SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ใบความรู้ท ี่ 1
                    เรื่อ ง การสื่อ สารข้อ มูล

ความหมายของการสื่อ สารข้อ มูล
      การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง
กระบวนการถ่ายโอน หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์
เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและผู้รับเกิด ความเข้าใจซึ่งกัน
                                   ู้
และกัน




ส่ว นประกอบของระบบสื่อ สารข้อ มูล
       1. ผู้ส่ง (Sender) หรือแหล่งกำาเนิดข่าวสาร เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่
เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
                             ู
      2. ผู้รับ (Receiver) หรือจุดหมายปลายทางเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่
รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องพิมพ์เครื่องรับโทรทัศน์ โทรศัพท์
เป็นต้น
      3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อ
นำาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูล อาจเป็นสายคู่บิด
เกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทาง
อากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุ
ผ่านดาวเทียม
      4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่ง
ผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information)
ข่าวสารที่ส่งไปจะต้องได้รับการเข้ารหัส (Encoding) เพื่อส่งผ่านสื่อ
กลาง เมื่อปลายทางได้รับข้อมูลก็จะทำาการถอดรหัส (Decoding) ให้
กลับมาเป็นข้อมูลดั้งเดิมเช่นเดียวกับที่จะส่งมาโดยแบ่งข้อมูลข่าวสาร
เป็น 5 รูปแบบ ดังนี้
        4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วย
รหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้
ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
        4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียง
กันไปตามขนาดของรูปภาพ
        4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข
และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
        4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการ
รวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
      5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการ
สื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกัน หรือคุยกันรู้เรื่อง
โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว กล่าวคือ
ในการสื่อสารระหว่างต้นทางไปยังปลายทางจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทั้งสอง
ฝ่ายต่างสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ โดยโปรโตคอลจะเปรียบเสมือน
ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลางเพื่อให้ฝ่ายส่งข้อมูลและฝ่ายรับข้อมูลสามารถ
สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ เพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติตามข้อตกลงได้อย่าง
ถูกต้อง และส่งผลให้การสื่อสารทั้งสองฝ่ายเกิดผลสัมฤทธิ์ในที่สุด
ตัวอย่างเช่น คนไทยใช้ภาษาไทยคุยกันย่อมเข้าใจความหมายของกัน
และกัน ในทางตรงกันข้ามคนฝรั่งกับคนญี่ปุ่นคุยกันคนละภาษาย่อม
สื่อสารพูดคุยกันไม่เข้าใจ

คุณ สมบัต ิพ ื้น ฐาน 3 ประการของการสื่อ สารข้อ มูล
      1. การส่ง มอบ (Delivery)
      ระบบจะต้องสามารถส่งมอบข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางได้
อย่างถูกต้อง ข้อมูลที่ส่งไปจะต้องไปยังอุปกรณ์ตามจุดมุ่งหมายที่
ต้องการ
      2. ความถูก ต้อ งแน่น อน (Accuracy)
      ระบบสื่อสารจะต้องส่งมอบข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรง สำาหรับระบบ
การสื่อสารที่ดี ควรมีการส่งสัญญาณเตือนไปยังผู้ส่ง/ผู้รับให้รับทราบ
กรณีที่การส่งข้อมูลในขณะนั้นล้มเหลวหรือข้อมูลสูญหาย
      3. ระยะเวลา (Timeliness)
      ระบบจะต้องส่งมอบข้อมูลไปยังปลายทางภายในระยะเวลาที่เหมาะ
สม ทันต่อเหตุการณ์ในการนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์

ประโยชน์ข องการสื่อ สารข้อ มูล
           1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บ
ซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่น
บันทึกที่มีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้
มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สำาหรับ การสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่าน
สายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200
หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซำ้า
ใหม่อีก
          2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่ง
ข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการ
รับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับ มีความถูกต้อง โดยอาจ
ให้ทำาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้
                               ิ
โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
          3) ความเร็วของการทำางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะ
เดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทำาให้การใช้คอมพิวเตอร์ ส่งข้อมูลจาก
ซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาด
ใหญ่ สามารถทำาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทำาให้ผู้ใช้สะดวก
สบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุก
เที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทำาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถ
ทำาได้ทันที
          4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็น
เครือข่าย เพื่อส่งหรือสำาเนาข้อมูล ทำาให้ราคาต้นทุน ของการใช้ข้อมูล
ประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กัน
และกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้

ทิศ ทางการส่ง ข้อ มูล (Data Transmission)
      มีรูปแบบทิศทางของการสื่อสาร 3 แบบ คือ
      1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission)
      เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำาหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่าง
เดียว และผู้รับข้อมูลก็ทำาหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียวด้วยเช่นกัน
การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ไป
ยังเครื่องรับโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำาหน้าที่ส่ง
สัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำาหน้าที่รับสัญญาณเท่านั้น
เช่นกัน
2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex-
Transmission)
      เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง
โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล แต่จะต้องสลับกันทำา
หน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล จะเป็นผู้ส่งพร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการ
ส่งข้อมูลประเภทนี้ เช่น การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร




      3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex
Transmission)
      เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับ
ข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและผู้รับข้อมูลได้ในเวลา
เดียวกัน และสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันลักษณะการส่งข้อมูลแบบสอง
ทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโทรศัพท์ ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถพูด
พร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4Anisra Roya
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์hisogakung
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 

