SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
                                เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1 บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
         การเปลี่ยนแปลงสังคมความเปนอยูของมนุษยเปนไปอยางรวดเร็ว กลาวกันวาไดเกิดการเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะ ที่เรียกวา การปฏิวติมาแลวสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษยรูจักใชระบบชลประทาน เพื่อการเพาะปลูก
                           ั
สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากการเรรอนมาเปนการตั้งหลักแหลง เพื่อทําการเกษตร ตอมาเมื่อประมาณ
รอยกวาปทแลว กอนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมสวัตต (James Watt ) ประดิษฐเครื่องจักรไอน้ํามนุษยรจักนํา
             ี่                                                                                            ู
เอาเครื่องจักรมาชวยในอุตสาหกรรมการผลิต และชวยในการสรางยานพาหนะ เพื่องานคมนาคมขนสง                         ผลที่
ตามมาทําใหเกิดการปฏิวัตทางอุตสาหกรรม สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเปนสังคม
                         ิ
เมือง




                      สังคมสารสนเทศที่มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชงานในทุกวงการ


          การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใชเครื่องจักรกลแทนการทํางานดวยมือ พลังงานที่ใชขับเคลื่อน
เครื่องจักรมาจากพลังงานน้ําพลังงานไอน้ํา และเปลี่ยนเปนพลังงานจากน้ํามันมีการขับเคลื่อนเครื่องยนตและมอเตอร
ไฟฟา
          การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นอีก    โดยเปลียนแปลงระบบการทํางานจากการทีละขั้นตอนมาเปนการ
                                                         ่
ทํางานระบบอัตโนมัติ การทํางานเหลานี้อาศัยระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรทั้งสิ้น




บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                       1
โรงงานประกอบรถยนตที่ใชแขนหุนยนต



          มีผูกลาววาการปฏิวัติครั้งที่สามกําลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่เกิดใหมนี้ ไดแก การพัฒนาทางดานความคิด การ
ตัดสินใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร ในอนาคตกลุมคนเพียงกลุมเดียวอาจทํางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบ
คอมพิวเตอรควบคุม ทําการควบคุมหุนยนตคอมพิวเตอร และใหหนยนตควบคุมการทํางานของเครื่องจักรอีกตอหนึ่ง
                                                                        ุ
ความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของดวยเสมอ ระบบการผลิต สวนใหญ
ตองใชคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสแทรกเขามาเกือบทุกกระบวนการ ตั้งแต การควบคุม การขนสงวัตถุดิบ
กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบหอ
          ในระดับประเทศประเทศไทยสั่งซื้อสินคาเทคโนโลยีระดับ สูงเปนปริมาณมาก ทําใหตองซื้อเทคนิควิธีการ
ตลอดจนเครื่อง มือเครื่องจักรเขามาในปริมาณมากไปดวย ขณะเดียวกันเรายัง ขาดบุคลากรที่จะพัฒนาเครื่องจักร
เครื่องมือเหลานั้น ใหมีประ สิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจากสาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใชนอย หลายโรงงานยังไม
กลาใชเครื่องจักรที่ใชเทคโนโลยีใหม เพราะ หาบุคลากรใน การดําเนินการไดยาก แตในระยะหลังคาจางแรง งาน
สูงขึ้น และการแขงขัน ทางธุรกิจมีมากขึน จึงตกอยูในสภาวะ จํายอมที่ตองนําเครื่องมือเหลานั้นเขามา เนื่องจาก
                                               ้
เครื่องมือดังกลาว ใหผลผลิตที่ดีกวาของเดิมและทําใหราคาตนทุนการผลิตสินคาต่ํา ลงอีกดวย
          ในยุควิกฤตการพลังงาน หลายประเทศพยายามลด การใชพลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมการใช
พลังงานใหมประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดคาใชจายลง จึงมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยควบคุม เชน ควบคุมการเดิน
                ี
เครื่องใหเหมาะสม ควบคุมปริมาณการเผาไหมของ เครื่องจักรในกระบวนการผลิต ควบคุมการจัดภาระงาน ให
เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดลอมตางๆ ดวย
          เมื่อคอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยมากขึ้น ไดมีการพัฒนางานทางดานเทคโนโลยี
สารสนเทศขึ้น และในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึน สังเกต          ้
ไดจากการนําคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาใชในสํานักงาน การจัดทําระบบฐานขอมูลขนาดใหญ การใชอุปกรณอานวย              ํ
ความสะดวกที่ประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส แสดงวาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคํานวณและ เก็บขอมูลได
แพรไปทั่วทุกแหง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการแขงขันดานธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท สงผล
ตอการใหบริการขององคการและหนวยงาน และมีผลตอการประกอบกิจในแตละวัน
          เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มใชงานในประเทศไทย เมื่อไมนานมานีเ้ อง โดยในป พ.ศ. 2507 มีการนํา

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                        2
คอมพิวเตอรเขามาใชในประเทศไทยเปนครั้งแรก และในขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมแพรหลายนัก จะมี
เพียงการใชโทรศัพทเพื่อการติดตอสื่อสารและนําคอมพิวเตอรมาชวยประมวลผลขอมูล งานดานสารสนเทศอื่น ๆ
สวนใหญยังคงเปนงาน ภายในสํานักงานที่ยังไมมีอุปกรณและเครื่องมือดานเทคโนโลยีมาชวยงานเทาใดนัก
         เมื่อมีการประดิษฐคิดคนอุปกรณชวยงานสารสนเทศ เชน เครื่องถายเอกสาร โทรสาร และ
ไมโครคอมพิวเตอร อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสูงานดานสารสนเทศมากขึน สํานักงานเปนแหลงที่มีการใช
                                                                            ้
เทคโนโลยีสารสนเทศมากทีสุด เชน การใชคอมพิวเตอรทําบัญชีเงินเดือนและบัญชีรายรับรายจาย การติดตอสื่อสาร
                             ่
ภายในและภายนอกโดยโทรศัพทและ โทรสาร การจัดเตรียมเอกสารดวยการใชเครื่องถายเอกสารและคอมพิวเตอร
         งานดานสารสนเทศมีแนวโนมขยายตัวทีคอนขางสดใส เพราะเทคโนโลยีดานนี้ไดรบการสงเสริมสนับสนุน
                                               ่                                    ั
อยางเต็มที่ มีการวิจัยและพัฒนาใหเกิดผลิตภัณฑใหม ออกมาตอบสนองความตองการของมนุษยอยูตลอดเวลา




                                               การใชคอมพิวเตอรทางานในสํานักงาน
                                                                 ํ



         เทคโนโลยีที่ใชในระบบสารสนเทศที่กําลังไดรับความสนใจอยางมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีสื่อประสม
(multimedia) ซึ่งรวมขอความ ภาพ เสียงและวิดีทัศนเขามาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กาลังไดรับการพัฒนา ในอนาคต
                                                                                ํ
เทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะชวยเสริมและสนับสนุนงานดานสารสนเทศใหกาวหนาตอไป เปนที่คาดหมายวาอัตรา
การเติบโตของ ผูทํางานดาน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น
         แนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศคอยๆ กลายมาเปนระบบรวม โดยใหคอมพิวเตอรระบบหนึ่งทํางาน
พรอมกันไดหลายๆ อยาง นอกจากใชประมวลผลขอมูลดานบัญชีแลว ยังใชงานจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพดีด
ใชรับสงขอความ หรือจดหมายกับคอมพิวเตอรที่อยูหางไกล ซึ่งอาจอยูคนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกวา ไปรษณีย
                                                  
อิเล็กทรอนิกส สําหรับเครื่องถายเอกสาร นอกจากจะใชถายสําเนาเอกสารตามปกติแลว อาจเพิ่มขีด ความสามารถ
ใหใชงานเปนเครื่องพิมพ หรือรับสงโทรสารไดอีกดวย
         การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเปนไปอยางรวดเร็ว ทั้งดานฮารดแวร (hardware) ซอฟตแวร
(software) ดานขอมูลและการติดตอสื่อสาร ผูใชจึงตองปรับตัวยอมรับและเรียนรู เทคโนโลยีใหมที่เกิดขึ้นอยูเสมอ
โดยเฉพาะขอมูลและ การติดตอสื่อสาร (communication) ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของ การดําเนินธุรกิจ หากการ
ดําเนินงานธุรกิจใชขอมูลซึ่งมีการบันทึกใสกระดาษและเก็บรวบรวมใส แฟมการเรียกคนและสรุปผลขอมูลยอมทํา
ไดชา และเกิดความผิดพลาดไดงายกวา การประมวล ผลขอมูลดวยเครืองคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศจะชวย
                                                                  ่


บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                   3
ใหทํางานไดงาย สะดวก รวดเร็ว และถูกตองขึ้น และที่สาคัญชวยใหสามารถตัดสินใจดําเนินงานไดเร็ว
                                                   ํ

1.2 ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
        คําวา เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตร ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม มาทําใหเกิดประโยชนตอมวลมนุษย เทคโนโลยีจึงเปนวิธีการในการสรางมูลคาเพิ่มของสิ่งตางๆ ใหเกิด
ประโยชนมากยิ่งขึ้น เชน ทรายหรือซิลิกอน (silikon) เปนสารแรที่พบเห็นทัวไปตามชายหาด หากนํามาสกัดดวย
                                                                            ่
เทคนิควิธีการสรางเปน ชิป (chip) จะทําใหสารแรซิลิกอนนั้นมีคณคา และมูลคาเพิมขึ้นไดอีกมาก
                                                              ุ                ่




                                                       ชิป



          สําหรับสารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับ ความจริงของคน สัตว สิ่งของ ทั้งที่เปนรูปธรรม
และนามธรรม ที่ไดรับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกคน และสื่อสารระหวางกัน นํามาใชใหเกิด ประโยชนได
ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนเพิ่มเติมตอไป
          เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถึง การนําวิทยาการที่กาวหนาทางดาน
คอมพิวเตอรและ การสื่อสารมาสรางมูลคาเพิ่มใหกับสารสนเทศ ทําใหสารสนเทศ มีประโยชนและใชงานได
กวางขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใชเทคโนโลยีดานตางๆ ในการรวบรวม จัดเก็บ ใชงาน สงตอ
หรือสื่อสารระหวางกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกียวของ โดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใชในการจัดการสารสนเทศ
                                                   ่
ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง ขั้นตอนวิธีการดําเนิน การซึ่งเกี่ยวของกับซอฟตแวร เกี่ยวของกับตัว
ขอมูล บุคลากร และกรรมวิธีการดําเนินงานเพื่อใหขอมูลเกิดประโยชนสูงสุด
          เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเทคโนโลยีทครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับการประมวลผล ขอมูล ซึ่งไดแกการใช
                                                ี่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร การติดตอสื่อสารระหวางกันดวยความรวดเร็วการจัดการขอมูล รวมถึงวิธีการที่จะใชขอมูล      
ใหเกิดประโยชนสูงสุด

