SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
โปรแกรมภาษาไพธอนคืออะไร
Python คือชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาโดยไม่ยึดติดกับ
แพลตฟอร์ม กล่าวคือสามารถรันภาษา Python ได้ทั้งบนระบบ Unix, Linux , Windows NT,
Windows 2000, Windows XP หรือแม้แต่ระบบ FreeBSD อีกอย่างหนึ่งภาษาตัว นี้
เป็น OpenSource เหมือนอย่าง PHP ทาให้ทุกคนสามารถที่จะนา Python มาพัฒนาโปรแกรมของเราได้
ฟรีๆโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และความเป็น Open Source ทาให้มีคนเข้ามาช่วยกันพัฒนาให้ Python มี
ความสามารถสูงขึ้น และใช้งานได้คอบคุมกับทุกลักษณะงาน
คุณสมบัติและความสามารถของภาษาไพธอน
• 1. สามารถใช้ได้ทุกแพลตฟอร์ม กล่าวคือ สามารถทางานได้ทุก ๆ CPU หลาย ๆ
ระบบปฏิบัติการ เพียงแต่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนจากแพลตฟอร์มใด ๆ แล้วนาโปรแกรมที่ได้ไปให้
ทางานต่างแพลตฟอร์มกันได้
• 2. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อโปรแกรมต้นฉบับ โดยปกติแล้วโปรแกรมภาษาทั่ว ๆ ไป
จะต้องจัดซื้อโปรแกรมต้นฉบับเพื่อนามาติดตั้งในราคาที่แพงมาก แต่โปแกรมภาษาไพธอน
สามารถดาวน์โหลดจาก www.python.org ได้โดยตรง แล้วนามาติดตั้งและศึกษาการใช้
ด้วยตนเอง เพราะเป็นโปรแกรมประเภท Open Source
• 3. ภาษาไพธอนได้นาเอาข้อดีของโปรแกรมในอดีตเข้ามาไว้ด้วยกัน เช่น ภาษา C,
C++, Java และ Perl เป็นต้น
• 4. มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากภาษาไพธอนทางานอยู่ด้าน Server เป็นหลัก เมื่อมีการร้องขอจาก
เครื่อง Client จะประมวลผลที่เครื่อง Server ทาให้ผู้ใช้ทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงเครื่อง Server ได้
โดยตรงจึงมีความปลอดภัยสูงกว่า
• 5. ใช้ในการพัฒนา Web Service ซึ่งในปัจจุบันการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้เน้นที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ง
กันและกันทั้งในองค์กรเดียวกันหรือแม้แต่ต่างองค์กรกัน ทาให้เกิดความ สะดวกสบาย ไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์อื่น ๆ
มาแปลงข้อมูลเพื่อให้เข้ากันได้อีกต่อไปเรียนรู้ได้เร็วกว่าโปรแกรมภาษาอื่น ๆ เพราะมีโครงสร้างภาษาที่ไม่
ซับซ้อน
ประวัติการสร้างไพธอน
• ภาษาไพธอน (Python programming language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบอินเทอร์พรี
เตอร์ ที่สร้างโดย กีโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum) ในพ.ศ. 2533 ปัจจุบันดูแลโดย
มูลนิธิซอฟต์แวร์ไพธอน
• ไพธอนเป็นภาษาสคริปต์ ทาให้ใช้เวลาในการเขียนและคอมไพล์ไม่มาก ทาให้เหมาะกับงานด้านการ
ดูแลระบบ (System administration) เป็นอย่างยิ่ง ได้มีการสนับสนุนภาษาไพธอนโดยเป็น
ส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์, ลินุกซ์ และสามารถติดตั้งให้ทางานเป็นภาษาสคริปต์ของวินโดวส์
ผ่านระบบ Windows Script Host ได้อีกด้วย และ Python เองก็ได้ถูกนามาพัฒนา Web
application อย่างแพร่หลาย ซึ่งมี Framework สาหรับทาเว็บของ Python ที่ได้รับความ
นิยมอย่างมากคือ Django
• ไวยากรณ์อ่านง่ายไวยากรณ์ของไพธอนได้กาจัดการใช้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแบ่งบล็อกของโปรแกรม
และใช้การย่อหน้าแทน ทาให้สามารถอ่านโปรแกรมที่เขียนได้ง่าย นอกจากนั้นยังมีการสนับสนุนการ
เขียน docstring ซึ่งเป็นข้อความสั้นๆ ที่ใช้อธิบายการทางานของฟังก์ชัน, คลาส, และโมดูลอีกด้วย
• ความเป็นภาษากาว ไพธอนเป็นภาษากาว (Glue Language) ได้อย่างดีเนื่องจากสามารถเรียกใช้
ภาษาโปรแกรมอื่นๆ ได้หลายภาษา ทาให้เหมาะที่จะใช้เขียนเพื่อประสานงานโปรแกรมที่เขียนในภาษาต่างกัน