What's hot (18)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
เครือข่ายสังคมออนไลน์[1]
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล

2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอมNattanaree
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptx
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptxหน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptx
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptxssuser5d9f4f
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3sawitri555
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารTuaLek Kitkoot
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล (20)

2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptx
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptxหน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptx
หน่วยที่ 1 การสื่อสารข้อมูล.pptx
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 

ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล

  • 1. ใบความรู้ท ี่ 1 เรื่อ ง การสื่อ สารข้อ มูล ความหมายของการสื่อ สารข้อ มูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอน หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผส่งและผู้รับเกิด ความเข้าใจซึ่งกัน ู้ และกัน ส่ว นประกอบของระบบสื่อ สารข้อ มูล 1. ผู้ส่ง (Sender) หรือแหล่งกำาเนิดข่าวสาร เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ใน การส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่ เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น ู 2. ผู้รับ (Receiver) หรือจุดหมายปลายทางเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องพิมพ์เครื่องรับโทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อ นำาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูล อาจเป็นสายคู่บิด เกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทาง อากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุ ผ่านดาวเทียม 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่ง ผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) ข่าวสารที่ส่งไปจะต้องได้รับการเข้ารหัส (Encoding) เพื่อส่งผ่านสื่อ กลาง เมื่อปลายทางได้รับข้อมูลก็จะทำาการถอดรหัส (Decoding) ให้ กลับมาเป็นข้อมูลดั้งเดิมเช่นเดียวกับที่จะส่งมาโดยแบ่งข้อมูลข่าวสาร เป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วย รหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
  • 2. 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียง กันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการ รวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการ สื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถเข้าใจกัน หรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว กล่าวคือ ในการสื่อสารระหว่างต้นทางไปยังปลายทางจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทั้งสอง ฝ่ายต่างสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ โดยโปรโตคอลจะเปรียบเสมือน ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลางเพื่อให้ฝ่ายส่งข้อมูลและฝ่ายรับข้อมูลสามารถ สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ เพื่อนำาไปสู่การปฏิบัติตามข้อตกลงได้อย่าง ถูกต้อง และส่งผลให้การสื่อสารทั้งสองฝ่ายเกิดผลสัมฤทธิ์ในที่สุด ตัวอย่างเช่น คนไทยใช้ภาษาไทยคุยกันย่อมเข้าใจความหมายของกัน และกัน ในทางตรงกันข้ามคนฝรั่งกับคนญี่ปุ่นคุยกันคนละภาษาย่อม สื่อสารพูดคุยกันไม่เข้าใจ คุณ สมบัต ิพ ื้น ฐาน 3 ประการของการสื่อ สารข้อ มูล 1. การส่ง มอบ (Delivery) ระบบจะต้องสามารถส่งมอบข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางได้ อย่างถูกต้อง ข้อมูลที่ส่งไปจะต้องไปยังอุปกรณ์ตามจุดมุ่งหมายที่ ต้องการ 2. ความถูก ต้อ งแน่น อน (Accuracy) ระบบสื่อสารจะต้องส่งมอบข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรง สำาหรับระบบ การสื่อสารที่ดี ควรมีการส่งสัญญาณเตือนไปยังผู้ส่ง/ผู้รับให้รับทราบ กรณีที่การส่งข้อมูลในขณะนั้นล้มเหลวหรือข้อมูลสูญหาย 3. ระยะเวลา (Timeliness) ระบบจะต้องส่งมอบข้อมูลไปยังปลายทางภายในระยะเวลาที่เหมาะ สม ทันต่อเหตุการณ์ในการนำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประโยชน์ข องการสื่อ สารข้อ มูล 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บ ซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่น บันทึกที่มีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้
  • 3. มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สำาหรับ การสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซำ้า ใหม่อีก 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่ง ข้อมูลนั้นมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการ รับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับ มีความถูกต้อง โดยอาจ ให้ทำาการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้ ิ โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้ 3) ความเร็วของการทำางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะ เดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทำาให้การใช้คอมพิวเตอร์ ส่งข้อมูลจาก ซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาด ใหญ่ สามารถทำาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทำาให้ผู้ใช้สะดวก สบายยิ่งขึ้น เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุก เที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทำาให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถ ทำาได้ทันที 4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็น เครือข่าย เพื่อส่งหรือสำาเนาข้อมูล ทำาให้ราคาต้นทุน ของการใช้ข้อมูล ประหยัดขึ้น เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น สามารถส่งข้อมูลให้กัน และกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้ ทิศ ทางการส่ง ข้อ มูล (Data Transmission) มีรูปแบบทิศทางของการสื่อสาร 3 แบบ คือ 1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำาหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่าง เดียว และผู้รับข้อมูลก็ทำาหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียวด้วยเช่นกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ไป ยังเครื่องรับโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำาหน้าที่ส่ง สัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำาหน้าที่รับสัญญาณเท่านั้น เช่นกัน
  • 4. 2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex- Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล แต่จะต้องสลับกันทำา หน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล จะเป็นผู้ส่งพร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการ ส่งข้อมูลประเภทนี้ เช่น การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร 3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับ ข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและผู้รับข้อมูลได้ในเวลา เดียวกัน และสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันลักษณะการส่งข้อมูลแบบสอง ทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโทรศัพท์ ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถพูด พร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน