SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน เรื่อง ยาเสพติด
สารบัญ
->ยาเสพติดคืออะไร
->สาเหตุสาคัญที่ทาให้ติดสารเสพติด
->ประเภทของสิ่งเสพติด
->การป้องกันการติดยาเสพติด
->10 สารยาเสพติดอันตรายที่ควรรู้
->ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย
->ลักษณะอาการของผู้ติดยาเสพติด
->โทษยาเสพติด
->บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมาย
->ข่าวสารเสพติดในบ้านเรา
ที่มาและความสาคัญ
จากสถิติของการสารวจวัยรุ่นอายุ18ปีขึ้นไปเป็นถึงร้อยละ9.1ในประเทศไทย
มีวัยรุ่นติดสารเสพติดหรือยาเสพติดหลายล้านคน ปัจจุบันโลกและสังคมเปลี่ยนไป ส่งผลทางตรง
การเลี้ยงดูและความเข้าใจเอาใจใส่ในครอบครัวเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยยับยั้งวัยรุ่นติดสารเสพติด
และในฐานะผู้จัดทาโครงงานเพื่อต้องการให้วัยรุ่นไทยลดความหลงผิดในสารเสพติด ผู้จัดทา
โครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับสารเสพติด เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง คือ ความเครียดของวัยรุ่น
ครอบครัวไม่ใส่ใจ ตามเพื่อน และนอกจากนี้ยังมีเรื่องสภาพแวดล้อมการเป็นอยู่มาเกี่ยวข้องด้วย
อาจส่งผลต่อการเป็นอยู่ในสังคม ทาให้วัยรุ่นเหล่านั้นมีความอยากรู้อยากลองพอได้ลองแล้วก็ติด
ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ซึ่งมันนามาถึงการลักขโมยเงินเพื่อนาไปซื้อสารเสพติดที่ต้องการ หาก
สังคมไม่แก้ปัญหานี้อาจทาให้ปัญหายาเสพติดรุนแรงต่อวัยรุ่นไทยมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาปัญหาของสารเสพติด
2.เพื่อศึกษาประเภทของสารเสพติด
3.เพื่อศึกษาวิธีป้องการตัวเองจากสารเสพติด
4.เพื่อศึกษาบทลงโทษของผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย
ผลที่คาดว่าจะได้
1.ผู้จัดทามีความรู้ในเรื่องที่นาเสนอมากขึ้น
2.สามารถป้องกันระมัดระวังตัวเองในชีวิตประจาวันได้
ยาเสพติดคืออะไร ยาเสพติด หมายถึง ยาหรือสารเคมี หรือวัตถุชนิดใด ๆ ที่ อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรือ
จากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อ เสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีการกิน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใด ๆ ก็ ตาม เป็นช่วง
ระยะเวลา หรือนานติดกันจนทาให้ร่างกายทรุดโทรม และตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้น ทั้งด้านร่างกาย
และ จิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว
สาเหตุสาคัญที่ทาให้ติดยาเสพติด จากการถูกชักชวน จากการอยากทดลองอยากรู้อยากเห็น อยากรู้อยาก
สัมผัส จากการถูกหลอกลวง เหตุทางกายความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็น โรคปวด
ศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับ ความทรมาน ทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวมา
นานแต่ ก็ไม่หายจึงหันเข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนั้นคิดว่า
ตัวเองเป็นคนเก่ง จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพ
และค้ายาเสพติดภาวะทางเศรษฐกิจ บีบค้นจิตใจ
ประเภทของสิ่งเสพติด
แบ่งตามลักษณะการผลิต - สิ่งเสพติดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ฝิ่น กัญชา ฯลฯ - สิ่งเสพติดสังเคราะห์ได้แก่ สิ่งเสพ
ติดที่ผลิตด้วยกรรมวิธี ทางเคมี เช่น เฮโรอีน มอร์ฟีน ฯลฯแบ่งตามลักษณะการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท - ประเภทออกฤทธิ์กด
ประสาท จะมีฤทธิ์ทา ให้สมองมึนงง ประสาทชา ง่วงซึม ไดแก้ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน – ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทจะมีฤทธิ์ทา ให้เกิด
อาการ ตื่นเต้น ตลอดเวลาไม่รู้สึกง่วงนอน แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาผู้เสพจะหมด ได้แก่ ยาม้า กระท่อม - ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท จะ
มีฤทธิ์ทา ให้เกิดอาการ ประสาทหลอนเห็นภาพ ลวงตาหูแว่ว อารมณ์แปรปรวน ได้แก่ เหล้าแห้ง เห็ดขี้ควาย - ประเภทออกฤทธิ์กด
ประสาท และหลอนประสาทด้วย ได้แก่ กัญชา
การป้องกันการติดยาเสพติด
-ป้องกันตนเอง ไม่ใช้ยาโดยมิได้รับคะแนน จากแพทย์ และ จง
อย่าทดลอง เสพยาเสพติดทุกชนิดโดยเด็ดขาด เพราะติด ง่าย
หายยาก
-ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูและเด็กบุคคลในครอบครัว
หรือที่อยู่รวมกัน อย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ต้องคอยอบรม สั่ง
สอนให้รู้ถึงโทษและภัยของยาเสพติด หากมีผู้เสพยาเสพ ติดใน
ครอบครัวจงจัดการให้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล
-ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเขาก็ใจถึงโทษ และภัยของยาเสพติด โดยมิ
ให้ เพื่อนบ้าน รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติด ยาเสพติด
จง ช่วยแนะนาให้ไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล
-ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้าน ใด ตาบลใดมียาเสพติด
แพร่ ระบาด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ ตรวจทุกแห่งทุกท้องที่ทราบ
ยาเสพติดป้องกันได้
1. ป้องกันตนเอง ทาได้โดย ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้รู้เท่าทันโทษพิษภัยของยาเสพติด ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิด
และปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน ระมัดระวังเรื่องการใช้ยา เพราะยาบางชนิดอาจทาให้เสพ ติดได้ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
เลือกคบเพื่อนดีที่ชักชวนกันไปในทางสร้างสรรค์ เมื่อมีปัญหาชีวิต ควรหาหนทางแก้ไขที่ไม่ข้องเกี่ยวกับ ยาเสพติด หาก
แก้ไขไม่ได้ควรปรึกษา ผู้ใหญ่
2. ป้องกันครอบครัว ทาได้โดย สร้างความรักความอบอุ่นและความสัมพันธ์อันดีระหว่าง สมาชิกในครอบครัว รู้และ
ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ให้ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ให้กาลังใจและหาทางแก้ไข
หากพบว่าสมาชิกใน ครอบครัวติดยาเสพติด
3. ป้องกันชุมชน ทาได้โดย ช่วยชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด เมื่อทราบแหล่งเสพ แหล่งค้า หรือผลิตยาเสพติด ควรแจ้ง
ให้เจ้าหน้าที่ทราบทันที
ติดกีฬาก็มีความสุขได้
การเล่นกีฬาไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมทางเลือกที่เบี่ยง - เบนความสนใจของเยาวชนให้ ห่างไกลยาเสพติด
เท่านั้น แต่ทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์ เชื่อว่า การออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา นั้น จะทา ให้ต่อมไร้ท่อใต้
สมองหลั่งสารเคมีชนิดหนึ่งชื่อ “เอนโดฟีน” ออกมา ซึ่งสารชนิดนั้นจะทาให้รู้สึกสดชื่น และ เป็นสุข ผู้ที่ ออกกา
ลังกายอยู่เสมอจึงมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์สมกับที่กล่าว ว่า “กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ” ดั้งนั้น จึงควรที่จะ
ช่วยกันส่งเสริมให้ เยาวชนได้ออกกาลังกายและเล่นกีฬาเพื่อให้มีสาร “เอนโดฟีน” อยู่ ในร่างกายเกิดความสุข
ได้โดยไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด
10 สารยาเสพติดอันตรายที่ควรรู้
1. สารยาเสพติดอันตราย : เฮโรอีน (Heroin)
 เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี จากปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิดเช่น อาเซ-ติคแอนไฮไดรด์
(Aceticanhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์(Acetylchloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตท
(Ethylidinediacetate)
 เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ4-8 เท่า และออกฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า
 โดยทั่วไปเฮโรอีนจะมีลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น
 เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ชนิด
2. สารยาเสพติดอันตราย : ยาบ้า (Amphetamine)
 ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมี ประเภทแอมเฟตามีน(Amphetamine)
 ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทมีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็กมีสีต่างๆกัน เช่น สีส้ม สีน้าตาล
 มีสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนเม็ดยา เช่น ฬ, M, PG, WY สัญลักษณ์รูปดาว เป็นต้น
ฤทธิ์ในทางเสพติด :
 ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทมีอาการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย
 เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทาให้ร่างกายตื่นตัวหัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยา จะ
รู้สึกอ่อนเพลีย
3. สารยาเสพติดอันตราย : ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy)
 ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้างทางเคมี
 ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่าง ๆ แต่ที่พบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน ผิวเรียบ และปรากฏ
สัญลักษณ์บนเม็ดยาเป็นรูปต่าง ๆ เช่น กระต่าย ฯลฯ
ฤทธิ์ในทางเสพติด
 จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิ์ยาจะอยู่ในร่างกายได้นานประมาณ 6-8 ซม. แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน
4. สารยาเสพติดอันตราย : โคเคน (Cocaine)
 โคเคน หรือ โคคาอีนเป็นยาเสพติด ที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ลักลอบปลูกมากในประเทศแถบอเมริกาใต้เช่น เปรู โบลิเวีย และโคลัมเบีย
เป็นต้น
 โคเคนมีชื่อเรียกในกลุ่ม ผู้เสพว่า COKE, Snow, Speed Ball, Crack
 โคเคนที่พบในประเทศไทย มี 2 ชนิด ได้แก่ 1. โคเคนชนิดผง มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาวรสขม ไม่มีกลิ่น 2. โคเคนรูปผลึกเป็นก้อน
 (Free base, Crack)
ฤทธิ์ในทางเสพติด
 โคเคนออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการและปริมาณที่เสพ มีอาการทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกายแต่
ไม่รุนแรง หัวใจเต้นแรง ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย
5. สารยาเสพติดอันตราย: ฝิ่น (Opium)
 ฝิ่นเป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ในเนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมายซึ่งประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์เป็นแอลคะ
ลอยด์ (Alkaloid) ซึ่งเป็นตัวการสาคัญ ที่ทาให้ฝิ่นกลายเป็นสารเสพติดให้โทษที่ร้ายแรง และเป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน
เฮโรอีน และโคเคอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่น มากทางภาคเหนือของประเทศไทยบริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า “สามเหลี่ยมทองคา”
ฤทธิ์ในทางเสพ
 ฝิ่นออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย หากเสพเกินขนาด จะทาให้กดระบบหายใจทาให้เสียชีวิต
จิตใจเลื่อนลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิดเชื่องช้าไม่รู้สึกหิวชีพจรเต้นช้า
6. สารยาเสพติดอันตราย : มอร์ฟีน (Morphine)
 มอร์ฟีนเป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ของฝิ่นที่สาคัญที่สุด ซึ่งเป็นตัวการที่ออกฤทธิ์กดประสาท
 มอร์ฟีนเป็นผงสีขาว หรือเทาเกือบขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขม มีฤทธิ์สูงกว่าฝิ่น เสพติดได้ง่าย มีลักษณะเป็นเม็ด เป็นผง และเป็นก้อน หรือละลาย บรรจุหลอดสาหรับ
ฉีด นาเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีฉีดเป็นส่วนมาก
 มอร์ฟีนใช้เป็นยาหลักหรือยามาตรฐานของยาแก้ปวด ยาจาพวกนี้กดระบบประสาทส่วนกลาง ลดความรู้สึกเจ็บปวด ทาให้รู้สึกง่วงหลับไป และลดการทางานของ
ร่างกาย
 อาการข้างเคียงอื่น ๆ ก็คือ อาจทาให้คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันหน้า ตาแดง เพราะโลหิตฉีด ม่านตาดา หดตีบ และหายใจลาบาก
7. สารยาเสพติดอันตราย : กัญชา (Cannabis)
 กัญชา มีลักษณะใบจะแยกออกเป็นแฉกประมาณ5-8 แฉกคล้ายใบมันสาปะหลังที่ขอบใบทุกใบจะมีรอยหยักออกดอกเป็นช่อเล็กๆตามง่ามของกิ่ง
และก้าน ส่วนที่คนนามาเสพได้แก่ส่วนของกิ่ง ก้าน ใบ และยอดช่อดอกกัญชา
 โดยนามาตากหรืออบแห้ง แล้วบดหรือหั่นให้เป็นผงหยาบๆ จากนั้นจึงนามายัดไส้บุหรี่สูบ ยังอาจพบในรูปของ น้ามันกัญชา (Hashish Oil) ซึ่ง
มีลักษณะเป็นของเหลวสีน้าตาลเข้มหรือสีดา
ฤทธิ์ทางเสพติด
 กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ ที่ออกฤทธิ์หลายอย่างต่อระบบประสาทส่วนกลางคือ ทั้งกระตุ้นประสาทกดและหลอนประสาทแต่สารที่สาคัญที่สุดที่มี
ฤทธิ์ต่อสมองและทาให้ร่างกายอารมณ์ และจิตใจเปลี่ยนแปลงไป
8. สารยาเสพติดอันตราย : กระท่อม (Kratom)
 กระท่อม เป็นพืชเสพติดชนิดหนึ่ง ส่วนมากพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในประเทศอินเดียและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ประเทศไทย
ลักษณะเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางมีแก่นเป็นเนื้อไม้แข็ง ใช้ส่วนของใบเป็นสิ่งเสพติด ลักษณะใบคล้ายกระดังงาหรือใบฝรั่งต้นหนาทึบ ต้นกระท่อมมี 2 ชนิด คือ
ก้านเขียวและก้านแดง
ฤทธิ์ในทางเสพ
 ในใบกระท่อมมีสารไมตราจัยนินที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกายแต่ไม่รุนแรง
9. สารยาเสพติดอันตราย : เห็ดขี้ควาย (Magic Mushroom)
 เห็ดขี้ควายเป็นเห็ดพิษซึ่งขึ้นอยู่ตามกองมูลควายแห้ง สีของเห็ดจะมีสีเหลืองซีดคล้ายสีฟางแห้งบนหัวของร่ม จะมีสีน้าตาลเข้มจนถึง
สีดาบริเวณก้าน (Stalk) บริเวณใกล้ตัวร่มจะมีแผ่นเนื้อเยื่อบางๆสีขาว แผ่ขยายออกรอบก้าน แผ่นนี้มีลักษณะคล้ายวงแหวน
ฤทธิ์ในทางเสพติด
 ในเห็ดขี้ควายมีสารออกฤทธิ์ทาลายประสาทอย่างรุนแรงคือ ไซโลซีน และ ไซโลไซบีน ผสมอยู่ซึ่งออกฤทธิ์หลอนประสาทเมื่อ
บริโภคเข้าไปจะทาให้มีอาการเมา เคลิบเคลิ้มและบ้าคลั่งในที่สุด หากบริโภคเข้าไปมากๆ หรือผู้ที่บริโภคเข้าไปมีภูมิต้านทานน้อย อาจ
ทาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
10. สารยาเสพติดอันตราย : ยาเค (ketamine)
 ยาเค มาจากคาว่า เคตามีน (ketamine) หรือชื่อทางการค้าว่า เคตาวา (Ketava) หรือเคตาลา (Ketalar) หรือ คาสิบโชล
 ซึ่งตามพระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทพ.ศ.2518 เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 หมายถึง ยาที่มีอันตรายสูงที่แพทย์จะจ่าย
ให้กับผู้ป่วย เฉพาะเมื่อมีความจาเป็นจริง ๆ เท่านั้น
 สาเหตุที่ทาให้ยาเค กลายเป็นปัญหา เพราะวัยรุ่นบางกลุ่มได้นายาเคมาใช้เป็นสิ่งมึนเมา โดยนามาทาให้เป็นผงนามาสูดดมเพื่อให้เกิดอาการมึนเมา
และมักพบว่ามีการนายาเคมาใช้ร่วมกับยาเสพติดร้ายแรงชนิดอื่นเช่น ยาอี และโคเคน
ฤทธิ์ในทางเสพติด ยาเค เป็นยาที่ออกฤทธิ์หลอนประสานอย่างรุนแรง เมื่อเสพเข้าไปจะรู้สึกเคลิบเคลิ้ม
ยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษเป็นปัญหาใหญ่ที่ทั่วโลกให้ความสาคัญในการป้องกันและปราบปรามเพื่อขจัดให้
หมดสิ้นไป ปัจจุบันรัฐบาลได้ดาเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง โดยการเร่งปราบปรามผู้ผลิต ผู้นาเข้า
และผู้จาหน่ายยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง เพิ่มมาตรการในการควบคุมตัวสารสาคัญและสารประกอบที่ใช้ในการผลิตยา
เสพติด รวมทั้งเพิ่มบทลงโทษผู้กระทาผิด นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐหลายแห่งได้ร่วมกันรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
มากขึ้น ซึ่งสามารถบรรเทาปัญหายาเสพติดในประเทศไปได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามยาเสพติดเป็นปัญหาเรื้อรัง ที่
มีมานาน การปราบปรามยาเสพติดวิธีเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้งหมด การสร้างภูมิความรู้ให้แก่ประชาชน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนให้ทราบและตระหนักถึงภัยร้ายของยาเสพติด รวมทั้งการปลูกฝังหรือสร้างค่านิยมให้
ต่อต้านยาเสพติดจึงเป็นการป้องกันปัญหายาเสพติดได้อีกวิธีหนึ่ง
ยาเสพติดให้โทษ คืออะไร พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ควบคุมยาเสพติดให้
โทษของ ประเทศไทย ได้ให้นิยามของยาเสพติดให้โทษไว้ว่า หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่
ร่างกายไม่ว่า จะโดยวิธีใดตาม เช่น รับประทาน สูบ ดมหรือฉีดแล้ว จะก่อให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจที่
สาคัญ 4 ประการ คือ
1. มีความต้องการเสพสารนั้นอย่างรุนแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
2. ต้องเพิ่มขนาดหรือปริมาณการเสพสารนั้นมากขึ้นเป็นลาดับ
3. เมื่อหยุดเสพสารนั้นจะเกิดอาการถอนยา
4. สุขภาพของผู้เสพสารนั้นเป็นเวลานานจะทรุดโทรมลง
การควบคุมยาเสพติดให้โทษ โดยทั่วไปยึดถือหลักในการพิจารณาว่า ตัวยานั้นทาให้เกิดการเสี่ยง ต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรงอย่างไร และประโยชน์
ของยาในการรักษาโรคมากน้อยเพียงใด ซึ่งจาก หลักการดังกล่าว พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้จัดประเภทของยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5
ประเภท ดังนี้
ประเภทที่1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เป็นยาที่ไม่มีการนามาใช้ในทางการแพทย์ และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรง เช่น เฮโรอีน
ยาบ้า ยาอี เป็นต้น
ประเภทที่2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เป็นยาที่มีประโยชน์ในการรักษาโรคในระดับน้อยจนถึงมาก และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับที่ต้องพึง
ระวัง เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน เป็นต้น
ประเภทที่3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษในประเภท2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามที่ได้ขึ้นทะเบียนตารับไว้เป็นยาที่ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของ
ประชากรน้อย แต่ยังคงมีอันตราย และมีประโยชน์ มากในการรักษาโรคเช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน เป็นต้น
ประเภทที่4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท1 หรือประเภท2 เช่น อาเซติค แอนไฮไดรด์(Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์
(Acetyl Chloride)
ประเภทที่5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้อยู่ในประเภทที่1 ถึงประเภทที่4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย ยาเสพติดก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจและสังคมต่อทุกประเทศทั่วโลกในลักษณะเดียวกัน เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการลัก
ขโมย ปัญหาครอบครัว เป็นต้น แต่ชนิดของยาเสพติดที่เป็นต้นเหตุของปัญหานั้น แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สาหรับประเทศไทย ยาเสพติดที่แพร่ระบาดอย่าง
รุนแรงอยู่ในปัจจุบันมี 6 ชนิด ซึ่ง มีรายละเอียด รูปลักษณะ อาการของผู้เสพ และอันตรายของยาเสพติดแต่ละชนิดดังต่อไปนี้
1. ยาบ้า ยาบ้า เป็นยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท เป็นสารเคมีสังเคราะห์ที่มีชื่อว่า เมทแอมเฟตามีน ยาบ้าที่ ลักลอบจาหน่ายกันอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นยาเม็ดสีส้ม สี
น้าตาล หรือสีเขียว ด้านหนึ่งของเม็ดยาจะมีสัญลักษณ์ เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ “wy” ส่วนอีกด้านจะเป็นรอยขีดแบ่งครึ่งเม็ด ในยาบ้า 1 เม็ด จะมีสารเมทแอมเฟ
ตามีน ประมาณ 25 – 30 มิลลิกรัม อาจเสพโดยการกิน เผาไฟแล้วสูบควัน หรือฉีดเข้าหลอดโลหิตดา ยาบ้าจะออกฤทธิ์ ไปกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง อันได้แก่
สมองและไขสันหลัง ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น อัตราการหายใจถี่ขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น ม่านตาขยายกว้างขึ้นและไม่รู้สึกหิว นอกจากนั้น ผู้ใช้ยาจะมีเหงื่อออกมาก
ปวดศีรษะ ตาพร่า มัว และนอนไม่หลับ ถ้าเสพยาเข้าไปในปริมาณมาก จะมีอาการหัวใจเต้นรัวผิดปกติ เนื้อตัวสั่นเทา ทรงตัวไม่ได้และ สิ้นสติ ถ้าเสพเข้าไปใน
ปริมาณที่มากเกินกว่าร่างกายจะทนรับไหว จะทาให้เกิดอาการหัวใจวายตาย นอกจากนี้ ยาบ้ายังทาให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตและประสาทด้วย โดยผู้เสพยาบ้าจะมี
อาการรู้สึกสับสน หงุดหงิด วิตกกังวล ใจ และนอนไม่หลับ อาการดังกล่าวจะรุนแรงมากยิ่งขึ้นเมื่อเสพยามากขึ้น การเสพยาบ้าในปริมาณมากๆหรือเสพ ติดต่อกันเป็น
ระยะเวลานานๆจะทาให้ผู้เสพกลายเป็นคนวิกลจริต โดยจะมีอาการเพ้อคลั่ง มองเห็นภาพหลอน หูแว่ว และหวาดระแวง หลงผิดว่าคนอื่นจะมาทาร้าย ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้
เสพยาบ้าหันไปทาร้ายผู้อื่นเสมอ
2. เฮโรอีนและอนุพันธ์ของฝิ่นชนิดอื่นๆ เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมีที่ทามาจากมอร์ฟีนซึ่งได้มาจากฝิ่น เฮโรอีนมี ลักษณะเป็นผงสีขาว
มีรสขมจัด ไม่มีกลิ่น ละลายน้าได้ง่าย เฮโรอีนสามารถเสพโดยการนาไปละลายน้าแล้วฉีดเข้า หลอดโลหิตดา หรือนาไปยัดใส่ในมวนบุหรี่แล้วสูบ หรือนาไปลนไฟ
แล้วสูดไอระเหยเข้าปอด เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ ร้ายแรงและติดง่ายที่สุด เมื่อเสพเฮโรอีนหรือยาเสพติดที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น เช่น มอร์ฟีน เข้าไปแล้ว ผู้เสพจะ
มี อาการเคลิบเคลิ้มมึนเมา ลืมความทุกข์ในจิตใจไปชั่วขณะ เนื่องจากเฮโรอีนและอนุพันธ์ของฝิ่นชนิดอื่นๆมีฤทธิ์กด ระบบประสาทส่วนกลาง ผู้เสพยาพวกนี้จึง
มีอาการง่วงซึม ม่านตาหรี่ลงเล็กน้อย ตาแฉะ ในผู้ที่เสพยาพวกนี้ครั้งแรก อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนเกิดขึ้นได้เฮโรอีนหรือยาที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น เป็นยาเสพ
ติดที่มีฤทธิ์รุนแรง หากเสพ มากเกินไปจนร่างกายทนไม่ไหว การทางานของระบบการหายใจจะถูกกด ทาให้หายใจแผ่วและตื้น ผิวกายเย็นชื้น ชัก สลบ และ
เสียชีวิตเนื่องจากระบบการหายใจล้มเหลว คนที่ติดเฮโรอีนหรือยาชนิดอื่นที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่นจะมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง มีอาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เมื่อขาดยาจะมีอาการหงุดหงิด ทุรนทุราย หาว เหงื่อออกมาก เบื่ออาหาร ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง ท้องเดิน อาเจียน ชัก
จนหมดสติ และถ้าร่างกายอ่อนแอก็อาจจะถึงขั้นทาให้เสียชีวิตได้
3. โคเคน โคเคนเป็นสารเคมีที่สกัดมาจากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นไม้ยืนต้นที่เจริญงอกงามอยู่บนภูเขาสูงใน ทวีปอเมริกาใต้ โคเคนเป็นยา
เสพติดที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทอย่างรุนแรง มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว นิยมเสพโดย การสูดผงยาเข้าโพรงจมูก มีอยู่ส่วนน้อยที่เสพโดย
นาโคเคนไปละลายน้า แล้วฉีดเข้าหลอดโลหิตดา โคเคนทาให้เกิด ความผิดปกติขึ้นกับร่างกายได้ภายในเวลา 10 วินาที อาการผิดปกติ
ได้แก่ ม่านตาขยายกว้างขึ้นกว่าปกติ ความดัน โลหิตสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ หายใจถี่ และอุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้นสูงกว่า
ปกติ หากเสพโคเคนมาก เกินไปจนร่างกายทนไม่ไหว ผู้เสพมักจะเสียชีวิตจากอาการหัวใจวาย หรือระบบการหายใจล้มเหลว นอกจากนี้
โคเคนยังทาให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตและประสาทด้วย โดยโคเคนมีฤทธิ์ทาให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้มมึนเมาเป็น ระยะเวลาสั้นๆประมาณ
20 – 90 นาที ต่อจากนั้น จะตามด้วยอาการกระสับกระส่าย กังวลใจอย่างรุนแรง ร่างกายอ่อนล้า และจิตใจหดหู่ หากเสพโคเคนเข้าไป
มากๆ หรือติดต่อกันเป็นเวลานาน ผู้เสพจะมีอาการเพ้อคลั่ง หวาดระแวงกลัวคนอื่นจะมาทาร้าย มีอาการประสาทหลอนทางกลิ่น รสและ
สัมผัส อาการดังกล่าวจะค่อยๆ ลดระดับ ความรุนแรงลงเมื่อหยุดเสพโคเคน
4. ยาอี ยาอีเป็นสารสังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์ทั้งกระตุ้นประสาทและหลอนประสาท ซึ่งเด็กวัยรุ่นนิยมใช้ใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกเด็กวัยรุ่นที่
ชอบมั่วสุมกันตามดิสโก้เธค หรือสถานที่ฟังเพลงและเต้นราที่ๆมีการเปิด เพลงเสียงดัง ทั้งนี้เพราะผู้ที่เสพยาอีจะชอบเสียงดัง ยาอีที่แพร่ระบาดใน
ประเทศไทย จะมีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.7 – 0.8 เซนติเมตร ความหนาของเม็ดยาประมาณ 0.4 – 0.5
เซนติเมตร สีของเม็ดยาจะเป็นสีอ่อนๆ เช่น เขียวอ่อน เหลืองอ่อน ฟ้าอ่อน เทาอ่อนหรือชมพูอ่อน ไม่ค่อยพบเม็ดยาที่มีสีเข้มๆ สัญลักษณ์ที่ปรากฏ
บนเม็ดยาจะมีหลากหลายรูปแบบ เช่น รูปนก ผีเสื้อ ตัวการ์ตูน หัวใจ ดวงดาว ดวงจันทร์ ดวง อาทิตย์ หรือตัวอักษรภาษาอังกฤษ เป็นต้น ซึ่งเป็น
สัญลักษณ์ที่ไม่เคยนามาใช้เป็นสัญลักษณ์บนเม็ดของยารักษาโรค ยาอีเสพด้วยการกิน เมื่อกินแล้วจะเกิดอาการผิดปกติทางร่างกาย ได้แก่ หัวใจจะ
เต้นแรงและเร็วขึ้น ความดันโลหิต สูงขึ้น อัตราการหายใจถี่ขึ้น อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นเหมือนคนเป็นไข้ เหงื่อออกมาก ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
และ อาจถึงกับเป็นลมหมดสตินอกจากนี้ ยาอียังทาให้เกิดอาการประสาทหลอนขึ้นมาด้วย ผู้เสพจะมีความผิดปกติ เกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน
และการสัมผัส ชอบฟังเพลงเสียงดัง ชอบดูแสงสีที่วูบวาบบาดตา และชอบให้คนมา สัมผัสเล้าโลม แต่เมื่อยาหมดฤทธิ์ลง ผู้เสพจะมีอาการวิตกกังวล
ผสมกับอาการซึมเศร้า ยาอีมีฤทธิ์ทาลายเซลล์ ประสาทสมอง แม้จะกินเข้าไปเพียงเล็กน้อย ผู้ที่เสพยาอีจึงมักมีระดับสติปัญญาและผลการเรียนรู้
ต่างกว่าคนปกติ ทั่วไป
5. ยาแก้ไอผสมโคเดอีน โคเดอีนเป็นสารประกอบจาพวกอัลคาลอยด์ที่มีอยู่ในฝิ่นประมาณร้อยละ 0.7 – 2.5 โดยน้าหนัก ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อย
มากจนไม่สามารถผลิตเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ ปัจจุบันโคเดอีนที่ใช้ในทางการแพทย์ได้จากการ สังเคราะห์จากฝิ่น โคเดอีน ออกฤทธิ์กดระบบ
ประสาทส่วนกลาง มีฤทธิ์ระงับปวดและระงับอาการไอ โดยออกฤทธิ์ที่ ก้านสมองซึ่งทาหน้าที่ควบคุมอาการไอ จึงนิยมใช้ผลิตเป็นยาแก้ไอ แต่ยาแก้
ไอผสมโคเดอีนที่มีการนาไปใช้ในทางที่ ผิด และแพร่ระบาดอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ยาแก้ไอผสมโคเดอีนชนิดน้า วัยรุ่นนิยมเสพยาน้าแก้ไอผสมโค
เดอีนด้วยการ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง หรือดื่มโดยผสมกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งทาให้เกิดผลต่อร่างกาย ได้แก่ ง่วงซึม คลื่นไส้อาเจียน
ท้องผูก ใจสั่น มีอาการมึนงง หายใจและถ่ายปัสสาวะลาบาก หากเป็นพิษโดยเฉียบพลัน อาจทาให้เกิดการ ชัก เพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นช้า หัวใจเต้นเร็ว
ไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบการหมุนเวียนในร่างกายล้มเหลว ระบบ การหายใจเป็นอัมพาต เกิดภาวะหยุดการหายใจและตายได้การใช้โค
เดอีนในระยะยาว อาจทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ขาดสมาธิ ง่วงนอนและหลับได้ ท้องผูกอย่างรุนแรง และทาให้มีปัญหาเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศ
ด้วย และหากใช้ ในปริมาณที่สูงจะทาให้เกิดอาการสั่นและชักได้
6. กัญชา กัญชาเป็นพืชล้มลุก ส่วนที่นามาใช้เสพคือ ช่อดอกตัวเมียและใบที่ติดมากับช่อดอก โดยน้ามาตาก หรืออบให้แห้ง แล้วนาไปบดหรือหั่น
เป็นฝอยหยาบๆแล้วจึงนาไปมวนสูบโดยผสมกับบุหรี่ หรืออาจจะสูบจากกล้อง ยาสูบ หรือบ้องกัญชาก็ได้กัญชาทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ
ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อร่างกายทันทีได้แก่ หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ตาแดงกว่าเนื่องจากเส้นเลือดฝอยขยายตัวหรือแตก ปากแห้ง คอแห้ง และอยากอาหาร