1.3 ความกาวหนาของเทคโนโลยี
        ในภาวะสังคมปจจุบัน หลายสิ่งหลายอยางที่เกิดขึ้นรอบตัวเปนตัวชีบอกวา ประเทศไทยกําลังกาวสูยุค
                                                                       ้
สารสนเทศ              ดังจะเห็นไดจากวงการศึกษาสนใจใหความรูดานคอมพิวเตอรและสงเสริมการนําเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรมาประยุกตงานตางๆ มากขึ้น การบริหารธุรกิจของบริษทหางรานตางๆ ตลอดจนหนวยงานของรัฐบาล
                                                             ั
และรัฐวิสาหกิจมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใชในองคการดวยการเก็บขอมูล ประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                     4
แลวนําผลลัพธมาชวยในการวางแผนและตัดสินใจ
           ระยะเริ่มแรกที่มนุษยไดคิดคนประดิษฐคอมพิวเตอรที่มลักษณะเปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกส
                                                                ี
คอมพิวเตอรไดถูกใชทํางานดานการคํานวณทางวิทยาศาสตรเปนสวนใหญแลวจึงนํามาใชเก็บรวบรวมและ
ประมวลผลขอมูลทางดานธุรกิจในเวลาตอมา ระยะแรกนี้เรียกวาระยะการประมวลผลขอมูล (data processing age)
         ขอมูลที่ไดมาจะตองผานการประมวลผลใหไดเปนสารสนเทศกอน จึงนําไปใชใหเกิดประโยชน วิธีการ
ประมวลผลขอมูลจะเริ่มตั้งแตการรวบรวมจัดเก็บขอมูล           เมื่อไดขอมูลแลวตองไดรับการตรวจสอบความถูกตอง
แบงกลุมจัดประเภทของขอมูล เชน ขอมูลตัวอักษรซึ่งเปนชื่อหรือขอความก็อาจตองมีการเรียงลําดับ และขอมูล
ตัวเลขก็อาจตองมีการคํานวณ                                                จากนั้นจึงทําสรุปไดเปนสารสนเทศออกมา
      ถาขอมูลที่นํามาประมวลผลมีจํานวนมากจนเกินความสามารถของมนุษยทจะทําไดในเวลาอันสัน ก็จําเปนจะตอง
                                                                              ี่                   ้
นําคอมพิวเตอรมาชวยเก็บและประมวลผล เมื่อขอมูลอยูภายในคอมพิวเตอร การแกไขหรือเรียกคนสามารถทําไดงาย
และสะดวก ขณะเดียวกันการทําสําเนาและการแจกจายขอมูล ก็สามารถดําเนินการไดทันที
           งานที่เกิดขึนจากการประมวลผลขอมูลมักเก็บในลักษณะแฟมขอมูล ตัวอยางเชน การทําบัญชีเงินเดือนของ
                       ้
พนักงานในบริษัท ขอมูลเงินเดือนของพนักงานทีเ่ ก็บในคอมพิวเตอรจะรวมกันเปนแฟมขอมูลที่ประกอบดวยชื่อ
พนักงาน เงินเดือน และขอมูลสําคัญอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอรจะเรียกแฟมเงินเดือนมาประมวลผลและสรุปผลรวม
ยอดขั้นตอนการทํางานจะตองทําพรอมกันทีเดียวทั้งแฟมขอมูล ที่เรียกวา การประมวลผลแบบกลุม (batch
processing)
           แตเนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองคการคอนขางซับซอน เชน รายไดของพนักงานทีไดรับในแตละ
                                                                                                     ่
เดือน อาจไมไดมาจากอัตราเงินเดือนประจําเทานั้น แตอาจมีคา นายหนาจากการขายสินคาดวย ในลักษณะนี้
แฟมขอมูลการขาย จะสัมพันธกับแฟมขอมูลเงินเดือน และสัมพันธกบแฟมขอมูลอื่นๆ เชน คาสวัสดิการ การหัก
                                                                       ั
เงินเดือนเปนคาใชจายตางๆ ระบบขอมูลจะกลายเปนระบบที่มีแฟมขอมูลหลายแฟมเชื่อมสัมพันธกัน และโปรแกรม
คอมพิวเตอรเรียกแฟมขอมูลเหลานั้นมาจัดการใหเปนไปตามที่ตองการ ระบบนี้เรียกวา ระบบฐานขอมูล (database
system)
           การจัดการขอมูลที่เปนฐานขอมูล จะเปนระบบสารสนเทศที่มีประโยชนซึ่งนําไปชวยงานดานตางๆ อยาง
ไดผล ระบบขอมูลที่สรางเพื่อใชในบริษัทจะเปนระบบฐานขอมูลของ กิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงสารสนเทศที่เปน
จริงของบริษัท สามารถนําขอเท็จจริงนั้นไปวิเคราะหและนําผลลัพธไปประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร เพื่อการ
วางแผนและกําหนดนโยบายการจัดการตาง ๆ
           ในปจจุบนการนําคอมพิวเตอรไปใชงาน ของประเทศตางๆ ทั่วโลก อยูที่การใชสารสนเทศเปนสวนใหญ
                     ั
แนวโนมของระบบ จัดการขอมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยนจากระบบ งานการประมวลผลแบบกลุมมาเปนระบบ
ตอบสนองทันที ที่เรียกวา การประมวลผล แบบเชื่อมตรง (online processing) เชน การฝากถอนเงินของธนาคาร
ตางๆ ผานเครื่องรับ – จายเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine: ATM)
           ขณะที่ประเทศตางๆ ยังอยูในยุคของ การประมวลผลสารสนเทศในบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกาและ
                                      
ญี่ปุน ไดพฒนาเขาสูการประมวลผลฐานความรู (knowledge base processing) โดยใหคอมพิวเตอรใชงาย รูจัก
               ั

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                   5
ตอบสนอง กับผูใช และสามารถแกปญหาที่ตองอาศัย การตัดสินใจระดับสูงดวยการเก็บสะสมฐาน ความรูไวใน
คอมพิวเตอร และมีโครงสราง การใหเหตุผล เพื่อนําความรูมาชวยแกปญหาที่สลับซับซอน
                                                                 
        การประมวลผลฐานความรูเปนการ ประยุกตหลักวิชาดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ที่
รวบรวมศาสตรหลายแขนง คือ คอมพิวเตอร จิตวิทยา ปรัชญา และภาษาศาสตร เขาดวยกัน ตัวอยาง ชิ้นงานไดแก
หุนยนต และระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) ปจจุบนมีซอฟตแวรที่เปนระบบผูเชี่ยวชาญ ชวยในการวินิจฉัยโรค
                                                   ั
ตาง ๆการสํารวจ ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุมัติใหกูยืมเงิน

1.4 ประโยชนที่ไดจากเทคโนโลยี
          ชีวิตความเปนอยูในปจจุบันเกี่ยวของกับสารสนเทศตางๆ มากมาย การอยูรวมกันเปนสังคมทําใหมนุษยตอง
สื่อสารถึงกัน ตองติดตอและทํางานหลายสิงหลายอยางรวมกันสมองของเราตองจดจําสิ่งตางๆ ไวมากมาย ตองจดจํา
                                                ่
รายชื่อผูที่เราเกี่ยวของดวย จดจําขอมูลตางๆ ไวใชประโยชนในภายหลัง สังคมจึงตองการความเปนระบบที่มีรูปแบบ
ชัดเจน เชน การกําหนดเลขที่บาน ถนน อําเภอ จังหวัด ทําใหสามารถติดตอสงจดหมายถึงกันได ที่อยูเปนสารสนเทศ
อยางหนึ่งทีใชงานกัน
               ่
          เพื่อใหสารสนเทศที่เกี่ยวของกับมนุษยเปนระบบมากขึ้น จึงมีการจัดการสารสนเทศ เหลานั้นในลักษณะเชิง
ระบบ เชน ระบบทะเบียนราษฎร มีการใชเลขประจําตัวประชาชน ซึ่งประกอบดวยเลขรหัส 13 ตัว แตละตัวจะมี
ความหมายเพือใชในการตรวจสอบ
                 ่
          การเขารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลก็ตองมีการลงทะเบียน การสรางเวชระเบียน ระบบเสียภาษีก็มีการ
สรางรหัสประจําตัวผูเสียภาษี นอกจากนี้มการจดทะเบียนรถยนต ทะเบียนการคา ทะเบียนโรงงาน ฯลฯ
                                              ี
          การใชสารสนเทศเกี่ยวของกับทุกคน การเรียนรูเกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจําเปน ปจจุบันเรา
                                                            ่
ซื้อสินคาดวยบัตรเครดิต เบิกเงินดวยบัตรเอทีเอ็ม โอนยายขอมูลในลักษณะอิเล็กทรอนิกส
          เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเทคโนโลยีแหงศตวรรษนี้ ที่ใชในการจัดเก็บรวบรวม ขอมูล ขอมูลจํานวนมาก
ไดรับการบันทึกไวในสื่อกลางที่สามารถนํากลับมาใชได เชน อยูในแถบบันทึก แผนบันทึก แผนซีดีรอม ดังจะเห็น
เอกสารหรือหนังสือ บรรจุในแผนซีดีรอม หนังสือทั้งตูอาจเก็บในแผนซีดีรอมเพียงแผนเดียว
          การสื่อสารขอมูลที่เห็นเดนชัดขณะนี้ และมีบทบาทมากอยางหนึ่ง คือ ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือการสง
ขอความถึงกันผานเครือขายคอมพิวเตอร กลาวคือ ผูใชนั่งอยูหนาจอคอมพิวเตอร พิมพขอความเปนจดหมายหรือ
                                                                
เอกสาร พิมพเลขที่อยูของไปรษณียอิเล็กทรอนิกสของผูรับและสงผานเครือขายคอมพิวเตอร ผูรับก็สามารถเปด
คอมพิวเตอรของผูรับ เพื่อคนหาจดหมายไดและสามารถตอบโตกลับไดทันที




บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                  6
จอภาพแสดงการสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
                                                         


         เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของกับชีวตประจําวันเปนสิ่งที่ตองเรียนรู เปนเรื่องที่รวมไปถึงการรวบรวม
                                               ิ
ขอมูล การจัดเก็บขอมูล การจัดการขอมูลและการประมวลผลขอมูล ขอมูลที่จัดเก็บ ตองตรวจสอบเพื่อความถูกตอง
จัดรูปแบบเพือใหอยูในรูปแบบที่ประมวลผลได เชน การเก็บนามบัตรของเพื่อนหรือบุคคลที่มีการติดตอซึ่งมีจํานวน
             ่      
มาก เราอาจหากลองพลาสติกมาใสนามบัตร มีการจัดเรียงนามบัตรตามอักษรของชื่อ สรางดัชนีการเรียกคนเพื่อให
หยิบคนไดงาย แตเมื่อคอมพิวเตอรเขามามีบทบาท ทําใหมีการเปลียนรูปแบบของการจัดเก็บในลักษณะบัตรมาเปน
                                                                ่
การจัดเก็บขอมูลไวในแผนบันทึก โดยมีระบบการจัดเก็บและประมวลผลลักษณะเดียวกับที่กลาว เมื่อตองการ
เพิ่มเติมปรับปรุงขอมูลหรือเรียกคนก็นําแผนบันทึกนันมาใสในคอมพิวเตอรทําการเรียกคน แลวแสดงผลบนจอภาพ
                                                    ้
หรือพิมพออกทางเครื่องพิมพ




                                   การใชโปรแกรมไมโครซอฟตแอกเซสเก็บขอมูล

        การจัดการขอมูลดวยคอมพิวเตอรทําไดสะดวก       คอมพิวเตอรจึงเปนที่นิยมสําหรับการจัดการขอมูลในยุค


บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                 7
ปจจุบัน ขณะเดียวกันคอมพิวเตอรมีราคาลดลงและมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น จึงเชื่อแนวาบทบาทของการจัดการ
ขอมูลในชีวิตประจําวันจะเพิ่มมากขึ้นตอไป
         โครงสรางและรูปแบบของขอมูลที่ประมวลผลดวยคอมพิวเตอร เปนโครงสรางที่จะตองมีรูปแบบชัดเจน
และแนนอน การจัดการขอมูลจึงตองมีการกําหนดกฏเกณฑเฉพาะ เชน การกําหนดรหัสเพื่อใชในการจําแนกขอมูล
รหัสจึงมีความสําคัญ เพราะคอมพิวเตอรสามารถจําแนกขอมูลดวยรหัสไดงาย ลองนึกดูวาหากมีขอมูลจํานวนมาก
แลวใหคอมพิวเตอรคนหาโดยคนหาตั้งแตหนาแรกเปนตนไป การดําเนินการเชนนี้ กวาจะคนพบอาจไมทันตอความ
ตองการ การดําเนินการเกียวกับขอมูลจึงตองมีการกําหนดเลขรหัส เชน เลขประจําตัวประชาชน รหัสเลขทะเบียน
                             ่
คนไข ทะเบียนรถยนต เลขประจําตัวนักเรียน เปนตน การจัดการในลักษณะนี้จงตองมีการสรางระบบเพื่อความ
                                                                                  ึ
เหมาะสมกับการทํางานของคอมพิวเตอรเปนสําคัญ
         นอกจากเรื่องความเร็วและความแมนยําของการประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอรแลว การคัดลอกและการ
แจกจายขอมูลไปยังผูใชก็ทําไดสะดวก เนื่องจากขอมูลที่เก็บใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกสสามารถเปลี่ยนถายระหวาง
ตัวกลางไดงาย เชน การสําเนาขอมูลระหวางแผนบันทึกขอมูลสามารถทําเสร็จไดในเวลารวดเร็ว
             
         ดวยความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคมในยุคของสารสนเทศ                  การปรับตัวของสังคมจึง
เกิดขึ้น ประเทศที่เจริญแลวประชากรสวนใหญจะอยูกบเครื่องจักรเครื่องมือตางๆ ที่เกี่ยวของกับสารสนเทศ มี
                                                       ั
เครือขายการใหบริการใหมๆ เพิ่มขึ้นหลายอยาง ขณะที่เราอยูบาน อาจใชโทรทัศนติดตอเขาระบบเครือขาย
อินเทอรเน็ต (internet) เพื่อขอเรียกดูราคาสินคา ขอดูขาวเกียวกับดินฟาอากาศ ขาวความเคลื่อนไหวเกียวกับการเมือง
                                                            ่                                     ่
อัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา นอกจากนี้ยังมีระบบการสั่งซื้อของผานทางเครือขายคอมพิวเตอร แมบานใชคอมพิวเตอร
                                                                                              
สวนตัวที่บานตอเชื่อมผานเครือขายสายโทรศัพทไปยังหางสรรพสินคา เพื่อเปดดูรายการสินคาและราคา แมบาน
สามารถสั่งซื้อไดเมื่อตองการ

