที่เนื่องมาจากเทคนิคการประมวลผลข้อมูล ระบบ
โทรคมนาคม การประมวลผลข้อมูลเป็นการจัดให้ในด้านความ
สามารถในการประมวลผลและเก็บรักษาสารสนเทศ โดยที่
สารสนเทศสำาหรับโทรคมนาคมเป็นสื่อหรือพาหน์เพื่อการสื่อสาร
สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีพัฒนาการก้าวหน้าด้วยสาเหตุ
ที่มีองค์ประกอบปัจจัยร่วมสำาคัญคือ การเอื้ออำานวยขององค์
ประกอบปัจจัยต่างๆ และเครื่องมืออุปกรณ์ไมโครอิเล็กทรอนิคที่
ละเอียดซับซ้อน มั่นคง แม่นยำา และราคาเหมาะสม พัฒนาการทา
งด้านอิเล็กทรอนิคทั่วโลกได้กระตุ้นให้เกิดการแสวงหาความร่วม
มือระหว่างประเทศ ในระบบการประมวลผลข้อมูลและ
โทรคมนาคม และได้เริ่มประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระ
ดับมหัพภาค นอกจากนี้การนำาเทคโนโลยีและเทคนิควิธีการดิจิตั
ลมาใช้ในระบบโทรคมนาคมทำาให้มีส่วนช่วยการประมวลผล
ข้อมูลสมัยใหม่ ทำาให้เทคโนโลยีสารสนเทศบังเกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ปัจจุบันมีการนำาเสนอบริการถ่ายทอดดาวเทียมสื่อสาร
และทางสายโทรศัพท์ และใยแก้วนำาแสง (optical fibers)
สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และให้บริการข้อมูลสารสนเทศ ตลอด
จนการสื่อสาร (communication) ข่าวสารได้สะดวก ประหยัดและ
มีประสิทธิภาพ"

      คอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตของมนุษย์
มากขึ้น ได้มีการพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิต
ประจำาวันของมนุษย์มากขึ้น เช่น การนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมา
ใช้ในสำานักงาน การจัดทำาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้
อุปกรณ์อำานวยความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
แสดงให้เห็นว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการคำานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไปทั่วทุกแห่ง

        เทคโนโลยีสารสนเทศ เริมใช้งานในประเทศไทยเมื่อปี
                              ่
พ.ศ. 2507 มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้ง
แรก แต่เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายมากนัก มีเพียงการ
ใช้โทรศัพท์ติดต่อสื่อสาร นำาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศ เช่น เครื่อง
ถ่ายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากร
ก็เปลี่ยน มาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น โดยเฉพาะสำานักงาน
เป็นแหล่งที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากที่สุด

         งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส
เพราะมีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่
ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ เทคโนโลยีที่ใช้ใน
ระบบสารสนเทศที่ได้รับความสนใจมากในขณะนี้คือ เทคโนโลยี
สื ่ อ ประสม (Multimedia) เป็นการรวมข้อความ ภาพ เสียง วีดิ
ทัศน์ เข้ามาผสมกัน ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะช่วย
เสริมและสนับสนุนงานด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป

        เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์เอา
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่ง
แวดล้อม มาทำาให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์

         สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่อง
เกี่ยวข้องกับความจริงของ คน สัตว์ สิ่งของ ทังที่เป็นรูปธรรมและ
                                            ้
นามธรรม ที่ได้จากการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกค้น และ
สื่อสารระหว่างกัน นำามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

      เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology :
IT) หมายถึง การนำาวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์
และการสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำาให้
สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น

ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ



        1) ระบบเอทีเอ็ม

             เป็นระบบที่อำานวยความสะดวกสบาย
        ให้แก่
        ผู้ใช้บริการธนาคาร ในปี พ.ศ. 2520 มีการ
        ใช้เครื่อง เอทีเอ็มเครื่องแรกของโลก โดย
        ธนาคาร
        ซิติ้แบงก์ เมืองนิวยอร์ก เริ่มให้บริการฝาก
        และ ถอนเงินโดยอัตโนมัติ แก่ลูกค้าตลอด
        24 ชั่วโมง


        2) การลงทะเบียนเรียน

              การลงทะเบียนเรียน ต้องอาศัยข้อมูล
        จาก การประมวลผลแบบเชื่อมตรง เพื่อให้
        สามารถตรวจสอบการลงทะเบียนได้ทันที
        ว่ามีวิชาอะไรที่เปิดสอนบ้าง วิชาใดมีผู้
        สมัครเรียนเต็มแล้ว
        3) การให้บริการและการทำาธุรกรรม
        บนอินเทอร์เน็ต

              การเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
        ทำาให้มีผู้ใช้งานกันอย่างกว้างขวาง สามารถ
        เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก เพราะทำาได้ง่าย ค่า
        ใช้จ่ายตำ่า ซึ่งได้แก่ ระบบอีคอมเมิร์ซ (E-
        Commerce) เป็นการค้าข่ายผ่านระบบเครือ
        ข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ทั่วทุกมุมโลก




เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ แนวโน้ ม โลก

          1) ทำาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น
สังคมสารสนเทศ มีการใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำางาน ทำาให้
เกิดคำาใหม่ว่า ไซเบอร์ส เปซ (cyberspace) มีการทำางานผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง เช่น ห้องสมุด
เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ทีทำางานเสมือนจริง เป็นต้น
                                 ่
2) เป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรีย์สัมผัส และตอบสนองตาม
ความต้องการ เช่น ปัจจุบนการใช้เทคโนโลยีเป็นแบบบังคับ คือ
                         ั
จะดูโทรทัศน์ หรือฟังวิทยุ ก็จะต้องชมตามตารางเวลาที่สถานี
กำาหนดให้ ถ้าผิดเวลาก็ทำาให้พลาดรายการไป แต่แนวโน้มจากนี้
ไปจะมีการเปลี่ยนแปลง คือ จะมีทวีออนดีมานด์ (TV on
                                 ี
demand) คือ เมื่อต้องการชมภาพยนต์เรื่องใดก็เลือกชม และดูได้
ตั้งแต่ต้นรายการ หรือเลือกเรียนตามต้องการได้ เรียกว่า เป็นระบบ
การตอบสนองความต้องการของมนุษย์

             3) ทำาให้เกิดสภาพการทำางานแบบทุกสถานทีและ่
ทุกเวลา เช่น ระบบประชุมทางวีดีทัศน์ ระบบประชุมผ่านเครือข่าย
ระบบการศึกษาบนเครือข่าย เป็นต้น
องค์ ป ระกอบพื ้ น ฐานของคอมพิ ว เตอร์

       หากเปรียบเทียบกับมนุษย์ สามารถทำางานต่าง ๆ ให้สำาเร็จ
ลุล่วงได้เนื่องจากมีสมองที่ช่วยในการคิดคำานวณ ตัดสินใจ และ
ออกแบบงาน ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีองค์ประกอบต่าง ๆ
มาทำาหน้าที่คล้ายสมองคน เพื่อให้งานสำาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ดังนั้น
กระบวนการทำางานของ คอมพิวเตอร์ จึงประกอบด้วยองค์ประกอบ
พื้นฐาน 5 ส่วน ดังรูปที่ 1




             กระบวนการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะเริ่ม
จากผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านทาง หน่วยรับเข้า (Input) ซึ่งได้แก่
แผงแป้นอักขระ เมาส์ โดยข้อมูลที่ป้อนเข้าไป จะได้รับการ
เปลียนแปลงให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัล คือ เลข 0 และ 1 คำา
    ่
สั่งและข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่งต่อไปยัง หน่วยประมวลผลกลาง
(Process) เพื่อประมวลผลตามคำาสั่งต่อไป ในระหว่างการประมวล
ผลหากมีคำาสั่งให้นำาผลลัพธ์จากการประมวลผล ไปจัดเก็บใน
หน่วยความจำาหลัก ซึงจะทำาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผล
                       ่
เป็นการชั่วคราว เรียกว่า แรม (Random Access Memory :
RAM) และในขณะเดียวกัน อาจมีคำาสั่งให้นำาผลลัพธ์จากการ
ประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผลผ่านทาง หน่วยส่งออก
(Output) ซึ่งอาจเป็น จอภาพ (Mornitor) หรือ เครื่องพิมพ์
(Printer) นอกจากนี้ยงสามารถบันทึกข้อมูลที่อยู่ในแรมลงใน
                         ั
หน่วยความจำารอง ได้แก่ แผ่นบันทึก (Floppydisk) ซีดีรอม
(Compact Disk Read Only Memory : CD-ROM) เพื่อนำาข้อมูล
ดังกล่าวออกมาใช้อีกในอนาคตได้ โดยการอ่านข้อมูลจาก แผ่น
บันทึกในสื่อ ผ่านทางเครื่องขับ (Drive) ในปัจจุบัน มีการคิดค้น
หน่วยความจำาสำารองที่พฒนามาจาก หน่วยความจำาหลัก ทีเรียก
                           ั                                 ่
ว่า รอม (Read Only Memory : ROM) ทำาให้สามารถบันทึก
ข้อมูลได้ปริมาณมากขึ้น และมีขนาดเล็ก สะดวกต่อการพกพา ซึ่ง
มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น handy drive , (สามารถเก็บข้อมูลได้
เหมือนฮาร์ดดิสก์ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการ และ
เก็บข้อมูลได้แม้ไม่ได้ต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์) และ flash
memory (สามารถเก็บข้อมูลได้เหมือนแผ่นบันทึก มีขนาดเล็ก
เท่ากับนิ้วมือ ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยพอร์ตยูเอสบี
เป็นต้น

ระบบสารสนเทศ

      รัฐบาลได้เห็นความสำาคัญของระบบข้อมูล ที่มีเทคโนโลยี
ทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเป็นตัวนำา ในปี พ.ศ. 2538
รัฐบาลไทยได้ประกาศอย่างเป็นทางการ ให้เป็นปีแห่งเทคโนโลยี
สารสนเทศไทย และจะมีบทบาทสำาคัญในการพัฒนาและผลักดัน
ให้เกิดการใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้ง
ในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ และเวลา โดยได้ลงทุน
โครงการพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นจำานวนมาก
เช่น การขยายระบบโทรศัพท์ การขยายเครือข่ายสื่อสาร การ
สร้างระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ การสร้างระบบจัดเก็บภาษี
และระบบศุลกากรด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
สังคมความเป็นอยู่ และการทำางานของมนุษย์ มีการรวมกลุ่ม
เป็นประเทศ มีการจัดองค์กรเป็นหน่วยงานของรัฐบาลและเอกชน
ภายในองค์กรก็มีการแบ่งย่อยลงเป็นกลุ่ม เป็นแผนก เป็นหน่วย
งาน ภายในหน่วยงานย่อยก็มีระดับบุคคล ระบบสารสนเทศที่
เกี่ยวข้องกับองค์กร
จึงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ
          1) ระบบสารสนเทศระดั บ บุ ค คล คือ ระบบที่เสริม
ประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่มีความ
สามารถในการประมวลผลข้อมูลด้วยความเร็วสูงขึ้น ใช้งานได้
ง่าย กว้างขวาง และ
คุ้มค่ามากขึ้น
           2) ระบบสารสนเทศระดั บ กลุ ่ ม คือ ระบบสารสนเทศ
ที่ช่วยเสริมการทำางานของกลุ่มบุคคล ที่มีเป้าหมายการทำางานร่วม
กัน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป้าหมายของการทำางานเป็นกลุ่ม
คือ การเตรียมสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออำานวยประโยชน์ ในการ
ทำางานเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางก็คือ การทำาให้
เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยเฉพาะข้อมูลและอุปกรณ์
เทคโนโลยีพื้นฐาน เช่น การนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมต่อ
กันด้วยเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ทำาให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
            3) ระบบสารสนเทศระดั บ องค์ ก ร คือ ระบบ
สารสนเทศที่สนับสนุนการดำาเนินงานขององค์กรในภาพรวม
เป็นการปฏิบัติงานร่วมกันหลาย ๆ แผนก โดยใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ร่วมกันเพื่อประกอบการตัดสินใจ หัวใจสำาคัญของระบบ
สารสนเทศระดับองค์กร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร
ที่จะต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน
เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูล และใช้ทรัพยากรร่วมกันได้

องค์ ป ระกอบของระบบสารสนเทศ

       องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบสนับสนุน
การบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการของบุคคล ไม่ว่าจะ
เป็นระดับบุคคล ระดับกลุ่ม หรือระดับองค์กร ไม่ใช่มีเพียงเครื่อง
คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความ
สำาเร็จของระบบอีก รวมเป็น 5 องค์ประกอบ ซึ่งจะขาดสิ่งหนึ่งสิ่ง
ใดไม่ได้
1) ฮาร์ดแวร์

               หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และ
        อุปกรณ์รอบข้าง เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่อง
        กราดตรวจ รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสาร สำาหรับ
        เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย




        2) ซอฟต์แวร์

                หมายถึง โปรแกรม หรือชุดคำาสั่ง ที่
        สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางาน เพือประมวลผล
                                    ่
        ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ประกอบด้วย
        ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์




        3) ข้อมูล

               ข้อมูล เป็นตัวชี้ความสำาเร็จ หรือ
        ความ ล้มเหลวของระบบได้ ข้อมูลจะต้องมี
        ความถูกต้อง และทันสมัย มีการกลั่นกรอง
        และตรวจสอบแล้ว จึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล
        ประกอบด้วย ข้อความ ตัวเลข แสง เสียง
        ฯลฯ




        4) บุคลากร

                บุคลากร เป็นองค์ประกอบสำาคัญ
        ในความ สำาเร็จของระบบสารสนเทศ เช่น
        บุคลากรระดับผู้ใช้ ผูบริหาร ผูพัฒนาระบบ
                             ้        ้
        นักวิเคราะห์ระบบ และ
        นักเขียนโปรแกรม ยิ่งบุคลากรที่มีความรู้
        ความสามารถ มากเท่าใด ก็จะทำาให้การใช้
        งาน ระบบสารสนเทศคุ้มค่ามากขึ้น



        5) ขั้นตอนการปฏิบัตงาน
                           ิ

                   ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของ
        ผู้ใช้ หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นเรือง
                                              ่
        สำาคัญ เมื่อได้พัฒนาระบบแล้ว จำาเป็นต้อง
        ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอน และในขณะใช้งานก็
        จำาเป็นต้องคำานึงถึง ลำาดับขั้นตอนการปฏิบัติ
        งานของคนและความสัมพันธ์ กับเครื่องทั้ง
        ในกรณีปกติหรือกรณีฉุกเฉิน




ความสำ า คั ญ ของข้ อ มู ล และสารสนเทศ

     ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึง
มีการนำาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้
จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูล
ในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการ
ดำาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือ
องค์การจึงดำาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้อง
ดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การ
โจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสำาคัญที่เกิด
ขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ

          ข้ อ มู ล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ซึ่งอาจจะ
อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดีโอ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยว
กับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม
ข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการการ
เลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการนำาเทคโนโลยีมา
รวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ
สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้น การเตรียมการ
หรือการแก้สถานการณ์จะดำาเนินการได้อย่างทันท่วงที

         สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่มีความ
หมาย สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ หรือ ผลสรุปที่เกิดจากการ
ประมวลผลข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลข ตัว
หนังสือ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ก็ได้ เช่น เกรดเฉลี่ยของนักเรียน
หรือรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในรอบปีที่ผ่านมา

          กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูล เป็นจุดเริ่มต้นของการดำาเนิน
งาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำา ครบ
ถ้วน ดังนั้นผู้ดำาเนินการจะต้องให้ความสำาคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะ
ความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับ
เทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การ
เชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การใช้โทรสาร การใช้
ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (scaner) อ่าน
ข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode)

คุ ณ สมบั ต ิ ข องข้ อ มู ล ที ่ ด ี
เทคโนโลยีสารสนเทศ

More Related Content

What's hot

Amonrat
AmonratAmonrat
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
CUPress
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
kaewwonnesakun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
kruchanon2555
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )phakwan018
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
kruumawan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีchushi1991
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Patchara Akkaraprasit
 

What's hot (18)

Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Viewers also liked

Photo storyboard finished
Photo storyboard finishedPhoto storyboard finished
Photo storyboard finished
FilmBearJR
 
Special collections in the digital age
Special collections in the digital ageSpecial collections in the digital age
Special collections in the digital age
lauraarchives
 
Poster Reseach
Poster ReseachPoster Reseach
Poster Reseach
FilmBearJR
 
Drawn storyboard finished
Drawn storyboard finishedDrawn storyboard finished
Drawn storyboard finished
FilmBearJR
 
Drawn storyboard finished
Drawn storyboard finishedDrawn storyboard finished
Drawn storyboard finished
FilmBearJR
 
NVIDIA Japan Seminar 2012
NVIDIA Japan Seminar 2012NVIDIA Japan Seminar 2012
NVIDIA Japan Seminar 2012Takuro Iizuka
 
Preus innecessaris
Preus innecessarisPreus innecessaris
Preus innecessarishema98
 
Photo storyboard finished
Photo storyboard finishedPhoto storyboard finished
Photo storyboard finished
FilmBearJR
 
Photo Storyboard
Photo StoryboardPhoto Storyboard
Photo Storyboard
FilmBearJR
 
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
Віталій Дячук
 
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобівФінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
Віталій Дячук
 
E-diasporas Atlas
E-diasporas AtlasE-diasporas Atlas
E-diasporas Atlas
TIC-Migrations
 
E diasporas atlasnovember2010
E diasporas atlasnovember2010E diasporas atlasnovember2010
E diasporas atlasnovember2010
TIC-Migrations
 
Reading images final
Reading images finalReading images final
Reading images final
lauraarchives
 
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
Michelle Lee
 
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPUTakuro Iizuka
 
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
Emmett Haniff
 

Viewers also liked (19)

Photo storyboard finished
Photo storyboard finishedPhoto storyboard finished
Photo storyboard finished
 
Special collections in the digital age
Special collections in the digital ageSpecial collections in the digital age
Special collections in the digital age
 