การสูบ กัญชาจะส่งผลต่อระบบความจา ทาให้เกิดภาวะความจาเสื่อม ความเฉลียวฉลาดลดลง การรับรู้เรื่องระยะทางและ เวลาผิดปกติ
ความสามารถในการทางานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สมาธิ เช่น การขับขี่ยวดยานจะมีประสิทธิภาพลดลง แรงจูงใจและการใฝ่เรียนรู้ลดลง นอกจากนั้น
การสูบกัญชามากๆอาจส่งผลให้เกิดอาการประสาทหลอนและ วิกลจริต ในการสูบกัญชา ผู้สูบมักจะเอาควันที่เกิดจากการเผาไหม้ของกัญชาเข้าไปใน
ปอด แล้วพยายามกักเอาควัน ไว้ในปอดให้นานที่สุด ก่อนจะผ่อนลมหายใจออกมา และเนื่องจากในควันของกัญชามีสารเคมีที่เป็นพิษมากกว่าควัน
บุหรี่ ฉะนั้น ผู้ที่สูบกัญชาจึงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคถุงลมโป่งพองและมะเร็งสูงกว่าผู้ที่สูบบุหรี่ และการสูบกัญชา เป็นประจาจะทาให้เกิดการเสพ
ติดทางจิตใจ ต้องเพิ่มปริมาณกัญชาที่สูบและความถี่ในการสูบขึ้นเรื่อยๆ
ลักษณะอาการของผู้ติดยาเสพติด ผู้ติดยาเสพติดให้โทษจะมีสภาพทางกายและทางจิตใจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งสามารถ
สังเกตได้อย่างง่ายๆ
1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย สุขภาพทรุดโทรม ซูบผอม อ่อนเพลียง่าย ริมฝีปากเขียวคล้า ตา แดงกล่า รูม่านตาขยาย
น้ามูกไหล ผิวหนังหยาบกร้านเป็นแผลพุพอง ชอบใส่เสื้อแขนยาวและสวมแว่นตาด า หาก ขาดยาหรืออดยา จะ
หาวนอนบ่อย จามคล้ายคนเป็นหวัด น้ามูกน้าตาไหล กระวนกระวาย ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ปวดเมื่อยตาม
ร่างกาย ตาพร่าไม่สู้แดด มีอาการสั่น เกร็ง เพ้อ คุ้มคลั่ง
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ นิสัยและบุคลิกภาพ เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย ขาดเหตุผล ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
การเรียนหรือการงาน ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย มักเก็บตัว ชอบทาตัวลึกลับ ไม่สนใจความ
เป็นอยู่ของตนเอง เกียจคร้าน นอนตื่นสายผิดปกติ มีอาการวิตกกังวล ซึมเศร้า
โทษของยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษ ก่อให้เกิดผลเสียต่อผู้เสพโดยตรงและส่งผลกระทบต่อครอบครัว ผู้ใกล้ชิด และ
ประเทศชาติอย่างมากมาย ดังนี้
1. ผลต่อผู้เสพ ยาเสพติดทาให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ความต้านทานโรค น้อยกว่าปกติ ทาให้ติด
เชื้อได้ง่าย ส่วนมากมักจะเป็นโรคผิวหนัง โรคทางเดินอาหาร วัณโรค อารมณ์แปรปรวนง่าย ซึมเศร้า วิตกกังวล
บุคลิกภาพสูญเสีย
2. ผลต่อครอบครัว ผู้ติดยาเสพติดจะขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัว ไม่ห่วงใยดูแลครอบครัว เป็นภาระของ
ครอบครัว ทาให้ครอบครัวแตกแยก ขาดความอบอุ่น และอาจจะเป็นตัวอย่างหรือเป็นสาเหตุทาให้ สมาชิกใน
ครอบครัวหันไปเสพยาเสพติดได้
3. ผลต่อเศรษฐกิจและสังคม การที่มียาเสพติดแพร่ระบาดในประเทศ ทาให้รัฐต้องสูญเสีย งบประมาณและเจ้าหน้าที่
จานวนมากในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และตัวผู้เสพก็มีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิด ปัญหาสังคมด้วยการก่อ
อาชญากรรม ลักเล็กขโมยน้อย หรือทาให้เกิดอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งผลกระทบของปัญหาเหล่านี้ อาจมีความรุนแรงจน
นาไปสู่ปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติได้
ที่มา:https://youtu.be/0qcVncS2cfA
บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมาย เพื่อเป็นการป้องปรามผู้กระทาผิดหรือผู้ที่คิดจะกระทาผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ รัฐบาลจึงได้ กาหนด
บทลงโทษผู้กระทาผิดไว้ซึ่งจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการกระทาผิดที่พบ พอสรุปได้ดังนี้
ประเภทของยาเสพติดให้โทษ การกระทาผิด บทลงโทษ
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 (เช่น เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี ฯลฯ )
1.ผลิต นาเข้า หรือ ส่งออก บทลงโทษสูงสุดคือประหารชีวิตหรือ จาคุกตั้งแต่ 4 ปี– ตลอดชีวิต หรือ ปรับตั้งแต่ 80,000 บาท – 5,000,000บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่าย บทลงโทษสูงสุดคือประหารชีวิต หรือ จาคุกตั้งแต่ 4 ปี - จ าคุกตลอดชีวิต และ/หรือปรับตั้งแต่
80,000 บาท – 5,000,000 บาท
3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 จาคุกตั้งแต่ 6 เดือน – 3 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 10,000 บาท – 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
4.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 5 ปี หรือปรับตั้ง แต่ 20,000 บาท– 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
5.ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลัง ประทุษร้าย หรือข่มขืนใจ ให้ผู้อื่น กระทาความผิดฐานผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ายครอบครอง เพื่อ
จาหน่าย หรือครอบครองซึ่งยาเสพติด ให้โทษ โทษเป็น 2 เท่าของโทษที่กฎหมาย บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ( เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน ฯลฯ )
1.ผลิต นาเข้า หรือส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกตั้งแต่ 1 ปี - ตลอดชีวิต และ ปรับตั้งแต่ 100,000 บาท – 5,000,000 บาท
2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่ายอย่างผิด กฎหมาย จาคุกตั้งแต่ 1 ปี - ตลอดชีวิต และ/ หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาท -
5,000,000 บาท
3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 จาคุกตั้งแต่ 6 เดือน – 3 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 10,000 บาท – 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
4.ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลัง ประทุษร้าย ใช้อานาจครอบงาผิด คลองธรรม หรือ ใช้วิธีข่มขืนใจด้วย ประการอื่นใดให้ผู้อื่นเสพ
จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 10 ปี และ ปรับตั้งแต่ 100,000 บาท – 1,000,000 บาท
5.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 5 ปี หรือปรับตั้ง แต่ 20,000 บาท– 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ( เช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน )
1.ผลิต นาเข้า หรือ ส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 20 ปี และ/ หรือ ปรับ ไม่เกิน 2,000,000 บาท
2.จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย อย่างผิดกฎหมาย จาคุกไม่เกิน 5 ปี และ/หรือปรับไม่ เกิน 500,000 บาท
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 (เช่น อาเซติลคลอไรด์ ฯลฯ)
1.ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือจาหน่าย อย่างผิดกฎหมาย มีโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปี - 15 ปี และ ปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 1,500,000 บาท
2.ครอบครอง อย่างผิดกฎหมาย มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่ เกิน 100,000บาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ
ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (เช่น กัญชา กระท่อม ฯลฯ )
1.ผลิต นาเข้า หรือส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 15 ปี และปรับไม่เกิน 1,500,000 บาท
2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่ายอย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 15 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,500,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้ง ปรับ
3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
4.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
***เมื่อได้ทราบถึงโทษ อันตรายและผลที่เกิดจากยาเสพติดให้โทษ ต่อผู้เสพโดยตรงและส่งผลกระทบ ไปถึงครอบครัว ผู้ใกล้ชิด ตลอดจนประเทศชาติอย่างใหญ่หลวงแล้ว เรา
ทุกคนจึงควรช่วยกันป้องกันหรือหยุดยั้งมิให้ยาเสพติดลุกลามกว้างขวางออกไป เริ่มที่ตนเองก่อนโดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด เอาใจใส่และให้ความอบอุ่น แก่ครอบครัว
เพื่อป้องกันให้สมาชิกในครอบครัวห่างไกลจากยาเสพติด และร่วมมือในการให้เบาะแสแก่เจ้าหน้าที่ บ้านเมืองเพื่อปราบปรามยาเสพติดให้สิ้นไป
ที่มา:https://youtu.be/zTJC1jprG0I
ข่าวยาเสพติด
แหล่งอ้างอิงข้อมูล:
http://www.phichai.ac.th/thanayut/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E
0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%83%
E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A9%202.pdf?fbcl
id=IwAR1vlpHIkBFkHSe-IHuSymi12nn8dSbJUZ1knFnyQZ-
Bf45CnNBm33Hf1GE
https://teen.mthai.com/variety/58517.html
ผู้จัดทา:
นาย ธนาคม เกษมพันธ์ เลขที่16 ม.6/13
นาย กุลโรจน์ ค้าจุนวงศ์สกุล เลขที่35 ม.6/13

More Related Content

What's hot

การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
minhNguynnh15
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Thitaree Permthongchuchai
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
วิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอยวิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอย
Sittikorn Thipnava
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Nattha Namm
 

What's hot (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
วิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอยวิธีทำโคมลอย
วิธีทำโคมลอย
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 

Similar to โครงงาน เรื่อง สารเสพติด

สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
linnoi
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
chueng
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
Aobinta In
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
SUNDAY0A1
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Watcharapong Rintara
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 

Similar to โครงงาน เรื่อง สารเสพติด (20)

ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
5555
55555555
5555
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
เสพติด Quiz
เสพติด Quizเสพติด Quiz
เสพติด Quiz
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
Final Project
Final ProjectFinal Project
Final Project
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 

More from AntoineYRC04 (6)

ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออก
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
 

โครงงาน เรื่อง สารเสพติด

  • 3. ที่มาและความสาคัญ จากสถิติของการสารวจวัยรุ่นอายุ18ปีขึ้นไปเป็นถึงร้อยละ9.1ในประเทศไทย มีวัยรุ่นติดสารเสพติดหรือยาเสพติดหลายล้านคน ปัจจุบันโลกและสังคมเปลี่ยนไป ส่งผลทางตรง การเลี้ยงดูและความเข้าใจเอาใจใส่ในครอบครัวเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยยับยั้งวัยรุ่นติดสารเสพติด และในฐานะผู้จัดทาโครงงานเพื่อต้องการให้วัยรุ่นไทยลดความหลงผิดในสารเสพติด ผู้จัดทา โครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับสารเสพติด เกิดจากปัจจัยหลายอย่าง คือ ความเครียดของวัยรุ่น ครอบครัวไม่ใส่ใจ ตามเพื่อน และนอกจากนี้ยังมีเรื่องสภาพแวดล้อมการเป็นอยู่มาเกี่ยวข้องด้วย อาจส่งผลต่อการเป็นอยู่ในสังคม ทาให้วัยรุ่นเหล่านั้นมีความอยากรู้อยากลองพอได้ลองแล้วก็ติด ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ซึ่งมันนามาถึงการลักขโมยเงินเพื่อนาไปซื้อสารเสพติดที่ต้องการ หาก สังคมไม่แก้ปัญหานี้อาจทาให้ปัญหายาเสพติดรุนแรงต่อวัยรุ่นไทยมากยิ่งขึ้น
  • 5. ยาเสพติดคืออะไร ยาเสพติด หมายถึง ยาหรือสารเคมี หรือวัตถุชนิดใด ๆ ที่ อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรือ จากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อ เสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีการกิน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใด ๆ ก็ ตาม เป็นช่วง ระยะเวลา หรือนานติดกันจนทาให้ร่างกายทรุดโทรม และตกอยู่ใต้อานาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้น ทั้งด้านร่างกาย และ จิตใจ หรือจิตใจเพียงอย่างเดียว
  • 6. สาเหตุสาคัญที่ทาให้ติดยาเสพติด จากการถูกชักชวน จากการอยากทดลองอยากรู้อยากเห็น อยากรู้อยาก สัมผัส จากการถูกหลอกลวง เหตุทางกายความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็น โรคปวด ศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับ ความทรมาน ทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวมา นานแต่ ก็ไม่หายจึงหันเข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนั้นคิดว่า ตัวเองเป็นคนเก่ง จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพ และค้ายาเสพติดภาวะทางเศรษฐกิจ บีบค้นจิตใจ
  • 7. ประเภทของสิ่งเสพติด แบ่งตามลักษณะการผลิต - สิ่งเสพติดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ฝิ่น กัญชา ฯลฯ - สิ่งเสพติดสังเคราะห์ได้แก่ สิ่งเสพ ติดที่ผลิตด้วยกรรมวิธี ทางเคมี เช่น เฮโรอีน มอร์ฟีน ฯลฯแบ่งตามลักษณะการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท - ประเภทออกฤทธิ์กด ประสาท จะมีฤทธิ์ทา ให้สมองมึนงง ประสาทชา ง่วงซึม ไดแก้ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน – ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทจะมีฤทธิ์ทา ให้เกิด อาการ ตื่นเต้น ตลอดเวลาไม่รู้สึกง่วงนอน แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาผู้เสพจะหมด ได้แก่ ยาม้า กระท่อม - ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท จะ มีฤทธิ์ทา ให้เกิดอาการ ประสาทหลอนเห็นภาพ ลวงตาหูแว่ว อารมณ์แปรปรวน ได้แก่ เหล้าแห้ง เห็ดขี้ควาย - ประเภทออกฤทธิ์กด ประสาท และหลอนประสาทด้วย ได้แก่ กัญชา
  • 8. การป้องกันการติดยาเสพติด -ป้องกันตนเอง ไม่ใช้ยาโดยมิได้รับคะแนน จากแพทย์ และ จง อย่าทดลอง เสพยาเสพติดทุกชนิดโดยเด็ดขาด เพราะติด ง่าย หายยาก -ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูและเด็กบุคคลในครอบครัว หรือที่อยู่รวมกัน อย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ต้องคอยอบรม สั่ง สอนให้รู้ถึงโทษและภัยของยาเสพติด หากมีผู้เสพยาเสพ ติดใน ครอบครัวจงจัดการให้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล
  • 9. -ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเขาก็ใจถึงโทษ และภัยของยาเสพติด โดยมิ ให้ เพื่อนบ้าน รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติด ยาเสพติด จง ช่วยแนะนาให้ไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล -ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้าน ใด ตาบลใดมียาเสพติด แพร่ ระบาด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ ตรวจทุกแห่งทุกท้องที่ทราบ
  • 10. ยาเสพติดป้องกันได้ 1. ป้องกันตนเอง ทาได้โดย ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้รู้เท่าทันโทษพิษภัยของยาเสพติด ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิด และปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน ระมัดระวังเรื่องการใช้ยา เพราะยาบางชนิดอาจทาให้เสพ ติดได้ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เลือกคบเพื่อนดีที่ชักชวนกันไปในทางสร้างสรรค์ เมื่อมีปัญหาชีวิต ควรหาหนทางแก้ไขที่ไม่ข้องเกี่ยวกับ ยาเสพติด หาก แก้ไขไม่ได้ควรปรึกษา ผู้ใหญ่ 2. ป้องกันครอบครัว ทาได้โดย สร้างความรักความอบอุ่นและความสัมพันธ์อันดีระหว่าง สมาชิกในครอบครัว รู้และ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ให้ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ให้กาลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกใน ครอบครัวติดยาเสพติด 3. ป้องกันชุมชน ทาได้โดย ช่วยชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด เมื่อทราบแหล่งเสพ แหล่งค้า หรือผลิตยาเสพติด ควรแจ้ง ให้เจ้าหน้าที่ทราบทันที
  • 11. ติดกีฬาก็มีความสุขได้ การเล่นกีฬาไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมทางเลือกที่เบี่ยง - เบนความสนใจของเยาวชนให้ ห่างไกลยาเสพติด เท่านั้น แต่ทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์ เชื่อว่า การออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา นั้น จะทา ให้ต่อมไร้ท่อใต้ สมองหลั่งสารเคมีชนิดหนึ่งชื่อ “เอนโดฟีน” ออกมา ซึ่งสารชนิดนั้นจะทาให้รู้สึกสดชื่น และ เป็นสุข ผู้ที่ ออกกา ลังกายอยู่เสมอจึงมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์สมกับที่กล่าว ว่า “กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ” ดั้งนั้น จึงควรที่จะ ช่วยกันส่งเสริมให้ เยาวชนได้ออกกาลังกายและเล่นกีฬาเพื่อให้มีสาร “เอนโดฟีน” อยู่ ในร่างกายเกิดความสุข ได้โดยไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด
  • 12. 10 สารยาเสพติดอันตรายที่ควรรู้ 1. สารยาเสพติดอันตราย : เฮโรอีน (Heroin)  เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี จากปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนกับสารเคมีบางชนิดเช่น อาเซ-ติคแอนไฮไดรด์ (Aceticanhydride) หรือ อาเซติลคลอไรด์(Acetylchloride) หรือเอทิลิดีนไดอาเซเตท (Ethylidinediacetate)  เฮโรอีนออกฤทธิ์แรงกว่ามอร์ฟีนประมาณ4-8 เท่า และออกฤทธิ์แรงกว่าฝิ่น ประมาณ 30-90 เท่า  โดยทั่วไปเฮโรอีนจะมีลักษณะเป็นผงสีขาว สีนวล หรือสีครีม มีรสขม ไม่มีกลิ่น  เฮโรอีนที่แพร่ระบาดในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ชนิด
  • 13. 2. สารยาเสพติดอันตราย : ยาบ้า (Amphetamine)  ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนผสมของสารเคมี ประเภทแอมเฟตามีน(Amphetamine)  ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทมีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็กมีสีต่างๆกัน เช่น สีส้ม สีน้าตาล  มีสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนเม็ดยา เช่น ฬ, M, PG, WY สัญลักษณ์รูปดาว เป็นต้น ฤทธิ์ในทางเสพติด :  ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทมีอาการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจไม่มีอาการขาดยาทางร่างกาย  เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทาให้ร่างกายตื่นตัวหัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยา จะ รู้สึกอ่อนเพลีย
