SlideShare a Scribd company logo
ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
อ. พิภัช ดวงคาสวัสดิ์
พ.ศ. 2555
บทที่ 2
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบสารสนเทศ
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
„บอกความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้
„อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบที่สาคัญๆ ได้
„อธิบายความหมายของการออกแบบและการออกแบบมีหลักการพื้นฐานได้
„อธิบาย การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human Computer
Interaction) ได้
„อธิบาย Look and Feel และ GUI (Graphical User Interface) มีความหมาย
ต่างกันหรือเหมือนกันพร้อมยกตัวอย่างประกอบการอธิบายได้
บทที่ 2
ความสาคัญระหว่างมนุษย์กับระบบสารสนเทศ
1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and
communication Technology:ICT) คือเทคโนโลยีทุก
ด้านที่เข้ามาร่วมกันในการะบวนการจัดเก็บ สร้างและสื่อสารสารสนเทศ
ดังนั้นจึงครอบคุมเทคโนโลยีต่างๆที่ใช้ในกระบวนการข้างต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information technology หรือ IT) หมายถึง
เทคโนโลยีสาหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การ
จัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐาน
ทางเทคโนโลยี
สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
 คอมพิวเตอร์ ยกตัวอย่างเช่น เซิร์ฟเวอร์ (คอมพิวเตอร์)
 การสื่อสาร ของระบบเครือข่าย (การสื่อสาร)
ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย คือ มีการส่งข้อมูลต่างๆ ไปยังเครื่องลูก (ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย)
องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทางานร่วมกัน เป็นองค์ประกอบในบางครั้งจะมี
การใช้ชื่อว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information and communications
technology ย่อว่า ICT)
1. เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information technology หรือ IT)
มีองค์ประกอบที่สาคัญ 6 องค์ประกอบที่สาคัญ (เน้นในการออกแบบ)
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)ซึ่งได้แก่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อ
2. ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งได้แก่โปรแกรมต่างๆสาหรับประมวลผลข้อมูล
3. ข้อมูล (Data )ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในการทางาน
4. กระบวนการวิธี(Procedures) ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน
5. บุคลากร(People)ซึ่งทาหน้าที่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
6. ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล(Network and Data Communication)
2. องค์ประกอบระบบสารสนเทศ
หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้
(รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่ง
สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4
หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละ
หน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน
2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง ส่วนชุดคาสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็น
ส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยัง
สามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ
หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ คาว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้
ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์(John W. Turkey) ในปี พ.ศ.
2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกใน
เรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่า
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็น
โปรแกรมที่ใช้สาหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส
2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)
ความสาคัญของข้อมูลสารสนเทศ (Data and Information) ข้อมูล
(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน
สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถนาไป
ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้
ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร
เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการ
ประมวลผลและสามารถนามาใช้ ประเภทของข้อมูล
2.3 ข้อมูล (Data)
ข้อมูลที่สามารถนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้มี 5 ประเภท คือ
1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไปคานวณ
ได้เช่น จานวนเงินเดือน ราคาสินค้า
2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกุล ที่
อยู่
3. ข้อมูลเสียง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงพูด
4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจุดสีต่าง ๆเมื่อนามาเรียงต่อกันแล้วเกิด
รูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าย ภาพลายเส้น เป็นต้น
5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น
ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่ายด้วยกล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทา
จากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น
ข้อมูล (Data)
กระบวนการวิธี (Procedures) หมายถึง ขั้นตอนกระบวนการทางาน
พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้เพื่อสามารถใช้
งานได้อย่างถูกต้อง การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรนั้นจะต้องไป
สัมพันธ์กับผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ และมีความซับซ้อน จึงจาต้องมีระเบียบ
ปฏิบัติหรือคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
หมายถึงกลุ่มของคาสั่งหรือกฎ ที่แนะนาวิธีการปฏิบัติงานกับ
คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ ซึ่งอาจได้แก่การแนะนาการควบคุม
การเข้าใช้งานคอมพิวเตอร์, วิธีการสารองสารสนเทศในระบบและวิธี
จัดการกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้
2.4 กระบวนการวิธี (Procedures)
1. ค้นปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and
Objective)
2. ศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs)
4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System)
5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Debeloping and Documenting
Software)
6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System)
7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System)
ตัวอย่างกระบวนการวิธี (Procedures)
คุณสมบัติของบุคลากร (People ware) เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
1) ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้
จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่ง
เป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาด
ได้ โครงสร้าง ข้อมูล ที่ออก แบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้
ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่
มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การ
ออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้
2.5 บุคลากร (People ware)
2) ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ
ต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตี ความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์
หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้
3) ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ
ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการ
ใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4) ความชัดเจน และกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ
จัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้มี
การใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจ
เพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึก
หรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
ตาแหน่งงานบุคลากรในสายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีตาแหน่ง
งาน จะมีตาแหน่งงานหลายกลุ่มหรือหลายสายงาน อาทิ กลุ่มพัฒนาระบบ
สารสนเทศ เป็นกลุ่มที่ทาหน้าที่พัฒนาระบบสารสนเทศต่างๆ ที่หน่วยงาน
จาเป็นต้องใช้ เช่น ระบบบุคลากรระบบบัญชีระบบพัสดุ ระบบสารสนเทศเพื่อ
การจัดการต่างๆ กลุ่มงานนี้จาเป็นมากหากหน่วยงานมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบ
สารสนเทศต่างๆ เอง บุคลากรในกลุ่มนี้อาจจะมี
นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analyst) ทาหน้าที่วิเคราะห์ ความต้องการด้าน
สารสนเทศและออกแบบระบบสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทางานโดยใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือได้สะดวก
 นักเขียนโปรแกรม Programmer ทาหน้าที่เขียนและทดสอบโปรแกรมต่างๆ เพื่อใช้ใน
หน่วยงาน
 ผู้บริหารฐานข้อมูล Database Administrator ทาหน้าที่วางแผนและควบคุมานข้อมูลหลัก
ของทั้งหน่วยงานเป็นผู้ประสานงานกับทีมงานพัฒนาระบบด้านการใช้ฐานข้อมูล
 กลุ่มงานข้อมูล เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลเรื่องข้อมูลต่างๆ ที่หน่วยงานต้องใช้
นับตั้งแต่การบันทึกข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และการจัดเก็บต้นฉบับ
ฟอร์มข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิง กลุ่มงานนี้อาจจะมีความสาคัญน้อยลงในอนาคตเมื่อมีการ
จัดหาอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกข้อมูลจากจุดที่เกิดข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง
นอกจากนั้นยังเป็นเพราะหน่วยงานหลายแห่งเริ่มกระจายการบันทึกข้อมูลออกไปให้ผู้ใช้
ดาเนินการเอง กลุ่มงานนี้อาจประกอบด้วย
 พนักงานบันทึกข้อมูล ทาหน้าที่บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
 พนักงานสอบทางข้อมูลทาหน้าที่ตรวจว่าข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น
ถูกต้องตามต้นฉบับหรือไม่
 พนักงานลงรหัสข้อมูล ทาหน้าที่กาหนดรหัสข้อมูลลงในแบบฟอมร์ข้อมูลก่อนส่งให้
พนักงานบันทึกข้อมูล
กลุ่มงานปฏิบัติการ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
สื่อสาร ควบคุมดูแลการใช้งานประจาวันจัดทารายงานการใช้อุปกรณ์ และปัญหาขัดข้องที่
เกิดขึ้นระหว่างการใช้งาน กลุ่มงานนี้ประกอบด้วย
กลุ่มงานสื่อสาร เป็นกลุ่มงานที่ทาน้าที่ดูแลระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารต่างๆ ของหน่วยงาน บุคลากรในกลุ่มนี้
ได้แก่
 ผู้บริหารระบบเครือข่าย Network Administrator หรือบางทีเรียกว่า
System Administrator ทาหน้าที่วางแผนละจัดหาอุปกรณ์สื่อสาร