1.5 เทคโนโลยีกับแนวโนมโลก
         เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหสังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเปนสังคม สารสนเทศ สภาพของสังคม
โลกไดเปลี่ยนแปลงมาแลวสองครั้ง จากสังคมความเปนอยู แบบเรรอนมาเปนสังคมเกษตรที่รูจกกับการเพาะปลูก
                                                                                             ั
และสรางผลิตผลทางการเกษตรทําใหมี การสรางบานเรือนเปนหลักแหลง ตอมามีความจําเปนตองผลิตสินคาใหได
ปริมาณมากและ ตนทุนถูก จึงตองหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทําใหสภาพความเปนอยูของมนุษยเปลี่ยนแปลงมา
เปนสังคมเมือง มีการรวมกลุมอยูอาศัยเปนเมือง มีอุตสาหกรรมเปนฐานการผลิต สังคม อุตสาหกรรมไดดําเนินการ
มาจนถึงปจจุบัน และกําลังจะเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคมสารสนเทศปจจุบันคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารมีบทบาท
มากขึ้น มีการใชเครือขาย เชน อินเทอรเน็ตเชื่อมโยงการทํางานตาง ๆ การดําเนินธุรกิจใชสารสนเทศอยางกวางขวาง
เกิดคําใหมวา ไซเบอรสเปซ (Cyberspace) มีการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ในไซเบอรสเปซ เชน การพูดคุย การซื้อสินคา
และบริการ การทํางานผานทางเครือขายคอมพิวเตอรทําใหเกิดสภาพทีเ่ สมือนจริงมากมาย เชนหองสมุดเสมือนจริง
หองเรียนเสมือนจริง ที่ทํางานเสมือนจริง ฯลฯ


บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                   8
เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัสและตอบสนองตาม ความตองการ ปจจุบันการใช
เทคโนโลยีเปนแบบบังคับ เชน การดูโทรทัศน การฟงวิทยุ เมื่อเราเปดเครื่องรับโทรทัศน เราไมสามารถเลือกตาม
ความตองการได ถาสถานีสงสัญญาณใดมา เราก็จะตองชม ดังนั้นเมื่อเปดวิทยุจะมีเสียงดังขึ้นทันที หากไมพอใจก็ทํา
ไดเพียงเลือกสถานีใหมแนวโนมจากนีไปจะมีการเปลียนแปลงในลักษณะที่เรียกวาออนดีมานด (on demand) เราจะมี
                                     ้           ่
ทีวีออนดีมานด (TV on demand) มีวิทยุแบบตามความตองการ เชน เมื่อตองการชมภาพยนตรเรืองใดก็เลือกชม และ
                                                                                           ่
ดูไดตั้งแตตนรายการ
          หากจะศึกษาหรือเรียนรูก็มการศึกษาออนดีมานด (education on demand) คือสามารถเลือกเรียนตามตองการ
                                   ี
ได การตอบสนองตามความตองการ เปนหนทางที่เปนไปได เพราะเทคโนโลยีมีพัฒนาการที่กาวหนาจนสามารถนํา
ระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความตองการของมนุษยได
          เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อ การสื่อสารแบบสอง
ทางกาวหนาและแพรหลายขึน การโตตอบผานเครือขายทําใหเสมือนมี ปฏิสัมพันธไดจริง เรามีระบบประชุมทางวีดิ
                            ้
ทัศน ระบบประชุมบนเครือขาย มีระบบการศึกษาบนเครือขาย มีระบบการคาบนเครือขาย ลักษณะของการดําเนิน
ธุรกิจเหลานี้ทาใหขยายขอบเขตการทํางาน หรือดําเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแหง และดําเนินการไดตลอด 24 ชั่วโมง
                ํ
เชน ระบบเอทีเอ็ม ทําใหมีการเบิกจายไดเกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกลตวผูรับบริการมากขึ้น แตดวย
                                                                                ั
เทคโนโลยีที่กาวหนายิ่งขึ้น การบริการจะกระจายมากยิ่งขึ้นจนถึงทีบาน ในอนาคตสังคมการทํางานจะกระจายจน
                                                               ่
งานบางงานอาจนั่งทําที่บานหรือที่ใดก็ไดและเวลาใดก็ได
          เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปนเศรษฐกิจโลก ความเกี่ยวโยง
ของเครือขายสารสนเทศทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน (globalization) ระบบเศรษฐกิจซึ่งแตเดิมมีขอบเขตจํากัด
ภายในประเทศ ก็กระจายเปนเศรษฐกิจโลก ทั่วโลกจะมีกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินคาและบริการอยาง
กวางขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยี สารสนเทศมีสวนเอื้ออํานวยใหการดําเนินการมีขอบเขตกวางขวางมากยิงขึน       ่ ้
ระบบเศรษฐกิจของโลกจึงผูกพันกับทุกประเทศ และเชื่อมโยงกันแนบแนนขึ้น
          เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน หนวยงานภายในเปนแบบ เครือขายมากขึ้น แตเดิมการ
จัดองคกรมีการวางเปนลําดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงลาง แตเมือการสื่อสารแบบสองทางและการ
                                                                            ่

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                 9
กระจายขาวสารดีขึ้น มีการใชเครือขายคอมพิวเตอรในองคกรผูกพันกันเปนกลุมงาน มีการเพิ่มคุณคาขององคกรดวย
เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสรางขององคกรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมีแนวโนมทีจะสรางองคกรเปน
                                                                                           ่
เครือขายที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึน หนวยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหนวย
                                                       ้
ธุรกิจอื่นเปนเครือขาย สถานะภาพขององคกรจึงตองแปรเปลี่ยนไปตามกระแสของเทคโนโลยี เพราะการดําเนิน
ธุรกิจตองใชระบบสื่อสารที่มีความรวดเร็วเทากับแสง กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว
          เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึน อีกทั้งยังทําใหวิถการตัดสินใจ หรือ
                                                                          ้                  ี
เลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น แตเดิมการตัดสินปญหาอาจมีหนทางใหเลือกไดนอย เชน มีคําตอบเพียง ใช หรือ ไมใช
แตดวยขอมูลขาวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทําใหวถีความคิดในการตัดสินปญหาเปลี่ยนไป ผูตัดสินใจมีทางเลือก
                                                  ิ
ไดมากขึ้น มีความละเอียดออนในการตัดสินปญหาไดดขึ้น ี
          เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาททีในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลตอ การเปลี่ยนแปลงทาง
                                                              ่
สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไดอยางมาก ลองนึกดูวาขณะนีเ้ ราสามารถ ชมขาว ชมรายการโทรทัศนที่สงกระจาย
ผานดาวเทียมของประเทศตาง ๆ ไดทั่วโลก เราสามารถรับรูขาวสารไดทันที เราใชเครือขายอินเทอรเน็ตในการ
สื่อสารระหวางกัน และติดตอกับคนไดทวโลก จึงเปนทีแนชัดวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ
                                       ั่                ่
สังคม และการเมืองจึงมีลักษณะเปนสังคมโลกมากขึ้น

1.6 ระบบสารสนเทศ
        จากความสําคัญของสารสนเทศ และการหาหนทางที่จะใชเทคโนโลยีในการจัดการ สารสนเทศ ใน พ.ศ.
2538 รัฐบาลไทยไดประกาศอยางเปนทางการใหเปนปแหงเทคโนโลยี สารสนเทศไทย รัฐบาลไดเห็นความสําคัญ
ของระบบขอมูล ที่มีเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร และระบบสื่อสารเปนตัวนํา และจะมีบทบาทสําคัญในการ
พัฒนาและผลักดันใหเกิดการใชทรัพยากรของประเทศอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในดานทรัพยากรมนุษย วัสดุ
อุปกรณ และเวลา รัฐบาลไดลงทุนใหกับโครงการพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนจํานวนมาก เชน การ
ขยายระบบโทรศัพท การขยายเครือขายสื่อสาร
การสรางระบบฐานขอมูล ทะเบียนราษฎร การสรางระบบการจัดเก็บภาษี และระบบศุลกากรดวยคอมพิวเตอร
        ไมเพียงแตประเทศไทยเทานั้นที่ใหความสําคัญเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ หลายประเทศทั่วโลกก็ให
ความสําคัญเชนกัน แตละประเทศไดลงทุนทางดานนี้เปนจํานวนมาก ทั้งนี้เพราะขอมูลเปนกลไกสําคัญในเชิงรุก เพื่อ
พัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันในระดับสากลได อีกทั้งยังเพิ่มคุณภาพชีวิต กระจายความเจริญสูชนบท และสราง
ความเสมอภาคในสังคม
        สังคมความเปนอยูและการทํางานของมนุษยมีการรวมกลุมเปนประเทศ การจัดองคกรเปนหนวยงานของ
รัฐบาลและเอกชน และภายในองคกรก็มการแบงยอยลงเปนกลุม เปนแผนก เปนหนวยงาน ภายในหนวยงานยอยก็มี
                                     ี
ระดับบุคคล
        เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของในองคกรพอที่จะแบงการจัดการสารสนเทศขององคการไดตาม
จํานวนคนที่เกียวของ ตามรูปแบบการรวมกลุมขององคกรได 3 ระดับ คือ ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระดับ
               ่

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                 10
สารสนเทศระดับกลุม และระบบสารสนเทศระดับองคกร

1.6.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล
        ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานใหแตละบุคคลในหนาที่ที่
รับผิดชอบ ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แตมีความสามารถในการประมวลผลดวย
ความเร็วสูงขึน ประกอบกับมีโปรแกรมสําเร็จที่ทําใหผูใชสามารถใชงานไดงาย กวางขวางและคุมคามากขึ้น เชน
             ้                                                                           
ซอฟตแวรประมวลผลคํา(word processor) ซอฟตแวรนาเสนอ(presentation) ซอฟตแวรกราฟก (graphic)
                                                     ํ
ซอฟตแวรการทําสิ่งพิมพ (desktop publishing) ซอฟตแวรตารางทํางาน(spread sheet) ซอฟตแวรจดการฐานขอมูล
                                                                                           ั
(database management และซอฟตแวรบริหารโครงงาน(project management) เปนตน และชุดโปรแกรมที่ไดรบ       ั
ความนิยมในปจจุบัน เปนโปรแกรมที่ไดรวบรวมโปรแกรมประมวลคํา โปรแกรมนําเสนอ โปรแกรมตารางทํางาน
โปรแกรมจัดการฐานขอมูล รวมเปนชุดเขาไวดวยกัน
                                             




         ขอมูลที่ชวยใหการทํางานของบุคลากรดีขึ้นนั้น ตองขึ้นอยูกับหนาที่รบผิดชอบของแตละคนตางกันไป
                                                                              ั
ตัวอยางเชน พนักงานขายควรมีขอมูลเกี่ยวกับลูกคาเปนอยางดี ซึ่งจะทําใหติดตอซื้อขายไดผลเลิศ บริษัทควรมีการ
เตรียมอุปกรณคอมพิวเตอรไวใหพนักงานขายไดใชในการจัดเก็บขอมูลลูกคา เชน ชื่อ ที่อยู และความสนใจในตัว
สินคา หรือขอมูลอื่นๆ ที่จะสนับสนุนการขาย พรอมกับระบบที่จะชวยพนักงานแตละคนในการเรียกคนหาขอมูล
ตามเงื่อนไขเพือวางแผน จัดการ และควบคุมการทํางานของตัวเองได เชนระบบวิเคราะหขอมูลการขาย เปนตน
               ่

1.6.2 ระบบสารสนแทศระดับกลุม
        ระบบสารสนเทศระดับกลุม คือ ระบบสารสนเทศที่ชวยเสริมการทํางานของกลุมบุคคล ที่มีเปาหมายการ
ทํางานรวมกันใหมีประสิทธิภาพมากขึน
                                  ้


บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                        11
ตัวอยางของการใชระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก คําวาการทํางานเปนกลุม (workgroup) ใน
ที่นี้หมายถึง กลุมบุคคลจํานวน 2 คนขึ้นไปที่รวมกันทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน โดยทั่วไปบุคลากรในกลุม
เดียวกันจะรูจกกันและทํางานรวมกัน เปาหมายหลักของการทํางานเปนกลุมคือ การเตรียมสภาวะแวดลอมที่จะ
             ั
เอื้ออํานวยประโยชนใน การทํางานรวมกันเปนกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ และชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดย
ทําใหเปาหมายของธุรกิจดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิผล
         แนวทางหลักก็คือการทําใหเกิดการใชทรัพยากรรวมกันโดยเฉพาะขอมูลและอุปกรณเทคโนโลยีพื้นฐาน
การนําเอาคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาเชื่อมตอกันดวยเครือขายทองถิ่น (Local Area Network : LAN) ทําใหมีการ
เชื่อมโยงและใชทรัพยากรของคอมพิวเตอรรวมกัน เชน เครื่องพิมพรวมกัน ขอมูลที่ใชรวมกันในแผนกจะบรรจุไว
ในระบบคอมพิวเตอรที่มีหนาที่ควบคุมการจัดเก็บแฟมขอมูลกลางที่เรียกวาเครื่องบริการแฟม (file server) ถามีการ
แกไขขอมูลในฐานขอมูลกลางนี้โดยผูใชคนใดคนหนึ่ง ผูใชคนอื่นที่อยูบนเครือขายคอมพิวเตอรนก็จะไดรับขอมูลที่
                                                                                              ี้
ผานการแกไขแลวนั้นเชนกัน