  • 14. 3. สารยาเสพติดอันตราย : ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy)  ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้างทางเคมี  ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่าง ๆ แต่ที่พบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน ผิวเรียบ และปรากฏ สัญลักษณ์บนเม็ดยาเป็นรูปต่าง ๆ เช่น กระต่าย ฯลฯ ฤทธิ์ในทางเสพติด  จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิ์ยาจะอยู่ในร่างกายได้นานประมาณ 6-8 ซม. แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน
  • 15. 4. สารยาเสพติดอันตราย : โคเคน (Cocaine)  โคเคน หรือ โคคาอีนเป็นยาเสพติด ที่สกัดได้จากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ลักลอบปลูกมากในประเทศแถบอเมริกาใต้เช่น เปรู โบลิเวีย และโคลัมเบีย เป็นต้น  โคเคนมีชื่อเรียกในกลุ่ม ผู้เสพว่า COKE, Snow, Speed Ball, Crack  โคเคนที่พบในประเทศไทย มี 2 ชนิด ได้แก่ 1. โคเคนชนิดผง มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาวรสขม ไม่มีกลิ่น 2. โคเคนรูปผลึกเป็นก้อน  (Free base, Crack) ฤทธิ์ในทางเสพติด  โคเคนออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อยขึ้นอยู่กับวิธีการและปริมาณที่เสพ มีอาการทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกายแต่ ไม่รุนแรง หัวใจเต้นแรง ความดันโลหิตสูง กระวนกระวาย
  • 16. 5. สารยาเสพติดอันตราย: ฝิ่น (Opium)  ฝิ่นเป็นสารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งได้จากยางของผลฝิ่น ในเนื้อฝิ่นมีสารเคมีผสมอยู่มากมายซึ่งประกอบด้วย โปรตีน เกลือแร่ ยางและกรดอินทรีย์เป็นแอลคะ ลอยด์ (Alkaloid) ซึ่งเป็นตัวการสาคัญ ที่ทาให้ฝิ่นกลายเป็นสารเสพติดให้โทษที่ร้ายแรง และเป็นยาเสพติดที่เป็นต้นตอของยาเสพติดร้ายแรง เช่น มอร์ฟีน เฮโรอีน และโคเคอีน มีการลักลอบปลูกฝิ่น มากทางภาคเหนือของประเทศไทยบริเวณแนวพรมแดน ที่เรียกว่า “สามเหลี่ยมทองคา” ฤทธิ์ในทางเสพ  ฝิ่นออกฤทธิ์กดระบบประสาท มีอาการเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีอาการขาดยาทางร่างกาย หากเสพเกินขนาด จะทาให้กดระบบหายใจทาให้เสียชีวิต จิตใจเลื่อนลอย ง่วง ซึม แก้วตาหรี่ พูดจาวกวน ความคิดเชื่องช้าไม่รู้สึกหิวชีพจรเต้นช้า
  • 17. 6. สารยาเสพติดอันตราย : มอร์ฟีน (Morphine)  มอร์ฟีนเป็นแอลคะลอยด์ (Alkaloid) ของฝิ่นที่สาคัญที่สุด ซึ่งเป็นตัวการที่ออกฤทธิ์กดประสาท  มอร์ฟีนเป็นผงสีขาว หรือเทาเกือบขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขม มีฤทธิ์สูงกว่าฝิ่น เสพติดได้ง่าย มีลักษณะเป็นเม็ด เป็นผง และเป็นก้อน หรือละลาย บรรจุหลอดสาหรับ ฉีด นาเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีฉีดเป็นส่วนมาก  มอร์ฟีนใช้เป็นยาหลักหรือยามาตรฐานของยาแก้ปวด ยาจาพวกนี้กดระบบประสาทส่วนกลาง ลดความรู้สึกเจ็บปวด ทาให้รู้สึกง่วงหลับไป และลดการทางานของ ร่างกาย  อาการข้างเคียงอื่น ๆ ก็คือ อาจทาให้คลื่นเหียนอาเจียน ท้องผูก เกิดอาการคันหน้า ตาแดง เพราะโลหิตฉีด ม่านตาดา หดตีบ และหายใจลาบาก
  • 18. 7. สารยาเสพติดอันตราย : กัญชา (Cannabis)  กัญชา มีลักษณะใบจะแยกออกเป็นแฉกประมาณ5-8 แฉกคล้ายใบมันสาปะหลังที่ขอบใบทุกใบจะมีรอยหยักออกดอกเป็นช่อเล็กๆตามง่ามของกิ่ง และก้าน ส่วนที่คนนามาเสพได้แก่ส่วนของกิ่ง ก้าน ใบ และยอดช่อดอกกัญชา  โดยนามาตากหรืออบแห้ง แล้วบดหรือหั่นให้เป็นผงหยาบๆ จากนั้นจึงนามายัดไส้บุหรี่สูบ ยังอาจพบในรูปของ น้ามันกัญชา (Hashish Oil) ซึ่ง มีลักษณะเป็นของเหลวสีน้าตาลเข้มหรือสีดา ฤทธิ์ทางเสพติด  กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ ที่ออกฤทธิ์หลายอย่างต่อระบบประสาทส่วนกลางคือ ทั้งกระตุ้นประสาทกดและหลอนประสาทแต่สารที่สาคัญที่สุดที่มี ฤทธิ์ต่อสมองและทาให้ร่างกายอารมณ์ และจิตใจเปลี่ยนแปลงไป
  • 19. 8. สารยาเสพติดอันตราย : กระท่อม (Kratom)  กระท่อม เป็นพืชเสพติดชนิดหนึ่ง ส่วนมากพบในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในประเทศอินเดียและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ประเทศไทย ลักษณะเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางมีแก่นเป็นเนื้อไม้แข็ง ใช้ส่วนของใบเป็นสิ่งเสพติด ลักษณะใบคล้ายกระดังงาหรือใบฝรั่งต้นหนาทึบ ต้นกระท่อมมี 2 ชนิด คือ ก้านเขียวและก้านแดง ฤทธิ์ในทางเสพ  ในใบกระท่อมมีสารไมตราจัยนินที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีอาการเสพติดทางร่างกายเล็กน้อย มีอาการเสพติดทางจิตใจ อาจมีอาการขาดยาทางร่างกายแต่ไม่รุนแรง
  • 20. 9. สารยาเสพติดอันตราย : เห็ดขี้ควาย (Magic Mushroom)  เห็ดขี้ควายเป็นเห็ดพิษซึ่งขึ้นอยู่ตามกองมูลควายแห้ง สีของเห็ดจะมีสีเหลืองซีดคล้ายสีฟางแห้งบนหัวของร่ม จะมีสีน้าตาลเข้มจนถึง สีดาบริเวณก้าน (Stalk) บริเวณใกล้ตัวร่มจะมีแผ่นเนื้อเยื่อบางๆสีขาว แผ่ขยายออกรอบก้าน แผ่นนี้มีลักษณะคล้ายวงแหวน ฤทธิ์ในทางเสพติด  ในเห็ดขี้ควายมีสารออกฤทธิ์ทาลายประสาทอย่างรุนแรงคือ ไซโลซีน และ ไซโลไซบีน ผสมอยู่ซึ่งออกฤทธิ์หลอนประสาทเมื่อ บริโภคเข้าไปจะทาให้มีอาการเมา เคลิบเคลิ้มและบ้าคลั่งในที่สุด หากบริโภคเข้าไปมากๆ หรือผู้ที่บริโภคเข้าไปมีภูมิต้านทานน้อย อาจ ทาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
  • 21. 10. สารยาเสพติดอันตราย : ยาเค (ketamine)  ยาเค มาจากคาว่า เคตามีน (ketamine) หรือชื่อทางการค้าว่า เคตาวา (Ketava) หรือเคตาลา (Ketalar) หรือ คาสิบโชล  ซึ่งตามพระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทพ.ศ.2518 เป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 หมายถึง ยาที่มีอันตรายสูงที่แพทย์จะจ่าย ให้กับผู้ป่วย เฉพาะเมื่อมีความจาเป็นจริง ๆ เท่านั้น  สาเหตุที่ทาให้ยาเค กลายเป็นปัญหา เพราะวัยรุ่นบางกลุ่มได้นายาเคมาใช้เป็นสิ่งมึนเมา โดยนามาทาให้เป็นผงนามาสูดดมเพื่อให้เกิดอาการมึนเมา และมักพบว่ามีการนายาเคมาใช้ร่วมกับยาเสพติดร้ายแรงชนิดอื่นเช่น ยาอี และโคเคน ฤทธิ์ในทางเสพติด ยาเค เป็นยาที่ออกฤทธิ์หลอนประสานอย่างรุนแรง เมื่อเสพเข้าไปจะรู้สึกเคลิบเคลิ้ม
  • 22. ยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษเป็นปัญหาใหญ่ที่ทั่วโลกให้ความสาคัญในการป้องกันและปราบปรามเพื่อขจัดให้ หมดสิ้นไป ปัจจุบันรัฐบาลได้ดาเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง โดยการเร่งปราบปรามผู้ผลิต ผู้นาเข้า และผู้จาหน่ายยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง เพิ่มมาตรการในการควบคุมตัวสารสาคัญและสารประกอบที่ใช้ในการผลิตยา เสพติด รวมทั้งเพิ่มบทลงโทษผู้กระทาผิด นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐหลายแห่งได้ร่วมกันรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มากขึ้น ซึ่งสามารถบรรเทาปัญหายาเสพติดในประเทศไปได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามยาเสพติดเป็นปัญหาเรื้อรัง ที่ มีมานาน การปราบปรามยาเสพติดวิธีเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้งหมด การสร้างภูมิความรู้ให้แก่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนให้ทราบและตระหนักถึงภัยร้ายของยาเสพติด รวมทั้งการปลูกฝังหรือสร้างค่านิยมให้ ต่อต้านยาเสพติดจึงเป็นการป้องกันปัญหายาเสพติดได้อีกวิธีหนึ่ง
  • 23. ยาเสพติดให้โทษ คืออะไร พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ควบคุมยาเสพติดให้ โทษของ ประเทศไทย ได้ให้นิยามของยาเสพติดให้โทษไว้ว่า หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ ร่างกายไม่ว่า จะโดยวิธีใดตาม เช่น รับประทาน สูบ ดมหรือฉีดแล้ว จะก่อให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจที่ สาคัญ 4 ประการ คือ 1. มีความต้องการเสพสารนั้นอย่างรุนแรงทั้งร่างกายและจิตใจ 2. ต้องเพิ่มขนาดหรือปริมาณการเสพสารนั้นมากขึ้นเป็นลาดับ 3. เมื่อหยุดเสพสารนั้นจะเกิดอาการถอนยา 4. สุขภาพของผู้เสพสารนั้นเป็นเวลานานจะทรุดโทรมลง
  • 24. การควบคุมยาเสพติดให้โทษ โดยทั่วไปยึดถือหลักในการพิจารณาว่า ตัวยานั้นทาให้เกิดการเสี่ยง ต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรงอย่างไร และประโยชน์ ของยาในการรักษาโรคมากน้อยเพียงใด ซึ่งจาก หลักการดังกล่าว พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้จัดประเภทของยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เป็นยาที่ไม่มีการนามาใช้ในทางการแพทย์ และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับรุนแรง เช่น เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี เป็นต้น ประเภทที่2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เป็นยาที่มีประโยชน์ในการรักษาโรคในระดับน้อยจนถึงมาก และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรในระดับที่ต้องพึง ระวัง เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน เป็นต้น ประเภทที่3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษในประเภท2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามที่ได้ขึ้นทะเบียนตารับไว้เป็นยาที่ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของ ประชากรน้อย แต่ยังคงมีอันตราย และมีประโยชน์ มากในการรักษาโรคเช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน เป็นต้น ประเภทที่4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท1 หรือประเภท2 เช่น อาเซติค แอนไฮไดรด์(Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride) ประเภทที่5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้อยู่ในประเภทที่1 ถึงประเภทที่4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
  • 25. ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย ยาเสพติดก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจและสังคมต่อทุกประเทศทั่วโลกในลักษณะเดียวกัน เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการลัก ขโมย ปัญหาครอบครัว เป็นต้น แต่ชนิดของยาเสพติดที่เป็นต้นเหตุของปัญหานั้น แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สาหรับประเทศไทย ยาเสพติดที่แพร่ระบาดอย่าง รุนแรงอยู่ในปัจจุบันมี 6 ชนิด ซึ่ง มีรายละเอียด รูปลักษณะ อาการของผู้เสพ และอันตรายของยาเสพติดแต่ละชนิดดังต่อไปนี้ 1. ยาบ้า ยาบ้า เป็นยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาท เป็นสารเคมีสังเคราะห์ที่มีชื่อว่า เมทแอมเฟตามีน ยาบ้าที่ ลักลอบจาหน่ายกันอยู่ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นยาเม็ดสีส้ม สี น้าตาล หรือสีเขียว ด้านหนึ่งของเม็ดยาจะมีสัญลักษณ์ เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ “wy” ส่วนอีกด้านจะเป็นรอยขีดแบ่งครึ่งเม็ด ในยาบ้า 1 เม็ด จะมีสารเมทแอมเฟ ตามีน ประมาณ 25 – 30 มิลลิกรัม อาจเสพโดยการกิน เผาไฟแล้วสูบควัน หรือฉีดเข้าหลอดโลหิตดา ยาบ้าจะออกฤทธิ์ ไปกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง อันได้แก่ สมองและไขสันหลัง ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น อัตราการหายใจถี่ขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น ม่านตาขยายกว้างขึ้นและไม่รู้สึกหิว นอกจากนั้น ผู้ใช้ยาจะมีเหงื่อออกมาก ปวดศีรษะ ตาพร่า มัว และนอนไม่หลับ ถ้าเสพยาเข้าไปในปริมาณมาก จะมีอาการหัวใจเต้นรัวผิดปกติ เนื้อตัวสั่นเทา ทรงตัวไม่ได้และ สิ้นสติ ถ้าเสพเข้าไปใน ปริมาณที่มากเกินกว่าร่างกายจะทนรับไหว จะทาให้เกิดอาการหัวใจวายตาย นอกจากนี้ ยาบ้ายังทาให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตและประสาทด้วย โดยผู้เสพยาบ้าจะมี อาการรู้สึกสับสน หงุดหงิด วิตกกังวล ใจ และนอนไม่หลับ อาการดังกล่าวจะรุนแรงมากยิ่งขึ้นเมื่อเสพยามากขึ้น การเสพยาบ้าในปริมาณมากๆหรือเสพ ติดต่อกันเป็น ระยะเวลานานๆจะทาให้ผู้เสพกลายเป็นคนวิกลจริต โดยจะมีอาการเพ้อคลั่ง มองเห็นภาพหลอน หูแว่ว และหวาดระแวง หลงผิดว่าคนอื่นจะมาทาร้าย ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้ เสพยาบ้าหันไปทาร้ายผู้อื่นเสมอ
  • 26. 2. เฮโรอีนและอนุพันธ์ของฝิ่นชนิดอื่นๆ เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมีที่ทามาจากมอร์ฟีนซึ่งได้มาจากฝิ่น เฮโรอีนมี ลักษณะเป็นผงสีขาว มีรสขมจัด ไม่มีกลิ่น ละลายน้าได้ง่าย เฮโรอีนสามารถเสพโดยการนาไปละลายน้าแล้วฉีดเข้า หลอดโลหิตดา หรือนาไปยัดใส่ในมวนบุหรี่แล้วสูบ หรือนาไปลนไฟ แล้วสูดไอระเหยเข้าปอด เฮโรอีนเป็นยาเสพติดที่ ร้ายแรงและติดง่ายที่สุด เมื่อเสพเฮโรอีนหรือยาเสพติดที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น เช่น มอร์ฟีน เข้าไปแล้ว ผู้เสพจะ มี อาการเคลิบเคลิ้มมึนเมา ลืมความทุกข์ในจิตใจไปชั่วขณะ เนื่องจากเฮโรอีนและอนุพันธ์ของฝิ่นชนิดอื่นๆมีฤทธิ์กด ระบบประสาทส่วนกลาง ผู้เสพยาพวกนี้จึง มีอาการง่วงซึม ม่านตาหรี่ลงเล็กน้อย ตาแฉะ ในผู้ที่เสพยาพวกนี้ครั้งแรก อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนเกิดขึ้นได้เฮโรอีนหรือยาที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น เป็นยาเสพ ติดที่มีฤทธิ์รุนแรง หากเสพ มากเกินไปจนร่างกายทนไม่ไหว การทางานของระบบการหายใจจะถูกกด ทาให้หายใจแผ่วและตื้น ผิวกายเย็นชื้น ชัก สลบ และ เสียชีวิตเนื่องจากระบบการหายใจล้มเหลว คนที่ติดเฮโรอีนหรือยาชนิดอื่นที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่นจะมี ร่างกายซูบซีด ผอมเหลือง มีอาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรง อารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เมื่อขาดยาจะมีอาการหงุดหงิด ทุรนทุราย หาว เหงื่อออกมาก เบื่ออาหาร ปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง ท้องเดิน อาเจียน ชัก จนหมดสติ และถ้าร่างกายอ่อนแอก็อาจจะถึงขั้นทาให้เสียชีวิตได้
  • 27. 3. โคเคน โคเคนเป็นสารเคมีที่สกัดมาจากใบของต้นโคคา ซึ่งเป็นไม้ยืนต้นที่เจริญงอกงามอยู่บนภูเขาสูงใน ทวีปอเมริกาใต้ โคเคนเป็นยา เสพติดที่มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทอย่างรุนแรง มีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว นิยมเสพโดย การสูดผงยาเข้าโพรงจมูก มีอยู่ส่วนน้อยที่เสพโดย นาโคเคนไปละลายน้า แล้วฉีดเข้าหลอดโลหิตดา โคเคนทาให้เกิด ความผิดปกติขึ้นกับร่างกายได้ภายในเวลา 10 วินาที อาการผิดปกติ ได้แก่ ม่านตาขยายกว้างขึ้นกว่าปกติ ความดัน โลหิตสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ หายใจถี่ และอุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้นสูงกว่า ปกติ หากเสพโคเคนมาก เกินไปจนร่างกายทนไม่ไหว ผู้เสพมักจะเสียชีวิตจากอาการหัวใจวาย หรือระบบการหายใจล้มเหลว นอกจากนี้ โคเคนยังทาให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตและประสาทด้วย โดยโคเคนมีฤทธิ์ทาให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้มมึนเมาเป็น ระยะเวลาสั้นๆประมาณ 20 – 90 นาที ต่อจากนั้น จะตามด้วยอาการกระสับกระส่าย กังวลใจอย่างรุนแรง ร่างกายอ่อนล้า และจิตใจหดหู่ หากเสพโคเคนเข้าไป มากๆ หรือติดต่อกันเป็นเวลานาน ผู้เสพจะมีอาการเพ้อคลั่ง หวาดระแวงกลัวคนอื่นจะมาทาร้าย มีอาการประสาทหลอนทางกลิ่น รสและ สัมผัส อาการดังกล่าวจะค่อยๆ ลดระดับ ความรุนแรงลงเมื่อหยุดเสพโคเคน
  • 28. 4. ยาอี ยาอีเป็นสารสังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์ทั้งกระตุ้นประสาทและหลอนประสาท ซึ่งเด็กวัยรุ่นนิยมใช้ใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พวกเด็กวัยรุ่นที่ ชอบมั่วสุมกันตามดิสโก้เธค หรือสถานที่ฟังเพลงและเต้นราที่ๆมีการเปิด เพลงเสียงดัง ทั้งนี้เพราะผู้ที่เสพยาอีจะชอบเสียงดัง ยาอีที่แพร่ระบาดใน ประเทศไทย จะมีลักษณะเป็นเม็ดกลมแบน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.7 – 0.8 เซนติเมตร ความหนาของเม็ดยาประมาณ 0.4 – 0.5 เซนติเมตร สีของเม็ดยาจะเป็นสีอ่อนๆ เช่น เขียวอ่อน เหลืองอ่อน ฟ้าอ่อน เทาอ่อนหรือชมพูอ่อน ไม่ค่อยพบเม็ดยาที่มีสีเข้มๆ สัญลักษณ์ที่ปรากฏ บนเม็ดยาจะมีหลากหลายรูปแบบ เช่น รูปนก ผีเสื้อ ตัวการ์ตูน หัวใจ ดวงดาว ดวงจันทร์ ดวง อาทิตย์ หรือตัวอักษรภาษาอังกฤษ เป็นต้น ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ที่ไม่เคยนามาใช้เป็นสัญลักษณ์บนเม็ดของยารักษาโรค ยาอีเสพด้วยการกิน เมื่อกินแล้วจะเกิดอาการผิดปกติทางร่างกาย ได้แก่ หัวใจจะ เต้นแรงและเร็วขึ้น ความดันโลหิต สูงขึ้น อัตราการหายใจถี่ขึ้น อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นเหมือนคนเป็นไข้ เหงื่อออกมาก ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว และ อาจถึงกับเป็นลมหมดสตินอกจากนี้ ยาอียังทาให้เกิดอาการประสาทหลอนขึ้นมาด้วย ผู้เสพจะมีความผิดปกติ เกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส ชอบฟังเพลงเสียงดัง ชอบดูแสงสีที่วูบวาบบาดตา และชอบให้คนมา สัมผัสเล้าโลม แต่เมื่อยาหมดฤทธิ์ลง ผู้เสพจะมีอาการวิตกกังวล ผสมกับอาการซึมเศร้า ยาอีมีฤทธิ์ทาลายเซลล์ ประสาทสมอง แม้จะกินเข้าไปเพียงเล็กน้อย ผู้ที่เสพยาอีจึงมักมีระดับสติปัญญาและผลการเรียนรู้ ต่างกว่าคนปกติ ทั่วไป
  • 29. 5. ยาแก้ไอผสมโคเดอีน โคเดอีนเป็นสารประกอบจาพวกอัลคาลอยด์ที่มีอยู่ในฝิ่นประมาณร้อยละ 0.7 – 2.5 โดยน้าหนัก ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อย มากจนไม่สามารถผลิตเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ ปัจจุบันโคเดอีนที่ใช้ในทางการแพทย์ได้จากการ สังเคราะห์จากฝิ่น โคเดอีน ออกฤทธิ์กดระบบ ประสาทส่วนกลาง มีฤทธิ์ระงับปวดและระงับอาการไอ โดยออกฤทธิ์ที่ ก้านสมองซึ่งทาหน้าที่ควบคุมอาการไอ จึงนิยมใช้ผลิตเป็นยาแก้ไอ แต่ยาแก้ ไอผสมโคเดอีนที่มีการนาไปใช้ในทางที่ ผิด และแพร่ระบาดอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ ยาแก้ไอผสมโคเดอีนชนิดน้า วัยรุ่นนิยมเสพยาน้าแก้ไอผสมโค เดอีนด้วยการ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง หรือดื่มโดยผสมกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งทาให้เกิดผลต่อร่างกาย ได้แก่ ง่วงซึม คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ใจสั่น มีอาการมึนงง หายใจและถ่ายปัสสาวะลาบาก หากเป็นพิษโดยเฉียบพลัน อาจทาให้เกิดการ ชัก เพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นช้า หัวใจเต้นเร็ว ไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบการหมุนเวียนในร่างกายล้มเหลว ระบบ การหายใจเป็นอัมพาต เกิดภาวะหยุดการหายใจและตายได้การใช้โค เดอีนในระยะยาว อาจทาให้เกิดอาการซึมเศร้า ขาดสมาธิ ง่วงนอนและหลับได้ ท้องผูกอย่างรุนแรง และทาให้มีปัญหาเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศ ด้วย และหากใช้ ในปริมาณที่สูงจะทาให้เกิดอาการสั่นและชักได้
  • 30. 6. กัญชา กัญชาเป็นพืชล้มลุก ส่วนที่นามาใช้เสพคือ ช่อดอกตัวเมียและใบที่ติดมากับช่อดอก โดยน้ามาตาก หรืออบให้แห้ง แล้วนาไปบดหรือหั่น เป็นฝอยหยาบๆแล้วจึงนาไปมวนสูบโดยผสมกับบุหรี่ หรืออาจจะสูบจากกล้อง ยาสูบ หรือบ้องกัญชาก็ได้กัญชาทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อร่างกายทันทีได้แก่ หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ตาแดงกว่าเนื่องจากเส้นเลือดฝอยขยายตัวหรือแตก ปากแห้ง คอแห้ง และอยากอาหาร การสูบ กัญชาจะส่งผลต่อระบบความจา ทาให้เกิดภาวะความจาเสื่อม ความเฉลียวฉลาดลดลง การรับรู้เรื่องระยะทางและ เวลาผิดปกติ ความสามารถในการทางานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สมาธิ เช่น การขับขี่ยวดยานจะมีประสิทธิภาพลดลง แรงจูงใจและการใฝ่เรียนรู้ลดลง นอกจากนั้น การสูบกัญชามากๆอาจส่งผลให้เกิดอาการประสาทหลอนและ วิกลจริต ในการสูบกัญชา ผู้สูบมักจะเอาควันที่เกิดจากการเผาไหม้ของกัญชาเข้าไปใน ปอด แล้วพยายามกักเอาควัน ไว้ในปอดให้นานที่สุด ก่อนจะผ่อนลมหายใจออกมา และเนื่องจากในควันของกัญชามีสารเคมีที่เป็นพิษมากกว่าควัน บุหรี่ ฉะนั้น ผู้ที่สูบกัญชาจึงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคถุงลมโป่งพองและมะเร็งสูงกว่าผู้ที่สูบบุหรี่ และการสูบกัญชา เป็นประจาจะทาให้เกิดการเสพ ติดทางจิตใจ ต้องเพิ่มปริมาณกัญชาที่สูบและความถี่ในการสูบขึ้นเรื่อยๆ
  • 31. ลักษณะอาการของผู้ติดยาเสพติด ผู้ติดยาเสพติดให้โทษจะมีสภาพทางกายและทางจิตใจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ซึ่งสามารถ สังเกตได้อย่างง่ายๆ 1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย สุขภาพทรุดโทรม ซูบผอม อ่อนเพลียง่าย ริมฝีปากเขียวคล้า ตา แดงกล่า รูม่านตาขยาย น้ามูกไหล ผิวหนังหยาบกร้านเป็นแผลพุพอง ชอบใส่เสื้อแขนยาวและสวมแว่นตาด า หาก ขาดยาหรืออดยา จะ หาวนอนบ่อย จามคล้ายคนเป็นหวัด น้ามูกน้าตาไหล กระวนกระวาย ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย ตาพร่าไม่สู้แดด มีอาการสั่น เกร็ง เพ้อ คุ้มคลั่ง 2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ นิสัยและบุคลิกภาพ เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย ขาดเหตุผล ไม่มีความรับผิดชอบต่อ การเรียนหรือการงาน ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย มักเก็บตัว ชอบทาตัวลึกลับ ไม่สนใจความ เป็นอยู่ของตนเอง เกียจคร้าน นอนตื่นสายผิดปกติ มีอาการวิตกกังวล ซึมเศร้า
  • 32. โทษของยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษ ก่อให้เกิดผลเสียต่อผู้เสพโดยตรงและส่งผลกระทบต่อครอบครัว ผู้ใกล้ชิด และ ประเทศชาติอย่างมากมาย ดังนี้ 1. ผลต่อผู้เสพ ยาเสพติดทาให้สุขภาพของผู้เสพติดเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ความต้านทานโรค น้อยกว่าปกติ ทาให้ติด เชื้อได้ง่าย ส่วนมากมักจะเป็นโรคผิวหนัง โรคทางเดินอาหาร วัณโรค อารมณ์แปรปรวนง่าย ซึมเศร้า วิตกกังวล บุคลิกภาพสูญเสีย 2. ผลต่อครอบครัว ผู้ติดยาเสพติดจะขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัว ไม่ห่วงใยดูแลครอบครัว เป็นภาระของ ครอบครัว ทาให้ครอบครัวแตกแยก ขาดความอบอุ่น และอาจจะเป็นตัวอย่างหรือเป็นสาเหตุทาให้ สมาชิกใน ครอบครัวหันไปเสพยาเสพติดได้ 3. ผลต่อเศรษฐกิจและสังคม การที่มียาเสพติดแพร่ระบาดในประเทศ ทาให้รัฐต้องสูญเสีย งบประมาณและเจ้าหน้าที่ จานวนมากในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และตัวผู้เสพก็มีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิด ปัญหาสังคมด้วยการก่อ อาชญากรรม ลักเล็กขโมยน้อย หรือทาให้เกิดอุบัติเหตุต่างๆ ซึ่งผลกระทบของปัญหาเหล่านี้ อาจมีความรุนแรงจน นาไปสู่ปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติได้
  • 34. บทลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมาย เพื่อเป็นการป้องปรามผู้กระทาผิดหรือผู้ที่คิดจะกระทาผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ รัฐบาลจึงได้ กาหนด บทลงโทษผู้กระทาผิดไว้ซึ่งจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการกระทาผิดที่พบ พอสรุปได้ดังนี้ ประเภทของยาเสพติดให้โทษ การกระทาผิด บทลงโทษ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 (เช่น เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี ฯลฯ ) 1.ผลิต นาเข้า หรือ ส่งออก บทลงโทษสูงสุดคือประหารชีวิตหรือ จาคุกตั้งแต่ 4 ปี– ตลอดชีวิต หรือ ปรับตั้งแต่ 80,000 บาท – 5,000,000บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่าย บทลงโทษสูงสุดคือประหารชีวิต หรือ จาคุกตั้งแต่ 4 ปี - จ าคุกตลอดชีวิต และ/หรือปรับตั้งแต่ 80,000 บาท – 5,000,000 บาท 3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 จาคุกตั้งแต่ 6 เดือน – 3 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 10,000 บาท – 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 4.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 5 ปี หรือปรับตั้ง แต่ 20,000 บาท– 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 5.ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลัง ประทุษร้าย หรือข่มขืนใจ ให้ผู้อื่น กระทาความผิดฐานผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ายครอบครอง เพื่อ จาหน่าย หรือครอบครองซึ่งยาเสพติด ให้โทษ โทษเป็น 2 เท่าของโทษที่กฎหมาย บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น
  • 35. ยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ( เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน ฯลฯ ) 1.ผลิต นาเข้า หรือส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกตั้งแต่ 1 ปี - ตลอดชีวิต และ ปรับตั้งแต่ 100,000 บาท – 5,000,000 บาท 2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่ายอย่างผิด กฎหมาย จาคุกตั้งแต่ 1 ปี - ตลอดชีวิต และ/ หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาท - 5,000,000 บาท 3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 จาคุกตั้งแต่ 6 เดือน – 3 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 10,000 บาท – 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ 4.ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลัง ประทุษร้าย ใช้อานาจครอบงาผิด คลองธรรม หรือ ใช้วิธีข่มขืนใจด้วย ประการอื่นใดให้ผู้อื่นเสพ จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 10 ปี และ ปรับตั้งแต่ 100,000 บาท – 1,000,000 บาท 5.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกตั้งแต่ 1 ปี– 5 ปี หรือปรับตั้ง แต่ 20,000 บาท– 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 36. ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ( เช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน ) 1.ผลิต นาเข้า หรือ ส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 20 ปี และ/ หรือ ปรับ ไม่เกิน 2,000,000 บาท 2.จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย อย่างผิดกฎหมาย จาคุกไม่เกิน 5 ปี และ/หรือปรับไม่ เกิน 500,000 บาท ยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 (เช่น อาเซติลคลอไรด์ ฯลฯ) 1.ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือจาหน่าย อย่างผิดกฎหมาย มีโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปี - 15 ปี และ ปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 1,500,000 บาท 2.ครอบครอง อย่างผิดกฎหมาย มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่ เกิน 100,000บาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (เช่น กัญชา กระท่อม ฯลฯ ) 1.ผลิต นาเข้า หรือส่งออก อย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 15 ปี และปรับไม่เกิน 1,500,000 บาท 2.จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อ จาหน่ายอย่างผิด กฎหมาย จาคุกไม่เกิน 15 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,500,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้ง ปรับ 3.เสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ 4.ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ***เมื่อได้ทราบถึงโทษ อันตรายและผลที่เกิดจากยาเสพติดให้โทษ ต่อผู้เสพโดยตรงและส่งผลกระทบ ไปถึงครอบครัว ผู้ใกล้ชิด ตลอดจนประเทศชาติอย่างใหญ่หลวงแล้ว เรา ทุกคนจึงควรช่วยกันป้องกันหรือหยุดยั้งมิให้ยาเสพติดลุกลามกว้างขวางออกไป เริ่มที่ตนเองก่อนโดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด เอาใจใส่และให้ความอบอุ่น แก่ครอบครัว เพื่อป้องกันให้สมาชิกในครอบครัวห่างไกลจากยาเสพติด และร่วมมือในการให้เบาะแสแก่เจ้าหน้าที่ บ้านเมืองเพื่อปราบปรามยาเสพติดให้สิ้นไป
  • 39. ผู้จัดทา: นาย ธนาคม เกษมพันธ์ เลขที่16 ม.6/13 นาย กุลโรจน์ ค้าจุนวงศ์สกุล เลขที่35 ม.6/13