ควบคุมและให้การดาเนินงานด้านระบบเครือขายให้ดาเนินไปอย่าง
ราบรื่น
 วิศวกรสื่อสาร Communication Engineer ทาหน้าที่เกี่ยวกับการติดตั้ง
ตรวจสอบและปฏิบัติงานกับอุปกรณ์สื่อสารและซอฟต์แวร์สื่อสาร
ต่างๆ
องค์ประกอบที่สาคัญๆ ของการสื่อสารข้อมูล
1) ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมี
หน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2) ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับ
โทรทัศน์ เครื่องพิมพ์เป็นต้น
3) สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทาง
อากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
2.6 เครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล
(Network and Data Communication)
5. บุคลากร (People ware)
คุณสมบัติของบุคลากร (People ware) เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
1. ความถูกต้องของข้อมูล
2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน ได้ข้อมูลมาทันต่อการใช้งาน
3. ความสมบูรณ์ ขึ้นอยู่กับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฎิบัติ
4. ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมาก จาเป็นต้องมีการออกแบบ
โครงสร้างข้อมูลที่ดี
5. ความสอดคล้อง มีการสารัจเพื่อหาความต้องการ ดูสภาพการใช้ข้อมูล
6. เครือข่ายและการศึกษาข้อมูล
(Network and Data Communication)
คือการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่มีความสามารถในการรับส่งข้อมูล
ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันการสื่อสารข้อมูลคือ
ตัวกลางที่ทาหน้าที่เชื่อมโยงอุปกรณ์สื่อสารต่างๆเพื่อส่งข้อมูลระหว่างกัน
องค์ประกอบสาคัญของการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่ง(sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร
2. ผูรับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมา
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลางเป็นเส้นทางการสื่อสารจากต้นทางไป
ยังปลายทาง
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปใน
ระบบสื่อสาร ซึ่งถูกเรียกว่าสารสนเทศ (Information)
3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และการออกแบบ
ความสาคัญ การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์
(Human Computer Interaction) คือวินัยทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ การสนับสนุนผู้ช้ในการพัฒนาประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ในด้านนี้ การสร้างระบบที่ตองสนองต่อความต้องการของผู้ใช้
เป็นหลัก การวิเคราะห์การใช้งาน ผลกระทบของมนุษย์กับสภาวะ
แวดล้อมมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องและมีความรู้ความเข้าใจใน
ด้านจิตวิทยา
3.1 . กรณีศึกษา Look and Feel ของโปรแกรมวินโดวส์
3.1.1 อะไรคือการออกแบบหน้าจอ
การออกแบบหน้าจอเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีการทางานเชื่อมประสานระหว่าง
มนุษย์กับคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า (User Interface) ซึ่งศัพท์คานี้ได้รับการ
บัญญัติไว้ในพจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถานว่าหมายถึง “ตัวเชื่อม
ประสานกับผู้ใช้”
ปัญหาสาคัญของคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ คือความล่าช้าในการประมวลผล และ
เครื่องพิมพ์กับคอมพิวเตอร์แยกอิสระออกจากกัน ทาให้เกิดการทางานสองจังหวะ ทาให้
เกิดความยุ่งยากในการใช้เวลามาก
ต่อมาจึงมีการพัฒนาอินเตอร์เฟสให้มีความสะดวกมากขึ้นโดยนาแป้นพิมพ์มาใช้ใน
การป้อนคาสั่งป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่อง การสั่งงานจากผู้ใช้มีความสะดวกมากขึ้น และช่วย
แก้ปัญหาความล่าช้า เพราะผู้ใช้ใช้แป้นพิม พิมคาสั่งได้โดยทันที
วิวัฒนาการที่สาคัญที่สุดของยูสเซอร์อินเตอร์เฟซก็คือ การใช้จอโทรภาพ
(Cathode-ray Tube) เป็นเครื่องแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ ภาพที่แสดงออกอยู่
ในรูปของ Soft Copy ซึ่งสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ทันที ช่วยให้ผู้ใช้มีความ
สะดวกมากขึ้น
3.1.2 ต้นกาเนิดของ GUI จากไอเดียของซีร็อกซ์
แม้การนาจอภาพและแป้นพิมพ์มาใช้จะช่วยให้เกิดความสะดวก แต่ผู้ใช้ยังรู้สึกไม่
สะดวกในการจดจาคาสั่งที่ทางาน จึงได้หาวิธีที่ง่ายและสะดวกในการใช้งานระหว่าง
ผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ บริษัทซีร็อกซ์เป็นบริษัทแรกที่ใช้ GUI (Graphical
User Interface) เพื่อลดปัญหาความยุ่งยากและการจดจาคาสั่ง มาใช้เป็นภาพ
สัญลักษณ์แทน
ความสาเร็จจากการทดลอง ทาให้ผู้ใช้สามารถเลือกคาสั่งจากเมนูเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ปฎิบัติงานตามต้องการได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ด้าน
ภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นของ GUI คือการนาระบบวินโดว์ (Window
System) มาใช้ประกอบในการออกแบบหน้าจอนั่นเอง
แบบฝึกหัดบทที่ 2
1. จงบอกความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
2. จงอธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบที่
สาคัญๆ อะไรบ้าง
3. จงอธิบาย การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human
Computer Interaction) คืออะไร
4. จงอธิบาย Look and Feel และ GUI (Graphical User Interface) มี
ความหมายต่างกันหรือเหมือนกันพร้อมยกตัวอย่างประกอบการ
อธิบาย