           การประยุกตใชงานคอมพิวเตอรในลักษณะของการทํางานเปนกลุม สามารถใชกับงานตางๆ ได ตัวอยาง
ระบบบริการลูกคา หรือการเสนอขายสินคาผานทางสื่อโทรศัพท พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยูหลายคนและใช
เครือขายคอมพิวเตอรในการเก็บขอมูลกลางของลูกคารวมกัน กลาวคือ มีขอมูลเพียงชุดเดียวที่พนักงานทุกคนจะ
เขาถึงได ถามีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม พนักงานในกลุมจะตองรับรูดวย เชนลูกคาโทรศัพทมาถามคําถามหรือ
ขอคําปรึกษาเกี่ยวกับสินคา พนักงานอาจจะชวยเตือนความจําเมื่อถึงเวลาตองโทรศัพทกลับไปหาลูกคา แมพนักงาน
ที่รับโทรศัพทครั้งที่แลวจะไมอยู แตพนักงานที่ทํางานอยูสามารถเรียก ขอมูลจากระบบคอมพิวเตอร แลวโทรกลับไป
                                                          
ตามนัดหมาย ทําใหธุรกิจดําเนินตอไปไดโดยไมหยุดชะงัก เปนตน อันจะเปนการเพิมคุณภาพการบริการ หรือเปนกล
                                                                                  ่
ยุทธที่ชวยทางดาน การขาย
           ระบบสารสนเทศของกลุมหรือแผนกยังมีแนวทางอื่นๆ ในการสนับสนุนการบริหารงานและการปฏิบัติงาน
เชน การสื่อสารดวยระบบไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส การประชุมผานเครือขาย ซึ่งอาจจะประชุมปรึกษาหารือกันได
โดยอยูตางสถานที่กัน การจัดทําระบบแผงขาว (Bulletin Board System : BBS) ของแผนกการประชุมทางไกล การ
ชวยกันเขียนเอกสาร ตํารา หรือรายงานรวมกันผานเครือขายคอมพิวเตอร การทําตารางทํางานของกลุม ระบบ
สนับสนุนการตัดสินใจของกลุม ระบบจัดการฐานขอมูล ระบบการไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดการ


บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                   12
เก็บขอความ ระบบการจัดตารางเวลาของกลุม ระบบการบริหารโครงการของกลุม ระบบการใชแฟมขอความรวมกัน
ของกลุม และระบบประมวลผลภาพเอกสาร เปนตน

1.6.3 ระบบสารสนเทศระดับองคกร
        ระบบสารสนเทศระดับองคกรคือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดําเนินงานขององคกรในภาพรวม
ระบบในลักษณะนี้จะเกียวของกับการปฏิบัติงานรวมกันของหลายแผนก โดยการใชขอมูลที่เกี่ยวของ รวมกันดวยวิธี
                       ่
สงผานถึงกันจากแผนกหนึ่งขามไปอีกแผนกหนึ่ง ระบบสารสนเทศดังกลาวนี้สามารถสนับสนุน งานในระดับผู
ปฏิบัติการและสนับสนุนการตัดสินใจ เนืองจากสามารถใหขอมูลจากแผนกตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของ มาประกอบการ
                                       ่
ตัดสินใจ โดยอาจนําขอมูลมาแสดงในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอรมทีตองการ บอยครั้งที่ การบริหารงานใน
                                                              ่
ระดับสูงจําเปนตองใชขอมูลรวมกันจากหลายแผนกเพือประกอบการตัดสินใจ
                                                 ่




          ระบบการประสานงานเพื่อการสรางรายไดใหกับธุรกิจการคา ตัวอยางระบบ สารสนเทศระดับองคการใน
ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการขายสินคา โดยมีฝายตาง ๆ ที่เกียวของในองคการหลาย ฝาย เชน ฝายการขาย ฝายสินคาคง
                                                         ่
คลัง ฝายพัสดุ และฝายการเงิน แตละฝายอาจจะมีระบบขอมูลหรือคอมพิวเตอร ที่สนับสนุนการปฏิบัติการ และยังมี
ระบบการสื่อสารหรือเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร ระหวางฝายได เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยน
ขอมูลไปตามสายการเชื่อมโยง
          เนื่องจากจุดประสงคของการทําธุรกิจก็เพือสรางผลกําไรใหกับบริษัท ถามีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางฝาย
                                                  ่
อยางมีประสิทธิภาพแลว ยอมทําใหเกิดการขาย สินคา และการตามเก็บเงินไดอยางรวดเร็ว เชน ทันที่ที่ฝายการขาย
ตกลงขายสินคากับลูกคา จะมีการปอนขอมูลการขายสินคาลงในระบบคอมพิวเตอร ฝายอื่นที่เกียวของจะไดรับขอมูล
                                                                                             ่
การขายนี้ และสามารถปฏิบัติหนาที่ของตัวเองไดอยางตอเนื่องทันที เชน ฝายสินคาคงคลังจัดตรวจสอบเตรียมใบเบิก
สินคาเพื่อสงใหฝายพัสดุไดทันที ฝายการเงินตรวจสอบความถูกตองของการขายสินคาแลวดําเนินการทําใบสงสินคา
และดูแลเรื่องระบบลูกหนี้โดยอัตโนมัติ และสุดทายฝายพัสดุดําเนินการจัดสงสินคาไปใหลูกคาแลว ก็จะดําเนินการ
ติดตามการคางชําระจากลูกหนี้ตอไป



บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                  13
หัวใจสําคัญของระบบสารสนเทศในระดับองคกร คือ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในองคกรที่จะตอง
เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอรของแตละแผนกเขาดวยกัน เพื่อใหเกิด การใชขอมูลรวมกัน นอกจากนียังสามารถใช
                                                                                                 ้
ทรัพยากรรวมกันไดดวย ในเชิงเทคนิคระบบสารสนเทศระดับ องคกรอาจจะมีระบบคอมพิวเตอรที่ดแลแฟมขอมูล มี
                                                                                                   ู
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรหลายระบบเขาดวยกันเปนเครือขายแลน หรืออาจจะมีเครือขายคอมพิวเตอรในระดับกลุม
อยูแลว จึงเชื่อมโยงเครือขายยอยเหลานั้นเขาดวยกัน กลายเปนเครือขายของ เครือขายคอมพิวเตอร ในกรณีที่มีจํานวน
ผูใชในองคกรมาก เครื่องมือพื้นฐานอีกประการหนึ่งของระบบขอมูลก็คือ ระบบจัดการฐานขอมูล ซึ่งเปนโปรแกรม
สําคัญในการดูแลระบบ ฐานขอมูล

1.7 องคประกอบของระบบสารสนเทศ
        องคประกอบของระบบสารสนเทศซึ่งเปนระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการของ
บุคคล ไมวาจะเปนระดับบุคคล ระดับกลุมหรือระดับองคการไมใชมีเพียงเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น แตยังมี
องคประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับความสําเร็จของระบบอีกรวมเปน 5 องคประกอบ ซึ่งจะขาดองคประกอบใดไมได
คือ ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1.7.1 ฮารดแวร
           ฮารดแวรเปนองคประกอบสําคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรอบขาง เชน
เครื่องพิมพ เครื่องกราดตรวจ รวมทั้งอุปกรณสื่อสารสําหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาเปนเครือขาย
1.7.2 ซอฟตแวร
           ซอฟตแวร หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนองคประกอบที่สําคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลําดับขั้นตอนของ
คําสั่งที่จะสั่งงานใหฮารดแวรทํางาน เพื่อประมวลผลขอมูลใหไดผลลัพธตามความตองการ ของการใชงาน ใน
ปจจุบันมีซอฟตแวรควบคุมระบบงาน ซอฟตแวรสําเร็จ ทําใหการใชงานคอมพิวเตอรในระดับ บุคคลเปนไปอยาง
กวางขวาง และสงเสริมการทํางานของกลุมมากขึ้น สวนงานในระดับองคกร สวนใหญมักจะมี การพัฒนาระบบตาม
ความตองการโดยการวาจางบริษัทที่รับพัฒนาซอฟแวร หรือโดยนักคอมพิวเตอรที่อยูในฝาย คอมพิวเตอรขององคกร
เปนตน
1.7.3 ขอมูล
           ขอมูล เปนองคประกอบที่สําคัญอีกประการหนึ่งของระบบ สารสนเทศ เปนตัวชี้ความสําเร็จหรือความ
ลมเหลวของระบบได เนื่องจากตองมีการเก็บขอมูลจากแหลงกําเนิด ขอมูลจะตองมีความถูกตองและทันสมัย มีการ
กลั่นกรองและตรวจสอบแลวเทานันจึงจะมีประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อใชงานในระดับกลุมหรือระดับองคกร
                                    ้
ขอมูลตองมีโครงสรางใน การจัดเก็บที่เปนระบบระเบียบเพื่อการสืบคนที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
1.7.4 บุคลากร
           บุคลากรในระดับผูใช ผูบริหาร ผูพัฒนาระบบ นักวิเคราะหระบบ และนักเขียนโปรแกรม เปนองคประกอบ
สําคัญในความสําเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรูความสามารถทางคอมพิวเตอรมากเทาใด โอกาสที่จะใช
งานระบบสารสนเทศและระบบคอม พิวเตอรไดเต็มศักยภาพและคุมคายิ่งมากขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะระบบ

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                      14
สารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอรมีขีดความสามารถมากขึ้น ทําใหผูใชมีโอกาสพัฒนาความสามารถ
ของตนเองและพัฒนาระบบงาน ไดเองตามความตองการ สําหรับระบบสารสนเทศ ในระดับกลุมและองคการ ที่มี
ความซับซอนมากอาจจะตอง ใชบุคลากรในสาขาคอมพิวเตอรโดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน
1.7.5 ขั้นตอนการปฏิบัตงานิ
        ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผูใชหรือของบุคลากร ที่เกี่ยวของก็เปนเรื่องสําคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อ
ไดพัฒนาระบบงานแลวจําเปนตองปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอน ในขณะใชงานก็จําเปนตองคํานึงถึงลําดับขั้นตอน
การปฏิบัติของคนและความสัมพันธกับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เชน ขั้นตอนการบันทึกขอมูล
ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่อง ชํารุดหรือขอมูลสูญหาย และขั้นตอนการทําสําเนาขอมูลสํารอง
เพื่อความปลอดภัย เปนตน สิ่งเหลานี้จะตองมีการ ซักซอม มีการเตรียมการ และการทําเอกสารคูมอการใชงานที่
                                                                                               ื
ชัดเจน

1.8 ตัวอยางการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.8.1 ระบบเอทีเอ็ม




          ระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) เปนระบบที่อํานวยความสะดวกสบายอยางมากใหแก
ผูใชบริการธนาคาร และเปนตัวอยางเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่ไดรับการนํามาใชเปนกลยุทธในการแขงขันทาง
ธุรกิจ โดยในปพ.ศ. 2520 เปนปที่มีการใชเอทีเอ็มเครื่องแรกของโลก ธนาคารซิตี้แบงคในเมือง นิวยอรกเริ่ม
ใหบริการฝากและถอนเงินโดยอัตโนมัตแกลูกคา ซึ่งสามารถใหบริการไดตลอด 24 ชั่วโมง รวมวันเสารอาทิตยดวย
                                        ิ
ในขณะที่ธนาคารอื่น ๆ ที่ตั้งอยูใกล ๆ บนถนนสายเดียวกันใหบริการลูกคาในเวลาปกติเทานั้น คือ เฉพาะจันทรถึง
ศุกร เวลา 8.00 - 14.00 น. หลังจากบายสองโมงก็หมดโอกาสไดรับบริการฝากถอนเงินแลว เมื่อวิเคราะหมุมมองใน
การแขงขันของธนาคารในการใหบริการลูกคา กลาวไดวา ระบบเอทีเอ็มของ ธนาคารซิตี้แบงคเปนบริการใหมททํา
                                                                                                       ี่
ใหลูกคาไดรับความสะดวกสบาย และคลองตัว ไดดึงดูดลูกคาจากธนาคาร อื่นมาเปนลูกคาของตัวเอง และเพิ่มสวน
แบงการตลาดขึ้นมาเกือบสามเทาตัวในชวงเวลาประมาณ 6 เดือน กอนที่ธนาคารคูแขงจะไหวตัวทัน และหันมา

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                      15
Lesson1
Lesson1
Lesson1
Lesson1

More Related Content

What's hot

การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทวัญ ภูพานทอง
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
poptnw
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Tarinee Bunkloy
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
kroobee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
สราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 

What's hot (14)

การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 

Viewers also liked

Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
IAEME Publication
 
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q202 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2dpagoffs
 
Raffle Day March 26, 2010
Raffle Day   March 26, 2010Raffle Day   March 26, 2010
Raffle Day March 26, 2010
MaST Community Charter School
 
7Dì 2 dicembre
7Dì 2 dicembre7Dì 2 dicembre
7Dì 2 dicembre
Democratico Sandonatese
 
Social accountibility standards
Social accountibility standardsSocial accountibility standards
Social accountibility standardsAdane Nega
 
Silverpop Linkedin Demo
Silverpop Linkedin DemoSilverpop Linkedin Demo
Silverpop Linkedin Demo
silverpopsuperstar
 
01 14 presentation
01 14 presentation01 14 presentation
01 14 presentationgriestenberg
 
Introduction to Pronto Marketing
Introduction to Pronto MarketingIntroduction to Pronto Marketing
Introduction to Pronto Marketing
Pronto Marketing
 
KYC Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentation
KYC	Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 PresentationKYC	Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentation
KYC Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentationkingstonyc
 
MBA Unit1 Marketing Of Services
MBA Unit1 Marketing Of ServicesMBA Unit1 Marketing Of Services
MBA Unit1 Marketing Of Services
kkiransoni
 
Deloitte Case Competition 2013
Deloitte Case Competition 2013Deloitte Case Competition 2013
Deloitte Case Competition 2013
ryanamenges
 

Viewers also liked (11)

Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
Design and implementation of push pull converter forrgb led lighting system-2
 
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q202 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2
02 as a_level_media_studies_unitg322_jan2009_highlevelresponseq1+q2
 
Raffle Day March 26, 2010
Raffle Day   March 26, 2010Raffle Day   March 26, 2010
Raffle Day March 26, 2010
 
7Dì 2 dicembre
7Dì 2 dicembre7Dì 2 dicembre
7Dì 2 dicembre
 
Social accountibility standards
Social accountibility standardsSocial accountibility standards
Social accountibility standards
 
Silverpop Linkedin Demo
Silverpop Linkedin DemoSilverpop Linkedin Demo
Silverpop Linkedin Demo
 
01 14 presentation
01 14 presentation01 14 presentation
01 14 presentation
 
Introduction to Pronto Marketing
Introduction to Pronto MarketingIntroduction to Pronto Marketing
Introduction to Pronto Marketing
 
KYC Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentation
KYC	Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 PresentationKYC	Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentation
KYC Harbour Redevelopment - Town Hall No 3 Presentation
 
MBA Unit1 Marketing Of Services
MBA Unit1 Marketing Of ServicesMBA Unit1 Marketing Of Services
MBA Unit1 Marketing Of Services
 
Deloitte Case Competition 2013
Deloitte Case Competition 2013Deloitte Case Competition 2013
Deloitte Case Competition 2013
 

Similar to Lesson1

เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งorawan34
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งpanida21
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
Amonrat
AmonratAmonrat
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เทคโนโลยีและสารสนเทศเทคโนโลยีและสารสนเทศ
เทคโนโลยีและสารสนเทศDeer D'deer
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศKanitta_p
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
TECHNO1
TECHNO1TECHNO1
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
สราวุฒิ จบศรี
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
copyinfinity
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 

Similar to Lesson1 (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เทคโนโลยีและสารสนเทศเทคโนโลยีและสารสนเทศ
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
TECHNO1
TECHNO1TECHNO1
TECHNO1
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Lesson1