Poster Reseach
Poster ReseachPoster Reseach
Poster Reseach
 
Drawn storyboard finished
Drawn storyboard finishedDrawn storyboard finished
Drawn storyboard finished
 
Drawn storyboard finished
Drawn storyboard finishedDrawn storyboard finished
Drawn storyboard finished
 
NVIDIA Japan Seminar 2012
NVIDIA Japan Seminar 2012NVIDIA Japan Seminar 2012
NVIDIA Japan Seminar 2012
 
Preus innecessaris
Preus innecessarisPreus innecessaris
Preus innecessaris
 
Photo storyboard finished
Photo storyboard finishedPhoto storyboard finished
Photo storyboard finished
 
Photo Storyboard
Photo StoryboardPhoto Storyboard
Photo Storyboard
 
GTC2011 Japan
GTC2011 JapanGTC2011 Japan
GTC2011 Japan
 
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
Фінансовий облік. Облік довгострокових зобов'язань за облігаціями та з фінанс...
 
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобівФінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
Фінансовий облік. Тема: Облік основних засобів
 
E-diasporas Atlas
E-diasporas AtlasE-diasporas Atlas
E-diasporas Atlas
 
E diasporas atlasnovember2010
E diasporas atlasnovember2010E diasporas atlasnovember2010
E diasporas atlasnovember2010
 
TIC-Migrations
TIC-MigrationsTIC-Migrations
TIC-Migrations
 
Reading images final
Reading images finalReading images final
Reading images final
 
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
Motivation influences of dre-main character in karate kid 2010
 