More Related Content

What's hot

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
Ict Krutao
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
week1-1
week1-1week1-1
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
pretest (1)
pretest (1)pretest (1)
pretest (1)
Supaksorn Tatongjai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Thawatchai2541
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
Mnr Prn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
Rachanok Songsang
 
Amonrat
AmonratAmonrat
คอม
คอมคอม
คอม
thidaporn uankam
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
ครู อินดี้
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
amphaiboon
 

What's hot (18)

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
week1-1
week1-1week1-1
week1-1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
pretest (1)
pretest (1)pretest (1)
pretest (1)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 

Viewers also liked

Form interaction
Form interactionForm interaction
Form interaction
Yaowaluck Promdee
 
Program Interface
Program Interface Program Interface
Program Interface
Yaowaluck Promdee
 
Dc282 hci technology
Dc282 hci technologyDc282 hci technology
Dc282 hci technology
ajpeerawich
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวadd17m01y2528
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 

Viewers also liked (7)

345635
345635345635
345635
 
Form interaction
Form interactionForm interaction
Form interaction
 
Program Interface
Program Interface Program Interface
Program Interface
 
546656
546656546656
546656
 
Dc282 hci technology
Dc282 hci technologyDc282 hci technology
Dc282 hci technology
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 

Similar to Ict300_2_edit

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Krieangsak Pholwiboon
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทวัญ ภูพานทอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
Anisra Roya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
ครู อินดี้
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
Worksheet 2-8
Worksheet 2-8Worksheet 2-8
Worksheet 2-8
Kwang Hydra
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 

Similar to Ict300_2_edit (20)

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
Worksheet 2-8
Worksheet 2-8Worksheet 2-8
Worksheet 2-8
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
1
11
1
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 

More from Nicemooon

Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_editNicemooon
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_editNicemooon
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_editNicemooon
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_editNicemooon
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_editNicemooon
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_editNicemooon
 

More from Nicemooon (6)

Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_edit
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_edit
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_edit
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_edit
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_edit
 

Ict300_2_edit

  • 2. วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ „บอกความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ „อธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบที่สาคัญๆ ได้ „อธิบายความหมายของการออกแบบและการออกแบบมีหลักการพื้นฐานได้ „อธิบาย การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) ได้ „อธิบาย Look and Feel และ GUI (Graphical User Interface) มีความหมาย ต่างกันหรือเหมือนกันพร้อมยกตัวอย่างประกอบการอธิบายได้
  • 3. บทที่ 2 ความสาคัญระหว่างมนุษย์กับระบบสารสนเทศ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and communication Technology:ICT) คือเทคโนโลยีทุก ด้านที่เข้ามาร่วมกันในการะบวนการจัดเก็บ สร้างและสื่อสารสารสนเทศ ดังนั้นจึงครอบคุมเทคโนโลยีต่างๆที่ใช้ในกระบวนการข้างต้น
  • 4. เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information technology หรือ IT) หมายถึง เทคโนโลยีสาหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การ จัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐาน ทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่  คอมพิวเตอร์ ยกตัวอย่างเช่น เซิร์ฟเวอร์ (คอมพิวเตอร์)  การสื่อสาร ของระบบเครือข่าย (การสื่อสาร) ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย คือ มีการส่งข้อมูลต่างๆ ไปยังเครื่องลูก (ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย) องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทางานร่วมกัน เป็นองค์ประกอบในบางครั้งจะมี การใช้ชื่อว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information and communications technology ย่อว่า ICT) 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information technology หรือ IT)
  • 5. มีองค์ประกอบที่สาคัญ 6 องค์ประกอบที่สาคัญ (เน้นในการออกแบบ) 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)ซึ่งได้แก่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อ 2. ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งได้แก่โปรแกรมต่างๆสาหรับประมวลผลข้อมูล 3. ข้อมูล (Data )ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในการทางาน 4. กระบวนการวิธี(Procedures) ใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน 5. บุคลากร(People)ซึ่งทาหน้าที่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ 6. ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล(Network and Data Communication) 2. องค์ประกอบระบบสารสนเทศ
  • 6. หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละ หน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน 2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
  • 7. หมายถึง ส่วนชุดคาสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็น ส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยัง สามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ คาว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์(John W. Turkey) ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกใน เรียงความของแอลัน ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ กล่าวกันว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน เป็น โปรแกรมที่ใช้สาหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส 2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)
  • 8. ความสาคัญของข้อมูลสารสนเทศ (Data and Information) ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถนาไป ประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้สามารถเรียกเอามาใช้ ประโยชน์ได้ในภายหลัง โดยข้อมูลอาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ผ่านการ ประมวลผลและสามารถนามาใช้ ประเภทของข้อมูล 2.3 ข้อมูล (Data)
  • 9. ข้อมูลที่สามารถนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้มี 5 ประเภท คือ 1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไปคานวณ ได้เช่น จานวนเงินเดือน ราคาสินค้า 2. ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์เช่น ชื่อ สกุล ที่ อยู่ 3. ข้อมูลเสียง (Audio Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นเสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงพูด 4. ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลที่เป็นจุดสีต่าง ๆเมื่อนามาเรียงต่อกันแล้วเกิด รูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าย ภาพลายเส้น เป็นต้น 5. ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง เช่น ภาพเคลื่อนไหวที่ถ่ายด้วยกล้องวิดีโอ หรือภาพที่ทา จากโปรแกรมต่างๆ เป็นต้น ข้อมูล (Data)
  • 10. กระบวนการวิธี (Procedures) หมายถึง ขั้นตอนกระบวนการทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้เพื่อสามารถใช้ งานได้อย่างถูกต้อง การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในองค์กรนั้นจะต้องไป สัมพันธ์กับผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ และมีความซับซ้อน จึงจาต้องมีระเบียบ ปฏิบัติหรือคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน หมายถึงกลุ่มของคาสั่งหรือกฎ ที่แนะนาวิธีการปฏิบัติงานกับ คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศ ซึ่งอาจได้แก่การแนะนาการควบคุม การเข้าใช้งานคอมพิวเตอร์, วิธีการสารองสารสนเทศในระบบและวิธี จัดการกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ 2.4 กระบวนการวิธี (Procedures)
  • 11. 1. ค้นปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and Objective) 2. ศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs) 4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System) 5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Debeloping and Documenting Software) 6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System) 7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System) ตัวอย่างกระบวนการวิธี (Procedures)
  • 12. คุณสมบัติของบุคลากร (People ware) เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 1) ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่ง เป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาด ได้ โครงสร้าง ข้อมูล ที่ออก แบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การ ออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้ 2.5 บุคลากร (People ware)
  • 13. 2) ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตี ความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์ หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้ 3) ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการ ใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 4) ความชัดเจน และกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้มี การใช้รหัสหรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
  • 14. 5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจ เพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึก หรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ ตาแหน่งงานบุคลากรในสายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีตาแหน่ง งาน จะมีตาแหน่งงานหลายกลุ่มหรือหลายสายงาน อาทิ กลุ่มพัฒนาระบบ สารสนเทศ เป็นกลุ่มที่ทาหน้าที่พัฒนาระบบสารสนเทศต่างๆ ที่หน่วยงาน จาเป็นต้องใช้ เช่น ระบบบุคลากรระบบบัญชีระบบพัสดุ ระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการต่างๆ กลุ่มงานนี้จาเป็นมากหากหน่วยงานมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบ สารสนเทศต่างๆ เอง บุคลากรในกลุ่มนี้อาจจะมี
  • 15. นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analyst) ทาหน้าที่วิเคราะห์ ความต้องการด้าน สารสนเทศและออกแบบระบบสารสนเทศขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทางานโดยใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือได้สะดวก  นักเขียนโปรแกรม Programmer ทาหน้าที่เขียนและทดสอบโปรแกรมต่างๆ เพื่อใช้ใน หน่วยงาน  ผู้บริหารฐานข้อมูล Database Administrator ทาหน้าที่วางแผนและควบคุมานข้อมูลหลัก ของทั้งหน่วยงานเป็นผู้ประสานงานกับทีมงานพัฒนาระบบด้านการใช้ฐานข้อมูล  กลุ่มงานข้อมูล เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลเรื่องข้อมูลต่างๆ ที่หน่วยงานต้องใช้ นับตั้งแต่การบันทึกข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และการจัดเก็บต้นฉบับ ฟอร์มข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิง กลุ่มงานนี้อาจจะมีความสาคัญน้อยลงในอนาคตเมื่อมีการ จัดหาอุปกรณ์ที่สามารถบันทึกข้อมูลจากจุดที่เกิดข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง นอกจากนั้นยังเป็นเพราะหน่วยงานหลายแห่งเริ่มกระจายการบันทึกข้อมูลออกไปให้ผู้ใช้ ดาเนินการเอง กลุ่มงานนี้อาจประกอบด้วย
  • 16.  พนักงานบันทึกข้อมูล ทาหน้าที่บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์  พนักงานสอบทางข้อมูลทาหน้าที่ตรวจว่าข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น ถูกต้องตามต้นฉบับหรือไม่  พนักงานลงรหัสข้อมูล ทาหน้าที่กาหนดรหัสข้อมูลลงในแบบฟอมร์ข้อมูลก่อนส่งให้ พนักงานบันทึกข้อมูล กลุ่มงานปฏิบัติการ เป็นกลุ่มงานที่ทาหน้าที่ดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื่อสาร ควบคุมดูแลการใช้งานประจาวันจัดทารายงานการใช้อุปกรณ์ และปัญหาขัดข้องที่ เกิดขึ้นระหว่างการใช้งาน กลุ่มงานนี้ประกอบด้วย
  • 17. กลุ่มงานสื่อสาร เป็นกลุ่มงานที่ทาน้าที่ดูแลระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารต่างๆ ของหน่วยงาน บุคลากรในกลุ่มนี้ ได้แก่  ผู้บริหารระบบเครือข่าย Network Administrator หรือบางทีเรียกว่า System Administrator ทาหน้าที่วางแผนละจัดหาอุปกรณ์สื่อสาร ควบคุมและให้การดาเนินงานด้านระบบเครือขายให้ดาเนินไปอย่าง ราบรื่น  วิศวกรสื่อสาร Communication Engineer ทาหน้าที่เกี่ยวกับการติดตั้ง ตรวจสอบและปฏิบัติงานกับอุปกรณ์สื่อสารและซอฟต์แวร์สื่อสาร ต่างๆ
  • 18. องค์ประกอบที่สาคัญๆ ของการสื่อสารข้อมูล 1) ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมี หน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2) ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับ โทรทัศน์ เครื่องพิมพ์เป็นต้น 3) สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทาง อากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม 2.6 เครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Network and Data Communication)
  • 19. 5. บุคลากร (People ware) คุณสมบัติของบุคลากร (People ware) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 1. ความถูกต้องของข้อมูล 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน ได้ข้อมูลมาทันต่อการใช้งาน 3. ความสมบูรณ์ ขึ้นอยู่กับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฎิบัติ 4. ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมาก จาเป็นต้องมีการออกแบบ โครงสร้างข้อมูลที่ดี 5. ความสอดคล้อง มีการสารัจเพื่อหาความต้องการ ดูสภาพการใช้ข้อมูล
  • 20. 6. เครือข่ายและการศึกษาข้อมูล (Network and Data Communication) คือการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่มีความสามารถในการรับส่งข้อมูล ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรต่างๆร่วมกันการสื่อสารข้อมูลคือ ตัวกลางที่ทาหน้าที่เชื่อมโยงอุปกรณ์สื่อสารต่างๆเพื่อส่งข้อมูลระหว่างกัน องค์ประกอบสาคัญของการสื่อสารข้อมูล 1. ผู้ส่ง(sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร 2. ผูรับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมา 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลางเป็นเส้นทางการสื่อสารจากต้นทางไป ยังปลายทาง 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปใน ระบบสื่อสาร ซึ่งถูกเรียกว่าสารสนเทศ (Information)
  • 21. 3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และการออกแบบ ความสาคัญ การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) คือวินัยทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ การสนับสนุนผู้ช้ในการพัฒนาประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในด้านนี้ การสร้างระบบที่ตองสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ เป็นหลัก การวิเคราะห์การใช้งาน ผลกระทบของมนุษย์กับสภาวะ แวดล้อมมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องและมีความรู้ความเข้าใจใน ด้านจิตวิทยา
  • 22. 3.1 . กรณีศึกษา Look and Feel ของโปรแกรมวินโดวส์ 3.1.1 อะไรคือการออกแบบหน้าจอ การออกแบบหน้าจอเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีการทางานเชื่อมประสานระหว่าง มนุษย์กับคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า (User Interface) ซึ่งศัพท์คานี้ได้รับการ บัญญัติไว้ในพจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถานว่าหมายถึง “ตัวเชื่อม ประสานกับผู้ใช้” ปัญหาสาคัญของคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ คือความล่าช้าในการประมวลผล และ เครื่องพิมพ์กับคอมพิวเตอร์แยกอิสระออกจากกัน ทาให้เกิดการทางานสองจังหวะ ทาให้ เกิดความยุ่งยากในการใช้เวลามาก
  • 23. ต่อมาจึงมีการพัฒนาอินเตอร์เฟสให้มีความสะดวกมากขึ้นโดยนาแป้นพิมพ์มาใช้ใน การป้อนคาสั่งป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่อง การสั่งงานจากผู้ใช้มีความสะดวกมากขึ้น และช่วย แก้ปัญหาความล่าช้า เพราะผู้ใช้ใช้แป้นพิม พิมคาสั่งได้โดยทันที วิวัฒนาการที่สาคัญที่สุดของยูสเซอร์อินเตอร์เฟซก็คือ การใช้จอโทรภาพ (Cathode-ray Tube) เป็นเครื่องแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ ภาพที่แสดงออกอยู่ ในรูปของ Soft Copy ซึ่งสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ทันที ช่วยให้ผู้ใช้มีความ สะดวกมากขึ้น
  • 24. 3.1.2 ต้นกาเนิดของ GUI จากไอเดียของซีร็อกซ์ แม้การนาจอภาพและแป้นพิมพ์มาใช้จะช่วยให้เกิดความสะดวก แต่ผู้ใช้ยังรู้สึกไม่ สะดวกในการจดจาคาสั่งที่ทางาน จึงได้หาวิธีที่ง่ายและสะดวกในการใช้งานระหว่าง ผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ บริษัทซีร็อกซ์เป็นบริษัทแรกที่ใช้ GUI (Graphical User Interface) เพื่อลดปัญหาความยุ่งยากและการจดจาคาสั่ง มาใช้เป็นภาพ สัญลักษณ์แทน ความสาเร็จจากการทดลอง ทาให้ผู้ใช้สามารถเลือกคาสั่งจากเมนูเพื่อให้ คอมพิวเตอร์ปฎิบัติงานตามต้องการได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ด้าน ภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นของ GUI คือการนาระบบวินโดว์ (Window System) มาใช้ประกอบในการออกแบบหน้าจอนั่นเอง
  • 25. แบบฝึกหัดบทที่ 2 1. จงบอกความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร 2. จงอธิบายองค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบที่ สาคัญๆ อะไรบ้าง 3. จงอธิบาย การตอบสนองระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) คืออะไร 4. จงอธิบาย Look and Feel และ GUI (Graphical User Interface) มี ความหมายต่างกันหรือเหมือนกันพร้อมยกตัวอย่างประกอบการ อธิบาย