  • 1. บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงสังคมความเปนอยูของมนุษยเปนไปอยางรวดเร็ว กลาวกันวาไดเกิดการเปลี่ยนแปลงใน ลักษณะ ที่เรียกวา การปฏิวติมาแลวสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษยรูจักใชระบบชลประทาน เพื่อการเพาะปลูก ั สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากการเรรอนมาเปนการตั้งหลักแหลง เพื่อทําการเกษตร ตอมาเมื่อประมาณ รอยกวาปทแลว กอนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมสวัตต (James Watt ) ประดิษฐเครื่องจักรไอน้ํามนุษยรจักนํา ี่ ู เอาเครื่องจักรมาชวยในอุตสาหกรรมการผลิต และชวยในการสรางยานพาหนะ เพื่องานคมนาคมขนสง ผลที่ ตามมาทําใหเกิดการปฏิวัตทางอุตสาหกรรม สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเปนสังคม ิ เมือง สังคมสารสนเทศที่มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชงานในทุกวงการ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใชเครื่องจักรกลแทนการทํางานดวยมือ พลังงานที่ใชขับเคลื่อน เครื่องจักรมาจากพลังงานน้ําพลังงานไอน้ํา และเปลี่ยนเปนพลังงานจากน้ํามันมีการขับเคลื่อนเครื่องยนตและมอเตอร ไฟฟา การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นอีก โดยเปลียนแปลงระบบการทํางานจากการทีละขั้นตอนมาเปนการ ่ ทํางานระบบอัตโนมัติ การทํางานเหลานี้อาศัยระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรทั้งสิ้น บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
  • 2. โรงงานประกอบรถยนตที่ใชแขนหุนยนต มีผูกลาววาการปฏิวัติครั้งที่สามกําลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่เกิดใหมนี้ ไดแก การพัฒนาทางดานความคิด การ ตัดสินใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร ในอนาคตกลุมคนเพียงกลุมเดียวอาจทํางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบ คอมพิวเตอรควบคุม ทําการควบคุมหุนยนตคอมพิวเตอร และใหหนยนตควบคุมการทํางานของเครื่องจักรอีกตอหนึ่ง ุ ความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของดวยเสมอ ระบบการผลิต สวนใหญ ตองใชคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกสแทรกเขามาเกือบทุกกระบวนการ ตั้งแต การควบคุม การขนสงวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบหอ ในระดับประเทศประเทศไทยสั่งซื้อสินคาเทคโนโลยีระดับ สูงเปนปริมาณมาก ทําใหตองซื้อเทคนิควิธีการ ตลอดจนเครื่อง มือเครื่องจักรเขามาในปริมาณมากไปดวย ขณะเดียวกันเรายัง ขาดบุคลากรที่จะพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือเหลานั้น ใหมีประ สิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจากสาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใชนอย หลายโรงงานยังไม กลาใชเครื่องจักรที่ใชเทคโนโลยีใหม เพราะ หาบุคลากรใน การดําเนินการไดยาก แตในระยะหลังคาจางแรง งาน สูงขึ้น และการแขงขัน ทางธุรกิจมีมากขึน จึงตกอยูในสภาวะ จํายอมที่ตองนําเครื่องมือเหลานั้นเขามา เนื่องจาก ้ เครื่องมือดังกลาว ใหผลผลิตที่ดีกวาของเดิมและทําใหราคาตนทุนการผลิตสินคาต่ํา ลงอีกดวย ในยุควิกฤตการพลังงาน หลายประเทศพยายามลด การใชพลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมการใช พลังงานใหมประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดคาใชจายลง จึงมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยควบคุม เชน ควบคุมการเดิน ี เครื่องใหเหมาะสม ควบคุมปริมาณการเผาไหมของ เครื่องจักรในกระบวนการผลิต ควบคุมการจัดภาระงาน ให เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดลอมตางๆ ดวย เมื่อคอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยมากขึ้น ไดมีการพัฒนางานทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศขึ้น และในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึน สังเกต ้ ไดจากการนําคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาใชในสํานักงาน การจัดทําระบบฐานขอมูลขนาดใหญ การใชอุปกรณอานวย ํ ความสะดวกที่ประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส แสดงวาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคํานวณและ เก็บขอมูลได แพรไปทั่วทุกแหง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการแขงขันดานธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท สงผล ตอการใหบริการขององคการและหนวยงาน และมีผลตอการประกอบกิจในแตละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มใชงานในประเทศไทย เมื่อไมนานมานีเ้ อง โดยในป พ.ศ. 2507 มีการนํา บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
  • 3. คอมพิวเตอรเขามาใชในประเทศไทยเปนครั้งแรก และในขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมแพรหลายนัก จะมี เพียงการใชโทรศัพทเพื่อการติดตอสื่อสารและนําคอมพิวเตอรมาชวยประมวลผลขอมูล งานดานสารสนเทศอื่น ๆ สวนใหญยังคงเปนงาน ภายในสํานักงานที่ยังไมมีอุปกรณและเครื่องมือดานเทคโนโลยีมาชวยงานเทาใดนัก เมื่อมีการประดิษฐคิดคนอุปกรณชวยงานสารสนเทศ เชน เครื่องถายเอกสาร โทรสาร และ ไมโครคอมพิวเตอร อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสูงานดานสารสนเทศมากขึน สํานักงานเปนแหลงที่มีการใช ้ เทคโนโลยีสารสนเทศมากทีสุด เชน การใชคอมพิวเตอรทําบัญชีเงินเดือนและบัญชีรายรับรายจาย การติดตอสื่อสาร ่ ภายในและภายนอกโดยโทรศัพทและ โทรสาร การจัดเตรียมเอกสารดวยการใชเครื่องถายเอกสารและคอมพิวเตอร งานดานสารสนเทศมีแนวโนมขยายตัวทีคอนขางสดใส เพราะเทคโนโลยีดานนี้ไดรบการสงเสริมสนับสนุน ่ ั อยางเต็มที่ มีการวิจัยและพัฒนาใหเกิดผลิตภัณฑใหม ออกมาตอบสนองความตองการของมนุษยอยูตลอดเวลา การใชคอมพิวเตอรทางานในสํานักงาน ํ เทคโนโลยีที่ใชในระบบสารสนเทศที่กําลังไดรับความสนใจอยางมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีสื่อประสม (multimedia) ซึ่งรวมขอความ ภาพ เสียงและวิดีทัศนเขามาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กาลังไดรับการพัฒนา ในอนาคต ํ เทคโนโลยีแบบสื่อประสม จะชวยเสริมและสนับสนุนงานดานสารสนเทศใหกาวหนาตอไป เปนที่คาดหมายวาอัตรา การเติบโตของ ผูทํางานดาน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น แนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศคอยๆ กลายมาเปนระบบรวม โดยใหคอมพิวเตอรระบบหนึ่งทํางาน พรอมกันไดหลายๆ อยาง นอกจากใชประมวลผลขอมูลดานบัญชีแลว ยังใชงานจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพดีด ใชรับสงขอความ หรือจดหมายกับคอมพิวเตอรที่อยูหางไกล ซึ่งอาจอยูคนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกวา ไปรษณีย  อิเล็กทรอนิกส สําหรับเครื่องถายเอกสาร นอกจากจะใชถายสําเนาเอกสารตามปกติแลว อาจเพิ่มขีด ความสามารถ ใหใชงานเปนเครื่องพิมพ หรือรับสงโทรสารไดอีกดวย การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเปนไปอยางรวดเร็ว ทั้งดานฮารดแวร (hardware) ซอฟตแวร (software) ดานขอมูลและการติดตอสื่อสาร ผูใชจึงตองปรับตัวยอมรับและเรียนรู เทคโนโลยีใหมที่เกิดขึ้นอยูเสมอ โดยเฉพาะขอมูลและ การติดตอสื่อสาร (communication) ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของ การดําเนินธุรกิจ หากการ ดําเนินงานธุรกิจใชขอมูลซึ่งมีการบันทึกใสกระดาษและเก็บรวบรวมใส แฟมการเรียกคนและสรุปผลขอมูลยอมทํา ไดชา และเกิดความผิดพลาดไดงายกวา การประมวล ผลขอมูลดวยเครืองคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศจะชวย ่ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3
  • 4. ใหทํางานไดงาย สะดวก รวดเร็ว และถูกตองขึ้น และที่สาคัญชวยใหสามารถตัดสินใจดําเนินงานไดเร็ว  ํ 1.2 ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ คําวา เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตร ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม มาทําใหเกิดประโยชนตอมวลมนุษย เทคโนโลยีจึงเปนวิธีการในการสรางมูลคาเพิ่มของสิ่งตางๆ ใหเกิด ประโยชนมากยิ่งขึ้น เชน ทรายหรือซิลิกอน (silikon) เปนสารแรที่พบเห็นทัวไปตามชายหาด หากนํามาสกัดดวย ่ เทคนิควิธีการสรางเปน ชิป (chip) จะทําใหสารแรซิลิกอนนั้นมีคณคา และมูลคาเพิมขึ้นไดอีกมาก ุ ่ ชิป สําหรับสารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับ ความจริงของคน สัตว สิ่งของ ทั้งที่เปนรูปธรรม และนามธรรม ที่ไดรับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกคน และสื่อสารระหวางกัน นํามาใชใหเกิด ประโยชนได ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนเพิ่มเติมตอไป เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT : Information Technology) หมายถึง การนําวิทยาการที่กาวหนาทางดาน คอมพิวเตอรและ การสื่อสารมาสรางมูลคาเพิ่มใหกับสารสนเทศ ทําใหสารสนเทศ มีประโยชนและใชงานได กวางขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใชเทคโนโลยีดานตางๆ ในการรวบรวม จัดเก็บ ใชงาน สงตอ หรือสื่อสารระหวางกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกียวของ โดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใชในการจัดการสารสนเทศ ่ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง ขั้นตอนวิธีการดําเนิน การซึ่งเกี่ยวของกับซอฟตแวร เกี่ยวของกับตัว ขอมูล บุคลากร และกรรมวิธีการดําเนินงานเพื่อใหขอมูลเกิดประโยชนสูงสุด เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเทคโนโลยีทครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับการประมวลผล ขอมูล ซึ่งไดแกการใช ี่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร การติดตอสื่อสารระหวางกันดวยความรวดเร็วการจัดการขอมูล รวมถึงวิธีการที่จะใชขอมูล  ใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.3 ความกาวหนาของเทคโนโลยี ในภาวะสังคมปจจุบัน หลายสิ่งหลายอยางที่เกิดขึ้นรอบตัวเปนตัวชีบอกวา ประเทศไทยกําลังกาวสูยุค ้ สารสนเทศ ดังจะเห็นไดจากวงการศึกษาสนใจใหความรูดานคอมพิวเตอรและสงเสริมการนําเทคโนโลยี คอมพิวเตอรมาประยุกตงานตางๆ มากขึ้น การบริหารธุรกิจของบริษทหางรานตางๆ ตลอดจนหนวยงานของรัฐบาล ั และรัฐวิสาหกิจมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใชในองคการดวยการเก็บขอมูล ประมวลผลและวิเคราะหขอมูล บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 4
  • 5. แลวนําผลลัพธมาชวยในการวางแผนและตัดสินใจ ระยะเริ่มแรกที่มนุษยไดคิดคนประดิษฐคอมพิวเตอรที่มลักษณะเปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกส ี คอมพิวเตอรไดถูกใชทํางานดานการคํานวณทางวิทยาศาสตรเปนสวนใหญแลวจึงนํามาใชเก็บรวบรวมและ ประมวลผลขอมูลทางดานธุรกิจในเวลาตอมา ระยะแรกนี้เรียกวาระยะการประมวลผลขอมูล (data processing age) ขอมูลที่ไดมาจะตองผานการประมวลผลใหไดเปนสารสนเทศกอน จึงนําไปใชใหเกิดประโยชน วิธีการ ประมวลผลขอมูลจะเริ่มตั้งแตการรวบรวมจัดเก็บขอมูล เมื่อไดขอมูลแลวตองไดรับการตรวจสอบความถูกตอง แบงกลุมจัดประเภทของขอมูล เชน ขอมูลตัวอักษรซึ่งเปนชื่อหรือขอความก็อาจตองมีการเรียงลําดับ และขอมูล ตัวเลขก็อาจตองมีการคํานวณ จากนั้นจึงทําสรุปไดเปนสารสนเทศออกมา ถาขอมูลที่นํามาประมวลผลมีจํานวนมากจนเกินความสามารถของมนุษยทจะทําไดในเวลาอันสัน ก็จําเปนจะตอง ี่ ้ นําคอมพิวเตอรมาชวยเก็บและประมวลผล เมื่อขอมูลอยูภายในคอมพิวเตอร การแกไขหรือเรียกคนสามารถทําไดงาย และสะดวก ขณะเดียวกันการทําสําเนาและการแจกจายขอมูล ก็สามารถดําเนินการไดทันที งานที่เกิดขึนจากการประมวลผลขอมูลมักเก็บในลักษณะแฟมขอมูล ตัวอยางเชน การทําบัญชีเงินเดือนของ ้ พนักงานในบริษัท ขอมูลเงินเดือนของพนักงานทีเ่ ก็บในคอมพิวเตอรจะรวมกันเปนแฟมขอมูลที่ประกอบดวยชื่อ พนักงาน เงินเดือน และขอมูลสําคัญอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอรจะเรียกแฟมเงินเดือนมาประมวลผลและสรุปผลรวม ยอดขั้นตอนการทํางานจะตองทําพรอมกันทีเดียวทั้งแฟมขอมูล ที่เรียกวา การประมวลผลแบบกลุม (batch processing) แตเนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองคการคอนขางซับซอน เชน รายไดของพนักงานทีไดรับในแตละ ่ เดือน อาจไมไดมาจากอัตราเงินเดือนประจําเทานั้น แตอาจมีคา นายหนาจากการขายสินคาดวย ในลักษณะนี้ แฟมขอมูลการขาย จะสัมพันธกับแฟมขอมูลเงินเดือน และสัมพันธกบแฟมขอมูลอื่นๆ เชน คาสวัสดิการ การหัก ั เงินเดือนเปนคาใชจายตางๆ ระบบขอมูลจะกลายเปนระบบที่มีแฟมขอมูลหลายแฟมเชื่อมสัมพันธกัน และโปรแกรม คอมพิวเตอรเรียกแฟมขอมูลเหลานั้นมาจัดการใหเปนไปตามที่ตองการ ระบบนี้เรียกวา ระบบฐานขอมูล (database system) การจัดการขอมูลที่เปนฐานขอมูล จะเปนระบบสารสนเทศที่มีประโยชนซึ่งนําไปชวยงานดานตางๆ อยาง ไดผล ระบบขอมูลที่สรางเพื่อใชในบริษัทจะเปนระบบฐานขอมูลของ กิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงสารสนเทศที่เปน จริงของบริษัท สามารถนําขอเท็จจริงนั้นไปวิเคราะหและนําผลลัพธไปประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร เพื่อการ วางแผนและกําหนดนโยบายการจัดการตาง ๆ ในปจจุบนการนําคอมพิวเตอรไปใชงาน ของประเทศตางๆ ทั่วโลก อยูที่การใชสารสนเทศเปนสวนใหญ ั แนวโนมของระบบ จัดการขอมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยนจากระบบ งานการประมวลผลแบบกลุมมาเปนระบบ ตอบสนองทันที ที่เรียกวา การประมวลผล แบบเชื่อมตรง (online processing) เชน การฝากถอนเงินของธนาคาร ตางๆ ผานเครื่องรับ – จายเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine: ATM) ขณะที่ประเทศตางๆ ยังอยูในยุคของ การประมวลผลสารสนเทศในบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกาและ  ญี่ปุน ไดพฒนาเขาสูการประมวลผลฐานความรู (knowledge base processing) โดยใหคอมพิวเตอรใชงาย รูจัก ั บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 5