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU
関東GPGPU勉強会 LLVM meets GPU
 
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
Instrumen literasi menulis saringan 2 tahun 3 2014
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Krieangsak Pholwiboon
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
songpop
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
Jenchoke Tachagomain
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
sudjai007
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
Nuttapoom Tossanut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
sakorn patinthu
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. ความหมายของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัด เก็บ ประมวลผล และเผยแพร่สารสนเทศ ซึ่งรวมแล้วก็คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม หรือ Computer and Communications ความหมาย และองค์ ป ระกอบของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มีผู้ให้คำานิยามเกี่ยวกับคำาว่าเทคโนโลยีสารสนเทศไว้ดังนี้ Ellington และ Harris (1986) ให้คำานิยามเทคโนโลยีสารสนเทศ ว่า "เป็นการรับ การประมวลผล และการแจกจ่าย สารสนเทศในรูป แบบเสียง ภาพ เนื้อหาที่เป็นข้อความและ ตัวเลข โดยระบบพื้นฐาน หลักการไมโครอิเล็กทรอนิคร่วมกับคอมพิวเตอร์ และระบบ โทรคมนาคม UNESCO (อ้างถึงใน ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์,2540) ให้คำา นิยามเทคโนโลยีสารสนเทศ และความสัมพันธ์และความสำาคัญที่ น่าสนใจดังนี้คือ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็น วิศวกรรมศาสตร์และการจัดการสำาหรับใช้ในการนำาเสนอและการ จัดการข้อสนเทศกับคอมพิวเตอร์ และการปฏิสัมพันธ์กับคน หรือ ปฏิสัมพันธ์กับเครื่องมืออุปกรณ์ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ" เทคโนโลยีสารสนเทศมีกำาเนิดขึ้นมาเป็นเทคโนโลยีสาขา หนึ่ง โดยเหตุที่เนื่องมาจากเทคนิคการประมวลผลข้อมูล ระบบ โทรคมนาคม การประมวลผลข้อมูลเป็นการจัดให้ในด้านความ สามารถในการประมวลผลและเก็บรักษาสารสนเทศ โดยที่ สารสนเทศสำาหรับโทรคมนาคมเป็นสื่อหรือพาหน์เพื่อการสื่อสาร สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีพัฒนาการก้าวหน้าด้วยสาเหตุ ที่มีองค์ประกอบปัจจัยร่วมสำาคัญคือ การเอื้ออำานวยขององค์ ประกอบปัจจัยต่างๆ และเครื่องมืออุปกรณ์ไมโครอิเล็กทรอนิคที่ ละเอียดซับซ้อน มั่นคง แม่นยำา และราคาเหมาะสม พัฒนาการทา งด้านอิเล็กทรอนิคทั่วโลกได้กระตุ้นให้เกิดการแสวงหาความร่วม มือระหว่างประเทศ ในระบบการประมวลผลข้อมูลและ โทรคมนาคม และได้เริ่มประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระ ดับมหัพภาค นอกจากนี้การนำาเทคโนโลยีและเทคนิควิธีการดิจิตั ลมาใช้ในระบบโทรคมนาคมทำาให้มีส่วนช่วยการประมวลผล ข้อมูลสมัยใหม่ ทำาให้เทคโนโลยีสารสนเทศบังเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว ปัจจุบันมีการนำาเสนอบริการถ่ายทอดดาวเทียมสื่อสาร
  • 2. และทางสายโทรศัพท์ และใยแก้วนำาแสง (optical fibers) สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่าย และให้บริการข้อมูลสารสนเทศ ตลอด จนการสื่อสาร (communication) ข่าวสารได้สะดวก ประหยัดและ มีประสิทธิภาพ" คอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำาเนินชีวิตของมนุษย์ มากขึ้น ได้มีการพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิต ประจำาวันของมนุษย์มากขึ้น เช่น การนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมา ใช้ในสำานักงาน การจัดทำาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้ อุปกรณ์อำานวยความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงให้เห็นว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการคำานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ เริมใช้งานในประเทศไทยเมื่อปี ่ พ.ศ. 2507 มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้ง แรก แต่เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่แพร่หลายมากนัก มีเพียงการ ใช้โทรศัพท์ติดต่อสื่อสาร นำาคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลข้อมูล เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศ เช่น เครื่อง ถ่ายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากร ก็เปลี่ยน มาสู่งานด้านสารสนเทศมากขึ้น โดยเฉพาะสำานักงาน เป็นแหล่งที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากที่สุด งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะมีการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการของมนุษย์ เทคโนโลยีที่ใช้ใน ระบบสารสนเทศที่ได้รับความสนใจมากในขณะนี้คือ เทคโนโลยี สื ่ อ ประสม (Multimedia) เป็นการรวมข้อความ ภาพ เสียง วีดิ ทัศน์ เข้ามาผสมกัน ในอนาคตเทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะช่วย เสริมและสนับสนุนงานด้านสารสนเทศให้ก้าวหน้าต่อไป เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกต์เอา ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม มาทำาให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่อง เกี่ยวข้องกับความจริงของ คน สัตว์ สิ่งของ ทังที่เป็นรูปธรรมและ ้
  • 3. นามธรรม ที่ได้จากการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกค้น และ สื่อสารระหว่างกัน นำามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนำาวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำาให้ สารสนเทศมีประโยชน์และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ระบบเอทีเอ็ม เป็นระบบที่อำานวยความสะดวกสบาย ให้แก่ ผู้ใช้บริการธนาคาร ในปี พ.ศ. 2520 มีการ ใช้เครื่อง เอทีเอ็มเครื่องแรกของโลก โดย ธนาคาร ซิติ้แบงก์ เมืองนิวยอร์ก เริ่มให้บริการฝาก และ ถอนเงินโดยอัตโนมัติ แก่ลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง 2) การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียน ต้องอาศัยข้อมูล จาก การประมวลผลแบบเชื่อมตรง เพื่อให้ สามารถตรวจสอบการลงทะเบียนได้ทันที ว่ามีวิชาอะไรที่เปิดสอนบ้าง วิชาใดมีผู้ สมัครเรียนเต็มแล้ว 3) การให้บริการและการทำาธุรกรรม บนอินเทอร์เน็ต การเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำาให้มีผู้ใช้งานกันอย่างกว้างขวาง สามารถ เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก เพราะทำาได้ง่าย ค่า ใช้จ่ายตำ่า ซึ่งได้แก่ ระบบอีคอมเมิร์ซ (E- Commerce) เป็นการค้าข่ายผ่านระบบเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ทั่วทุกมุมโลก เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ แนวโน้ ม โลก 1) ทำาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็น สังคมสารสนเทศ มีการใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำางาน ทำาให้ เกิดคำาใหม่ว่า ไซเบอร์ส เปซ (cyberspace) มีการทำางานผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง เช่น ห้องสมุด เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ทีทำางานเสมือนจริง เป็นต้น ่
  • 4. 2) เป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรีย์สัมผัส และตอบสนองตาม ความต้องการ เช่น ปัจจุบนการใช้เทคโนโลยีเป็นแบบบังคับ คือ ั จะดูโทรทัศน์ หรือฟังวิทยุ ก็จะต้องชมตามตารางเวลาที่สถานี กำาหนดให้ ถ้าผิดเวลาก็ทำาให้พลาดรายการไป แต่แนวโน้มจากนี้ ไปจะมีการเปลี่ยนแปลง คือ จะมีทวีออนดีมานด์ (TV on ี demand) คือ เมื่อต้องการชมภาพยนต์เรื่องใดก็เลือกชม และดูได้ ตั้งแต่ต้นรายการ หรือเลือกเรียนตามต้องการได้ เรียกว่า เป็นระบบ การตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 3) ทำาให้เกิดสภาพการทำางานแบบทุกสถานทีและ่ ทุกเวลา เช่น ระบบประชุมทางวีดีทัศน์ ระบบประชุมผ่านเครือข่าย ระบบการศึกษาบนเครือข่าย เป็นต้น องค์ ป ระกอบพื ้ น ฐานของคอมพิ ว เตอร์ หากเปรียบเทียบกับมนุษย์ สามารถทำางานต่าง ๆ ให้สำาเร็จ ลุล่วงได้เนื่องจากมีสมองที่ช่วยในการคิดคำานวณ ตัดสินใจ และ ออกแบบงาน ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีองค์ประกอบต่าง ๆ มาทำาหน้าที่คล้ายสมองคน เพื่อให้งานสำาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ดังนั้น กระบวนการทำางานของ คอมพิวเตอร์ จึงประกอบด้วยองค์ประกอบ พื้นฐาน 5 ส่วน ดังรูปที่ 1 กระบวนการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะเริ่ม จากผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านทาง หน่วยรับเข้า (Input) ซึ่งได้แก่ แผงแป้นอักขระ เมาส์ โดยข้อมูลที่ป้อนเข้าไป จะได้รับการ เปลียนแปลงให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัล คือ เลข 0 และ 1 คำา ่
  • 5. สั่งและข้อมูลดังกล่าวจะถูกส่งต่อไปยัง หน่วยประมวลผลกลาง (Process) เพื่อประมวลผลตามคำาสั่งต่อไป ในระหว่างการประมวล ผลหากมีคำาสั่งให้นำาผลลัพธ์จากการประมวลผล ไปจัดเก็บใน หน่วยความจำาหลัก ซึงจะทำาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผล ่ เป็นการชั่วคราว เรียกว่า แรม (Random Access Memory : RAM) และในขณะเดียวกัน อาจมีคำาสั่งให้นำาผลลัพธ์จากการ ประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผลผ่านทาง หน่วยส่งออก (Output) ซึ่งอาจเป็น จอภาพ (Mornitor) หรือ เครื่องพิมพ์ (Printer) นอกจากนี้ยงสามารถบันทึกข้อมูลที่อยู่ในแรมลงใน ั หน่วยความจำารอง ได้แก่ แผ่นบันทึก (Floppydisk) ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory : CD-ROM) เพื่อนำาข้อมูล ดังกล่าวออกมาใช้อีกในอนาคตได้ โดยการอ่านข้อมูลจาก แผ่น บันทึกในสื่อ ผ่านทางเครื่องขับ (Drive) ในปัจจุบัน มีการคิดค้น หน่วยความจำาสำารองที่พฒนามาจาก หน่วยความจำาหลัก ทีเรียก ั ่ ว่า รอม (Read Only Memory : ROM) ทำาให้สามารถบันทึก ข้อมูลได้ปริมาณมากขึ้น และมีขนาดเล็ก สะดวกต่อการพกพา ซึ่ง มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น handy drive , (สามารถเก็บข้อมูลได้ เหมือนฮาร์ดดิสก์ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการ และ เก็บข้อมูลได้แม้ไม่ได้ต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์) และ flash memory (สามารถเก็บข้อมูลได้เหมือนแผ่นบันทึก มีขนาดเล็ก เท่ากับนิ้วมือ ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยพอร์ตยูเอสบี เป็นต้น ระบบสารสนเทศ รัฐบาลได้เห็นความสำาคัญของระบบข้อมูล ที่มีเทคโนโลยี ทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเป็นตัวนำา ในปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทยได้ประกาศอย่างเป็นทางการ ให้เป็นปีแห่งเทคโนโลยี สารสนเทศไทย และจะมีบทบาทสำาคัญในการพัฒนาและผลักดัน ให้เกิดการใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้ง ในด้านทรัพยากรมนุษย์ วัสดุอุปกรณ์ และเวลา โดยได้ลงทุน โครงการพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นจำานวนมาก เช่น การขยายระบบโทรศัพท์ การขยายเครือข่ายสื่อสาร การ สร้างระบบฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ การสร้างระบบจัดเก็บภาษี และระบบศุลกากรด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
  • 6. สังคมความเป็นอยู่ และการทำางานของมนุษย์ มีการรวมกลุ่ม เป็นประเทศ มีการจัดองค์กรเป็นหน่วยงานของรัฐบาลและเอกชน ภายในองค์กรก็มีการแบ่งย่อยลงเป็นกลุ่ม เป็นแผนก เป็นหน่วย งาน ภายในหน่วยงานย่อยก็มีระดับบุคคล ระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวข้องกับองค์กร จึงแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) ระบบสารสนเทศระดั บ บุ ค คล คือ ระบบที่เสริม ประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่มีความ สามารถในการประมวลผลข้อมูลด้วยความเร็วสูงขึ้น ใช้งานได้ ง่าย กว้างขวาง และ คุ้มค่ามากขึ้น 2) ระบบสารสนเทศระดั บ กลุ ่ ม คือ ระบบสารสนเทศ ที่ช่วยเสริมการทำางานของกลุ่มบุคคล ที่มีเป้าหมายการทำางานร่วม กัน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป้าหมายของการทำางานเป็นกลุ่ม คือ การเตรียมสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออำานวยประโยชน์ ในการ ทำางานเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางก็คือ การทำาให้ เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยเฉพาะข้อมูลและอุปกรณ์ เทคโนโลยีพื้นฐาน เช่น การนำาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมต่อ กันด้วยเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ทำาให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 3) ระบบสารสนเทศระดั บ องค์ ก ร คือ ระบบ สารสนเทศที่สนับสนุนการดำาเนินงานขององค์กรในภาพรวม เป็นการปฏิบัติงานร่วมกันหลาย ๆ แผนก โดยใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันเพื่อประกอบการตัดสินใจ หัวใจสำาคัญของระบบ สารสนเทศระดับองค์กร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร ที่จะต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูล และใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ องค์ ป ระกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ซึ่งเป็นระบบสนับสนุน การบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการของบุคคล ไม่ว่าจะ เป็นระดับบุคคล ระดับกลุ่ม หรือระดับองค์กร ไม่ใช่มีเพียงเครื่อง คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความ สำาเร็จของระบบอีก รวมเป็น 5 องค์ประกอบ ซึ่งจะขาดสิ่งหนึ่งสิ่ง ใดไม่ได้
  • 7. 1) ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่อง กราดตรวจ รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสาร สำาหรับ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย 2) ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรม หรือชุดคำาสั่ง ที่ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางาน เพือประมวลผล ่ ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ 3) ข้อมูล ข้อมูล เป็นตัวชี้ความสำาเร็จ หรือ ความ ล้มเหลวของระบบได้ ข้อมูลจะต้องมี ความถูกต้อง และทันสมัย มีการกลั่นกรอง และตรวจสอบแล้ว จึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล ประกอบด้วย ข้อความ ตัวเลข แสง เสียง ฯลฯ 4) บุคลากร บุคลากร เป็นองค์ประกอบสำาคัญ ในความ สำาเร็จของระบบสารสนเทศ เช่น บุคลากรระดับผู้ใช้ ผูบริหาร ผูพัฒนาระบบ ้ ้ นักวิเคราะห์ระบบ และ นักเขียนโปรแกรม ยิ่งบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ มากเท่าใด ก็จะทำาให้การใช้ งาน ระบบสารสนเทศคุ้มค่ามากขึ้น 5) ขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของ ผู้ใช้ หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นเรือง ่ สำาคัญ เมื่อได้พัฒนาระบบแล้ว จำาเป็นต้อง ปฏิบัติงาน ตามขั้นตอน และในขณะใช้งานก็ จำาเป็นต้องคำานึงถึง ลำาดับขั้นตอนการปฏิบัติ งานของคนและความสัมพันธ์ กับเครื่องทั้ง ในกรณีปกติหรือกรณีฉุกเฉิน ความสำ า คั ญ ของข้ อ มู ล และสารสนเทศ ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึง มีการนำาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้ จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูล ในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการ
  • 8. ดำาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือ องค์การจึงดำาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้อง ดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การ โจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสำาคัญที่เกิด ขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ ข้ อ มู ล (data) คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ซึ่งอาจจะ อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดีโอ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยว กับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการการ เลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการนำาเทคโนโลยีมา รวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้น การเตรียมการ หรือการแก้สถานการณ์จะดำาเนินการได้อย่างทันท่วงที สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่มีความ หมาย สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ หรือ ผลสรุปที่เกิดจากการ ประมวลผลข้อมูลที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลข ตัว หนังสือ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ก็ได้ เช่น เกรดเฉลี่ยของนักเรียน หรือรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในรอบปีที่ผ่านมา กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูล เป็นจุดเริ่มต้นของการดำาเนิน งาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำา ครบ ถ้วน ดังนั้นผู้ดำาเนินการจะต้องให้ความสำาคัญที่จุดนี้โดยเฉพาะ ความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึงผูกพันกับ เทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การ เชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การใช้โทรสาร การใช้ ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (scaner) อ่าน ข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode) คุ ณ สมบั ต ิ ข องข้ อ มู ล ที ่ ด ี