  • 6. ตอบสนอง กับผูใช และสามารถแกปญหาที่ตองอาศัย การตัดสินใจระดับสูงดวยการเก็บสะสมฐาน ความรูไวใน คอมพิวเตอร และมีโครงสราง การใหเหตุผล เพื่อนําความรูมาชวยแกปญหาที่สลับซับซอน  การประมวลผลฐานความรูเปนการ ประยุกตหลักวิชาดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ที่ รวบรวมศาสตรหลายแขนง คือ คอมพิวเตอร จิตวิทยา ปรัชญา และภาษาศาสตร เขาดวยกัน ตัวอยาง ชิ้นงานไดแก หุนยนต และระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) ปจจุบนมีซอฟตแวรที่เปนระบบผูเชี่ยวชาญ ชวยในการวินิจฉัยโรค ั ตาง ๆการสํารวจ ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุมัติใหกูยืมเงิน 1.4 ประโยชนที่ไดจากเทคโนโลยี ชีวิตความเปนอยูในปจจุบันเกี่ยวของกับสารสนเทศตางๆ มากมาย การอยูรวมกันเปนสังคมทําใหมนุษยตอง สื่อสารถึงกัน ตองติดตอและทํางานหลายสิงหลายอยางรวมกันสมองของเราตองจดจําสิ่งตางๆ ไวมากมาย ตองจดจํา ่ รายชื่อผูที่เราเกี่ยวของดวย จดจําขอมูลตางๆ ไวใชประโยชนในภายหลัง สังคมจึงตองการความเปนระบบที่มีรูปแบบ ชัดเจน เชน การกําหนดเลขที่บาน ถนน อําเภอ จังหวัด ทําใหสามารถติดตอสงจดหมายถึงกันได ที่อยูเปนสารสนเทศ อยางหนึ่งทีใชงานกัน ่ เพื่อใหสารสนเทศที่เกี่ยวของกับมนุษยเปนระบบมากขึ้น จึงมีการจัดการสารสนเทศ เหลานั้นในลักษณะเชิง ระบบ เชน ระบบทะเบียนราษฎร มีการใชเลขประจําตัวประชาชน ซึ่งประกอบดวยเลขรหัส 13 ตัว แตละตัวจะมี ความหมายเพือใชในการตรวจสอบ ่ การเขารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลก็ตองมีการลงทะเบียน การสรางเวชระเบียน ระบบเสียภาษีก็มีการ สรางรหัสประจําตัวผูเสียภาษี นอกจากนี้มการจดทะเบียนรถยนต ทะเบียนการคา ทะเบียนโรงงาน ฯลฯ ี การใชสารสนเทศเกี่ยวของกับทุกคน การเรียนรูเกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจําเปน ปจจุบันเรา ่ ซื้อสินคาดวยบัตรเครดิต เบิกเงินดวยบัตรเอทีเอ็ม โอนยายขอมูลในลักษณะอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเทคโนโลยีแหงศตวรรษนี้ ที่ใชในการจัดเก็บรวบรวม ขอมูล ขอมูลจํานวนมาก ไดรับการบันทึกไวในสื่อกลางที่สามารถนํากลับมาใชได เชน อยูในแถบบันทึก แผนบันทึก แผนซีดีรอม ดังจะเห็น เอกสารหรือหนังสือ บรรจุในแผนซีดีรอม หนังสือทั้งตูอาจเก็บในแผนซีดีรอมเพียงแผนเดียว การสื่อสารขอมูลที่เห็นเดนชัดขณะนี้ และมีบทบาทมากอยางหนึ่ง คือ ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือการสง ขอความถึงกันผานเครือขายคอมพิวเตอร กลาวคือ ผูใชนั่งอยูหนาจอคอมพิวเตอร พิมพขอความเปนจดหมายหรือ  เอกสาร พิมพเลขที่อยูของไปรษณียอิเล็กทรอนิกสของผูรับและสงผานเครือขายคอมพิวเตอร ผูรับก็สามารถเปด คอมพิวเตอรของผูรับ เพื่อคนหาจดหมายไดและสามารถตอบโตกลับไดทันที บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 6
  • 7. จอภาพแสดงการสงไปรษณียอิเล็กทรอนิกส  เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของกับชีวตประจําวันเปนสิ่งที่ตองเรียนรู เปนเรื่องที่รวมไปถึงการรวบรวม ิ ขอมูล การจัดเก็บขอมูล การจัดการขอมูลและการประมวลผลขอมูล ขอมูลที่จัดเก็บ ตองตรวจสอบเพื่อความถูกตอง จัดรูปแบบเพือใหอยูในรูปแบบที่ประมวลผลได เชน การเก็บนามบัตรของเพื่อนหรือบุคคลที่มีการติดตอซึ่งมีจํานวน ่  มาก เราอาจหากลองพลาสติกมาใสนามบัตร มีการจัดเรียงนามบัตรตามอักษรของชื่อ สรางดัชนีการเรียกคนเพื่อให หยิบคนไดงาย แตเมื่อคอมพิวเตอรเขามามีบทบาท ทําใหมีการเปลียนรูปแบบของการจัดเก็บในลักษณะบัตรมาเปน ่ การจัดเก็บขอมูลไวในแผนบันทึก โดยมีระบบการจัดเก็บและประมวลผลลักษณะเดียวกับที่กลาว เมื่อตองการ เพิ่มเติมปรับปรุงขอมูลหรือเรียกคนก็นําแผนบันทึกนันมาใสในคอมพิวเตอรทําการเรียกคน แลวแสดงผลบนจอภาพ ้ หรือพิมพออกทางเครื่องพิมพ การใชโปรแกรมไมโครซอฟตแอกเซสเก็บขอมูล การจัดการขอมูลดวยคอมพิวเตอรทําไดสะดวก คอมพิวเตอรจึงเปนที่นิยมสําหรับการจัดการขอมูลในยุค บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 7
  • 8. ปจจุบัน ขณะเดียวกันคอมพิวเตอรมีราคาลดลงและมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น จึงเชื่อแนวาบทบาทของการจัดการ ขอมูลในชีวิตประจําวันจะเพิ่มมากขึ้นตอไป โครงสรางและรูปแบบของขอมูลที่ประมวลผลดวยคอมพิวเตอร เปนโครงสรางที่จะตองมีรูปแบบชัดเจน และแนนอน การจัดการขอมูลจึงตองมีการกําหนดกฏเกณฑเฉพาะ เชน การกําหนดรหัสเพื่อใชในการจําแนกขอมูล รหัสจึงมีความสําคัญ เพราะคอมพิวเตอรสามารถจําแนกขอมูลดวยรหัสไดงาย ลองนึกดูวาหากมีขอมูลจํานวนมาก แลวใหคอมพิวเตอรคนหาโดยคนหาตั้งแตหนาแรกเปนตนไป การดําเนินการเชนนี้ กวาจะคนพบอาจไมทันตอความ ตองการ การดําเนินการเกียวกับขอมูลจึงตองมีการกําหนดเลขรหัส เชน เลขประจําตัวประชาชน รหัสเลขทะเบียน ่ คนไข ทะเบียนรถยนต เลขประจําตัวนักเรียน เปนตน การจัดการในลักษณะนี้จงตองมีการสรางระบบเพื่อความ ึ เหมาะสมกับการทํางานของคอมพิวเตอรเปนสําคัญ นอกจากเรื่องความเร็วและความแมนยําของการประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอรแลว การคัดลอกและการ แจกจายขอมูลไปยังผูใชก็ทําไดสะดวก เนื่องจากขอมูลที่เก็บใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกสสามารถเปลี่ยนถายระหวาง ตัวกลางไดงาย เชน การสําเนาขอมูลระหวางแผนบันทึกขอมูลสามารถทําเสร็จไดในเวลารวดเร็ว  ดวยความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางสังคมในยุคของสารสนเทศ การปรับตัวของสังคมจึง เกิดขึ้น ประเทศที่เจริญแลวประชากรสวนใหญจะอยูกบเครื่องจักรเครื่องมือตางๆ ที่เกี่ยวของกับสารสนเทศ มี ั เครือขายการใหบริการใหมๆ เพิ่มขึ้นหลายอยาง ขณะที่เราอยูบาน อาจใชโทรทัศนติดตอเขาระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต (internet) เพื่อขอเรียกดูราคาสินคา ขอดูขาวเกียวกับดินฟาอากาศ ขาวความเคลื่อนไหวเกียวกับการเมือง ่ ่ อัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา นอกจากนี้ยังมีระบบการสั่งซื้อของผานทางเครือขายคอมพิวเตอร แมบานใชคอมพิวเตอร  สวนตัวที่บานตอเชื่อมผานเครือขายสายโทรศัพทไปยังหางสรรพสินคา เพื่อเปดดูรายการสินคาและราคา แมบาน สามารถสั่งซื้อไดเมื่อตองการ 1.5 เทคโนโลยีกับแนวโนมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหสังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเปนสังคม สารสนเทศ สภาพของสังคม โลกไดเปลี่ยนแปลงมาแลวสองครั้ง จากสังคมความเปนอยู แบบเรรอนมาเปนสังคมเกษตรที่รูจกกับการเพาะปลูก ั และสรางผลิตผลทางการเกษตรทําใหมี การสรางบานเรือนเปนหลักแหลง ตอมามีความจําเปนตองผลิตสินคาใหได ปริมาณมากและ ตนทุนถูก จึงตองหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทําใหสภาพความเปนอยูของมนุษยเปลี่ยนแปลงมา เปนสังคมเมือง มีการรวมกลุมอยูอาศัยเปนเมือง มีอุตสาหกรรมเปนฐานการผลิต สังคม อุตสาหกรรมไดดําเนินการ มาจนถึงปจจุบัน และกําลังจะเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคมสารสนเทศปจจุบันคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารมีบทบาท มากขึ้น มีการใชเครือขาย เชน อินเทอรเน็ตเชื่อมโยงการทํางานตาง ๆ การดําเนินธุรกิจใชสารสนเทศอยางกวางขวาง เกิดคําใหมวา ไซเบอรสเปซ (Cyberspace) มีการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ในไซเบอรสเปซ เชน การพูดคุย การซื้อสินคา และบริการ การทํางานผานทางเครือขายคอมพิวเตอรทําใหเกิดสภาพทีเ่ สมือนจริงมากมาย เชนหองสมุดเสมือนจริง หองเรียนเสมือนจริง ที่ทํางานเสมือนจริง ฯลฯ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 8
  • 9. เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัสและตอบสนองตาม ความตองการ ปจจุบันการใช เทคโนโลยีเปนแบบบังคับ เชน การดูโทรทัศน การฟงวิทยุ เมื่อเราเปดเครื่องรับโทรทัศน เราไมสามารถเลือกตาม ความตองการได ถาสถานีสงสัญญาณใดมา เราก็จะตองชม ดังนั้นเมื่อเปดวิทยุจะมีเสียงดังขึ้นทันที หากไมพอใจก็ทํา ไดเพียงเลือกสถานีใหมแนวโนมจากนีไปจะมีการเปลียนแปลงในลักษณะที่เรียกวาออนดีมานด (on demand) เราจะมี ้ ่ ทีวีออนดีมานด (TV on demand) มีวิทยุแบบตามความตองการ เชน เมื่อตองการชมภาพยนตรเรืองใดก็เลือกชม และ ่ ดูไดตั้งแตตนรายการ หากจะศึกษาหรือเรียนรูก็มการศึกษาออนดีมานด (education on demand) คือสามารถเลือกเรียนตามตองการ ี ได การตอบสนองตามความตองการ เปนหนทางที่เปนไปได เพราะเทคโนโลยีมีพัฒนาการที่กาวหนาจนสามารถนํา ระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความตองการของมนุษยได เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพทางการทํางานแบบทุกสถานที่ และทุกเวลา เมื่อ การสื่อสารแบบสอง ทางกาวหนาและแพรหลายขึน การโตตอบผานเครือขายทําใหเสมือนมี ปฏิสัมพันธไดจริง เรามีระบบประชุมทางวีดิ ้ ทัศน ระบบประชุมบนเครือขาย มีระบบการศึกษาบนเครือขาย มีระบบการคาบนเครือขาย ลักษณะของการดําเนิน ธุรกิจเหลานี้ทาใหขยายขอบเขตการทํางาน หรือดําเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแหง และดําเนินการไดตลอด 24 ชั่วโมง ํ เชน ระบบเอทีเอ็ม ทําใหมีการเบิกจายไดเกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกลตวผูรับบริการมากขึ้น แตดวย ั เทคโนโลยีที่กาวหนายิ่งขึ้น การบริการจะกระจายมากยิ่งขึ้นจนถึงทีบาน ในอนาคตสังคมการทํางานจะกระจายจน  ่ งานบางงานอาจนั่งทําที่บานหรือที่ใดก็ไดและเวลาใดก็ได เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปนเศรษฐกิจโลก ความเกี่ยวโยง ของเครือขายสารสนเทศทําใหเกิดสังคมโลกาภิวัฒน (globalization) ระบบเศรษฐกิจซึ่งแตเดิมมีขอบเขตจํากัด ภายในประเทศ ก็กระจายเปนเศรษฐกิจโลก ทั่วโลกจะมีกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินคาและบริการอยาง กวางขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยี สารสนเทศมีสวนเอื้ออํานวยใหการดําเนินการมีขอบเขตกวางขวางมากยิงขึน ่ ้ ระบบเศรษฐกิจของโลกจึงผูกพันกับทุกประเทศ และเชื่อมโยงกันแนบแนนขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน หนวยงานภายในเปนแบบ เครือขายมากขึ้น แตเดิมการ จัดองคกรมีการวางเปนลําดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงลาง แตเมือการสื่อสารแบบสองทางและการ ่ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 9
  • 10. กระจายขาวสารดีขึ้น มีการใชเครือขายคอมพิวเตอรในองคกรผูกพันกันเปนกลุมงาน มีการเพิ่มคุณคาขององคกรดวย เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสรางขององคกรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมีแนวโนมทีจะสรางองคกรเปน ่ เครือขายที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึน หนวยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหนวย ้ ธุรกิจอื่นเปนเครือขาย สถานะภาพขององคกรจึงตองแปรเปลี่ยนไปตามกระแสของเทคโนโลยี เพราะการดําเนิน ธุรกิจตองใชระบบสื่อสารที่มีความรวดเร็วเทากับแสง กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึน อีกทั้งยังทําใหวิถการตัดสินใจ หรือ ้ ี เลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น แตเดิมการตัดสินปญหาอาจมีหนทางใหเลือกไดนอย เชน มีคําตอบเพียง ใช หรือ ไมใช แตดวยขอมูลขาวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทําใหวถีความคิดในการตัดสินปญหาเปลี่ยนไป ผูตัดสินใจมีทางเลือก  ิ ไดมากขึ้น มีความละเอียดออนในการตัดสินปญหาไดดขึ้น ี เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาททีในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลตอ การเปลี่ยนแปลงทาง ่ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไดอยางมาก ลองนึกดูวาขณะนีเ้ ราสามารถ ชมขาว ชมรายการโทรทัศนที่สงกระจาย ผานดาวเทียมของประเทศตาง ๆ ไดทั่วโลก เราสามารถรับรูขาวสารไดทันที เราใชเครือขายอินเทอรเน็ตในการ สื่อสารระหวางกัน และติดตอกับคนไดทวโลก จึงเปนทีแนชัดวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ั่ ่ สังคม และการเมืองจึงมีลักษณะเปนสังคมโลกมากขึ้น 1.6 ระบบสารสนเทศ จากความสําคัญของสารสนเทศ และการหาหนทางที่จะใชเทคโนโลยีในการจัดการ สารสนเทศ ใน พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทยไดประกาศอยางเปนทางการใหเปนปแหงเทคโนโลยี สารสนเทศไทย รัฐบาลไดเห็นความสําคัญ ของระบบขอมูล ที่มีเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร และระบบสื่อสารเปนตัวนํา และจะมีบทบาทสําคัญในการ พัฒนาและผลักดันใหเกิดการใชทรัพยากรของประเทศอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในดานทรัพยากรมนุษย วัสดุ อุปกรณ และเวลา รัฐบาลไดลงทุนใหกับโครงการพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนจํานวนมาก เชน การ ขยายระบบโทรศัพท การขยายเครือขายสื่อสาร การสรางระบบฐานขอมูล ทะเบียนราษฎร การสรางระบบการจัดเก็บภาษี และระบบศุลกากรดวยคอมพิวเตอร ไมเพียงแตประเทศไทยเทานั้นที่ใหความสําคัญเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ หลายประเทศทั่วโลกก็ให ความสําคัญเชนกัน แตละประเทศไดลงทุนทางดานนี้เปนจํานวนมาก ทั้งนี้เพราะขอมูลเปนกลไกสําคัญในเชิงรุก เพื่อ พัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันในระดับสากลได อีกทั้งยังเพิ่มคุณภาพชีวิต กระจายความเจริญสูชนบท และสราง ความเสมอภาคในสังคม สังคมความเปนอยูและการทํางานของมนุษยมีการรวมกลุมเปนประเทศ การจัดองคกรเปนหนวยงานของ รัฐบาลและเอกชน และภายในองคกรก็มการแบงยอยลงเปนกลุม เปนแผนก เปนหนวยงาน ภายในหนวยงานยอยก็มี ี ระดับบุคคล เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของในองคกรพอที่จะแบงการจัดการสารสนเทศขององคการไดตาม จํานวนคนที่เกียวของ ตามรูปแบบการรวมกลุมขององคกรได 3 ระดับ คือ ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระดับ ่ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 10
  • 11. สารสนเทศระดับกลุม และระบบสารสนเทศระดับองคกร 1.6.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานใหแตละบุคคลในหนาที่ที่ รับผิดชอบ ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แตมีความสามารถในการประมวลผลดวย ความเร็วสูงขึน ประกอบกับมีโปรแกรมสําเร็จที่ทําใหผูใชสามารถใชงานไดงาย กวางขวางและคุมคามากขึ้น เชน ้  ซอฟตแวรประมวลผลคํา(word processor) ซอฟตแวรนาเสนอ(presentation) ซอฟตแวรกราฟก (graphic) ํ ซอฟตแวรการทําสิ่งพิมพ (desktop publishing) ซอฟตแวรตารางทํางาน(spread sheet) ซอฟตแวรจดการฐานขอมูล ั (database management และซอฟตแวรบริหารโครงงาน(project management) เปนตน และชุดโปรแกรมที่ไดรบ ั ความนิยมในปจจุบัน เปนโปรแกรมที่ไดรวบรวมโปรแกรมประมวลคํา โปรแกรมนําเสนอ โปรแกรมตารางทํางาน โปรแกรมจัดการฐานขอมูล รวมเปนชุดเขาไวดวยกัน  ขอมูลที่ชวยใหการทํางานของบุคลากรดีขึ้นนั้น ตองขึ้นอยูกับหนาที่รบผิดชอบของแตละคนตางกันไป ั ตัวอยางเชน พนักงานขายควรมีขอมูลเกี่ยวกับลูกคาเปนอยางดี ซึ่งจะทําใหติดตอซื้อขายไดผลเลิศ บริษัทควรมีการ เตรียมอุปกรณคอมพิวเตอรไวใหพนักงานขายไดใชในการจัดเก็บขอมูลลูกคา เชน ชื่อ ที่อยู และความสนใจในตัว สินคา หรือขอมูลอื่นๆ ที่จะสนับสนุนการขาย พรอมกับระบบที่จะชวยพนักงานแตละคนในการเรียกคนหาขอมูล ตามเงื่อนไขเพือวางแผน จัดการ และควบคุมการทํางานของตัวเองได เชนระบบวิเคราะหขอมูลการขาย เปนตน ่ 1.6.2 ระบบสารสนแทศระดับกลุม ระบบสารสนเทศระดับกลุม คือ ระบบสารสนเทศที่ชวยเสริมการทํางานของกลุมบุคคล ที่มีเปาหมายการ ทํางานรวมกันใหมีประสิทธิภาพมากขึน ้ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 11
  • 12. ตัวอยางของการใชระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก คําวาการทํางานเปนกลุม (workgroup) ใน ที่นี้หมายถึง กลุมบุคคลจํานวน 2 คนขึ้นไปที่รวมกันทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน โดยทั่วไปบุคลากรในกลุม เดียวกันจะรูจกกันและทํางานรวมกัน เปาหมายหลักของการทํางานเปนกลุมคือ การเตรียมสภาวะแวดลอมที่จะ ั เอื้ออํานวยประโยชนใน การทํางานรวมกันเปนกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ และชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดย ทําใหเปาหมายของธุรกิจดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิผล แนวทางหลักก็คือการทําใหเกิดการใชทรัพยากรรวมกันโดยเฉพาะขอมูลและอุปกรณเทคโนโลยีพื้นฐาน การนําเอาคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาเชื่อมตอกันดวยเครือขายทองถิ่น (Local Area Network : LAN) ทําใหมีการ เชื่อมโยงและใชทรัพยากรของคอมพิวเตอรรวมกัน เชน เครื่องพิมพรวมกัน ขอมูลที่ใชรวมกันในแผนกจะบรรจุไว ในระบบคอมพิวเตอรที่มีหนาที่ควบคุมการจัดเก็บแฟมขอมูลกลางที่เรียกวาเครื่องบริการแฟม (file server) ถามีการ แกไขขอมูลในฐานขอมูลกลางนี้โดยผูใชคนใดคนหนึ่ง ผูใชคนอื่นที่อยูบนเครือขายคอมพิวเตอรนก็จะไดรับขอมูลที่ ี้ ผานการแกไขแลวนั้นเชนกัน การประยุกตใชงานคอมพิวเตอรในลักษณะของการทํางานเปนกลุม สามารถใชกับงานตางๆ ได ตัวอยาง ระบบบริการลูกคา หรือการเสนอขายสินคาผานทางสื่อโทรศัพท พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยูหลายคนและใช เครือขายคอมพิวเตอรในการเก็บขอมูลกลางของลูกคารวมกัน กลาวคือ มีขอมูลเพียงชุดเดียวที่พนักงานทุกคนจะ เขาถึงได ถามีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม พนักงานในกลุมจะตองรับรูดวย เชนลูกคาโทรศัพทมาถามคําถามหรือ ขอคําปรึกษาเกี่ยวกับสินคา พนักงานอาจจะชวยเตือนความจําเมื่อถึงเวลาตองโทรศัพทกลับไปหาลูกคา แมพนักงาน ที่รับโทรศัพทครั้งที่แลวจะไมอยู แตพนักงานที่ทํางานอยูสามารถเรียก ขอมูลจากระบบคอมพิวเตอร แลวโทรกลับไป  ตามนัดหมาย ทําใหธุรกิจดําเนินตอไปไดโดยไมหยุดชะงัก เปนตน อันจะเปนการเพิมคุณภาพการบริการ หรือเปนกล ่ ยุทธที่ชวยทางดาน การขาย ระบบสารสนเทศของกลุมหรือแผนกยังมีแนวทางอื่นๆ ในการสนับสนุนการบริหารงานและการปฏิบัติงาน เชน การสื่อสารดวยระบบไปรษณียอเิ ล็กทรอนิกส การประชุมผานเครือขาย ซึ่งอาจจะประชุมปรึกษาหารือกันได โดยอยูตางสถานที่กัน การจัดทําระบบแผงขาว (Bulletin Board System : BBS) ของแผนกการประชุมทางไกล การ ชวยกันเขียนเอกสาร ตํารา หรือรายงานรวมกันผานเครือขายคอมพิวเตอร การทําตารางทํางานของกลุม ระบบ สนับสนุนการตัดสินใจของกลุม ระบบจัดการฐานขอมูล ระบบการไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดการ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 12
  • 13. เก็บขอความ ระบบการจัดตารางเวลาของกลุม ระบบการบริหารโครงการของกลุม ระบบการใชแฟมขอความรวมกัน ของกลุม และระบบประมวลผลภาพเอกสาร เปนตน 1.6.3 ระบบสารสนเทศระดับองคกร ระบบสารสนเทศระดับองคกรคือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดําเนินงานขององคกรในภาพรวม ระบบในลักษณะนี้จะเกียวของกับการปฏิบัติงานรวมกันของหลายแผนก โดยการใชขอมูลที่เกี่ยวของ รวมกันดวยวิธี ่ สงผานถึงกันจากแผนกหนึ่งขามไปอีกแผนกหนึ่ง ระบบสารสนเทศดังกลาวนี้สามารถสนับสนุน งานในระดับผู ปฏิบัติการและสนับสนุนการตัดสินใจ เนืองจากสามารถใหขอมูลจากแผนกตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของ มาประกอบการ ่ ตัดสินใจ โดยอาจนําขอมูลมาแสดงในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอรมทีตองการ บอยครั้งที่ การบริหารงานใน ่ ระดับสูงจําเปนตองใชขอมูลรวมกันจากหลายแผนกเพือประกอบการตัดสินใจ ่ ระบบการประสานงานเพื่อการสรางรายไดใหกับธุรกิจการคา ตัวอยางระบบ สารสนเทศระดับองคการใน ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการขายสินคา โดยมีฝายตาง ๆ ที่เกียวของในองคการหลาย ฝาย เชน ฝายการขาย ฝายสินคาคง ่ คลัง ฝายพัสดุ และฝายการเงิน แตละฝายอาจจะมีระบบขอมูลหรือคอมพิวเตอร ที่สนับสนุนการปฏิบัติการ และยังมี ระบบการสื่อสารหรือเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร ระหวางฝายได เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยน ขอมูลไปตามสายการเชื่อมโยง เนื่องจากจุดประสงคของการทําธุรกิจก็เพือสรางผลกําไรใหกับบริษัท ถามีการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางฝาย ่ อยางมีประสิทธิภาพแลว ยอมทําใหเกิดการขาย สินคา และการตามเก็บเงินไดอยางรวดเร็ว เชน ทันที่ที่ฝายการขาย ตกลงขายสินคากับลูกคา จะมีการปอนขอมูลการขายสินคาลงในระบบคอมพิวเตอร ฝายอื่นที่เกียวของจะไดรับขอมูล ่ การขายนี้ และสามารถปฏิบัติหนาที่ของตัวเองไดอยางตอเนื่องทันที เชน ฝายสินคาคงคลังจัดตรวจสอบเตรียมใบเบิก สินคาเพื่อสงใหฝายพัสดุไดทันที ฝายการเงินตรวจสอบความถูกตองของการขายสินคาแลวดําเนินการทําใบสงสินคา และดูแลเรื่องระบบลูกหนี้โดยอัตโนมัติ และสุดทายฝายพัสดุดําเนินการจัดสงสินคาไปใหลูกคาแลว ก็จะดําเนินการ ติดตามการคางชําระจากลูกหนี้ตอไป บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 13
  • 14. หัวใจสําคัญของระบบสารสนเทศในระดับองคกร คือ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในองคกรที่จะตอง เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอรของแตละแผนกเขาดวยกัน เพื่อใหเกิด การใชขอมูลรวมกัน นอกจากนียังสามารถใช ้ ทรัพยากรรวมกันไดดวย ในเชิงเทคนิคระบบสารสนเทศระดับ องคกรอาจจะมีระบบคอมพิวเตอรที่ดแลแฟมขอมูล มี ู การเชื่อมโยงคอมพิวเตอรหลายระบบเขาดวยกันเปนเครือขายแลน หรืออาจจะมีเครือขายคอมพิวเตอรในระดับกลุม อยูแลว จึงเชื่อมโยงเครือขายยอยเหลานั้นเขาดวยกัน กลายเปนเครือขายของ เครือขายคอมพิวเตอร ในกรณีที่มีจํานวน ผูใชในองคกรมาก เครื่องมือพื้นฐานอีกประการหนึ่งของระบบขอมูลก็คือ ระบบจัดการฐานขอมูล ซึ่งเปนโปรแกรม สําคัญในการดูแลระบบ ฐานขอมูล 1.7 องคประกอบของระบบสารสนเทศ องคประกอบของระบบสารสนเทศซึ่งเปนระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการของ บุคคล ไมวาจะเปนระดับบุคคล ระดับกลุมหรือระดับองคการไมใชมีเพียงเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น แตยังมี องคประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับความสําเร็จของระบบอีกรวมเปน 5 องคประกอบ ซึ่งจะขาดองคประกอบใดไมได คือ ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.7.1 ฮารดแวร ฮารดแวรเปนองคประกอบสําคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรอบขาง เชน เครื่องพิมพ เครื่องกราดตรวจ รวมทั้งอุปกรณสื่อสารสําหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาเปนเครือขาย 1.7.2 ซอฟตแวร ซอฟตแวร หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนองคประกอบที่สําคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลําดับขั้นตอนของ คําสั่งที่จะสั่งงานใหฮารดแวรทํางาน เพื่อประมวลผลขอมูลใหไดผลลัพธตามความตองการ ของการใชงาน ใน ปจจุบันมีซอฟตแวรควบคุมระบบงาน ซอฟตแวรสําเร็จ ทําใหการใชงานคอมพิวเตอรในระดับ บุคคลเปนไปอยาง กวางขวาง และสงเสริมการทํางานของกลุมมากขึ้น สวนงานในระดับองคกร สวนใหญมักจะมี การพัฒนาระบบตาม ความตองการโดยการวาจางบริษัทที่รับพัฒนาซอฟแวร หรือโดยนักคอมพิวเตอรที่อยูในฝาย คอมพิวเตอรขององคกร เปนตน 1.7.3 ขอมูล ขอมูล เปนองคประกอบที่สําคัญอีกประการหนึ่งของระบบ สารสนเทศ เปนตัวชี้ความสําเร็จหรือความ ลมเหลวของระบบได เนื่องจากตองมีการเก็บขอมูลจากแหลงกําเนิด ขอมูลจะตองมีความถูกตองและทันสมัย มีการ กลั่นกรองและตรวจสอบแลวเทานันจึงจะมีประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อใชงานในระดับกลุมหรือระดับองคกร ้ ขอมูลตองมีโครงสรางใน การจัดเก็บที่เปนระบบระเบียบเพื่อการสืบคนที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ 1.7.4 บุคลากร บุคลากรในระดับผูใช ผูบริหาร ผูพัฒนาระบบ นักวิเคราะหระบบ และนักเขียนโปรแกรม เปนองคประกอบ สําคัญในความสําเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรูความสามารถทางคอมพิวเตอรมากเทาใด โอกาสที่จะใช งานระบบสารสนเทศและระบบคอม พิวเตอรไดเต็มศักยภาพและคุมคายิ่งมากขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะระบบ บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 14
  • 15. สารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอรมีขีดความสามารถมากขึ้น ทําใหผูใชมีโอกาสพัฒนาความสามารถ ของตนเองและพัฒนาระบบงาน ไดเองตามความตองการ สําหรับระบบสารสนเทศ ในระดับกลุมและองคการ ที่มี ความซับซอนมากอาจจะตอง ใชบุคลากรในสาขาคอมพิวเตอรโดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน 1.7.5 ขั้นตอนการปฏิบัตงานิ ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผูใชหรือของบุคลากร ที่เกี่ยวของก็เปนเรื่องสําคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อ ไดพัฒนาระบบงานแลวจําเปนตองปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอน ในขณะใชงานก็จําเปนตองคํานึงถึงลําดับขั้นตอน การปฏิบัติของคนและความสัมพันธกับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เชน ขั้นตอนการบันทึกขอมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่อง ชํารุดหรือขอมูลสูญหาย และขั้นตอนการทําสําเนาขอมูลสํารอง เพื่อความปลอดภัย เปนตน สิ่งเหลานี้จะตองมีการ ซักซอม มีการเตรียมการ และการทําเอกสารคูมอการใชงานที่ ื ชัดเจน 1.8 ตัวอยางการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.8.1 ระบบเอทีเอ็ม ระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) เปนระบบที่อํานวยความสะดวกสบายอยางมากใหแก ผูใชบริการธนาคาร และเปนตัวอยางเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่ไดรับการนํามาใชเปนกลยุทธในการแขงขันทาง ธุรกิจ โดยในปพ.ศ. 2520 เปนปที่มีการใชเอทีเอ็มเครื่องแรกของโลก ธนาคารซิตี้แบงคในเมือง นิวยอรกเริ่ม ใหบริการฝากและถอนเงินโดยอัตโนมัตแกลูกคา ซึ่งสามารถใหบริการไดตลอด 24 ชั่วโมง รวมวันเสารอาทิตยดวย ิ ในขณะที่ธนาคารอื่น ๆ ที่ตั้งอยูใกล ๆ บนถนนสายเดียวกันใหบริการลูกคาในเวลาปกติเทานั้น คือ เฉพาะจันทรถึง ศุกร เวลา 8.00 - 14.00 น. หลังจากบายสองโมงก็หมดโอกาสไดรับบริการฝากถอนเงินแลว เมื่อวิเคราะหมุมมองใน การแขงขันของธนาคารในการใหบริการลูกคา กลาวไดวา ระบบเอทีเอ็มของ ธนาคารซิตี้แบงคเปนบริการใหมททํา  ี่ ใหลูกคาไดรับความสะดวกสบาย และคลองตัว ไดดึงดูดลูกคาจากธนาคาร อื่นมาเปนลูกคาของตัวเอง และเพิ่มสวน แบงการตลาดขึ้นมาเกือบสามเทาตัวในชวงเวลาประมาณ 6 เดือน กอนที่ธนาคารคูแขงจะไหวตัวทัน และหันมา บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 15