ได้ ไลบรารีในไพธอน การเขียนโปรแกรมในภาษาไพธอนโดยใช้ไลบรารีต่าง ๆ เป็นการลดภาระของ
โปรแกรมเมอร์ได้เป็นอย่างดี ทาให้โปรแกรมเมอร์ไม่ต้องเสียเวลากับการเขียนคาสั่งที่ซ้าๆ เช่นการแสดงผล
ข้อมูลออกสู่หน้าจอ หรือการรับค่าต่าง ๆ
• ไพธอนมีชุดไลบรารีมาตรฐานมาให้ตั้งแต่ติดตั้งอินเตอร์พรีเตอร์ นอกจากนั้นยังมีผู้พัฒนาจากทั่วโลกดาเนินการ
พัฒนาไลบรารีซึ่งช่วยอานวยความ สะดวกในด้านต่าง ๆ โดยจะเผยแพร่ในรูปแบบของแพ็คเกจต่าง ๆ ซึ่ง
สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้อีกด้วย
• สุดท้าย คือ ภาษาไพธอน ทางานเร็วที่สุดเมื่อเทียบกับภาษา script ด้วยกัน เช่น php, jsp, asp จะ
พูดว่า ไพธอน เขียนน้อยได้งานมาก ทางานเร็วก็ไม่ผิดนัก
งานด้านต่างๆที่ไพธอนสนับสนุนในปัจจุบัน
ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นว่าภาษาไพธอนเป็นภาษาแบบผสมผสานหลายกระบวนทัศน์(Multi-
paradigm language) ดังนั้นจึงรองรับการพัฒนางานได้หลากหลายประเภท ดังนี้
• สนับสนุนการพัฒนางานเกี่ยวกับเว็บแอพพลิเคชัน (Web application)
• สนับสนุนงานด้านฐานข้อมูล (Database Access) Standard database API
• สนับสนุนงานด้าน Desktop GUIs
• สนับสนุนงานด้านวิทยาศาสตร์ และการประมวลผลตัวเลข(Scientificand
Numericcomputation)
• สนับสนุนงานด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics)
• สนับสนุนงานด้านการโปรแกรมเครือข่าย (Network programming)
• สนับสนุนด้านการศึกษา (Education)
• สนับสนุนด้านการพัฒนาเกมส์ และงานด้าน 2D, 3D
(Game and 2/3D Graphics Rendering)
• การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software development)
ตัวอย่างหน่วยงานที่เลือกใช้ไพธอน แบ่งตามประเภทต่างๆ
• หน่วยงานเกี่ยวกับเว็บแอพพลิเคชัน
• หน่วยงานเกี่ยวกับการสร้างเกมส์ (Games)
• หน่วยงานเกี่ยวกับงานกราฟฟิก (Graphics)
• หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
• หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software development)
• หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการศึกษา (Education)
• หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านซอฟต์แวร์ธุรกิจ
• หน่วยงานของรัฐบาล
ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่เขียนด้วยไพธอน
• บิตทอร์เรนต์ (BitTorrent)
• Chandler โปรแกรมจัดการข้อมูลส่วนบุคคล
• บางส่วนของ GNOME
• บางส่วนของ Blender
• Mailman โปรแกรมจัดการจดหมายกลุ่ม (เมลลิ่งลิสต์)
• Moin Moin โปรแกรมวิกิ
• Portage ส่วนจัดการแพกเกจของ Gentoo Linux
• Zope แอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์
• เทอร์โบเกียร์และ Django ส าหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ และอีกมากมาย
การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์
• ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งของไพธอนได้จาก http://www.python.org
• เมื่อได้ไฟล์ python-3.3.3.msi แล้ว ให้ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้ง
• จะเข้าสู่หน้าจอเลือก Path ในการติดตั้งให้เลือก C:Python33 แล้วคลิกNext >
• จะเข้าสู่หน้าจอ เลือก Features ในการติดตั้ง ให้เลือกติดตั้งตามค่ามาตรฐาน แล้วคลิกNext >
• คลิก ปุ่ม Finish เป็นการสิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้ง
• ทดสอบใช้งานโปรแกรมภาษาไพธอน เข้าไปที่ Start >> Program >> Python3.3 >>
IDLE (Python GUI) จะได้หน้าจอ
การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์-ลินุกซ์
โดยปกติไพธอนจะติดตั้งมากับลินุกซ์อยู่แล้ว ทดสอบโดยการเปิดเทอร์มินอล และพิมพ์คาสั่ง
python@root:~$ python จะแสดงเวอร์ชันของไพธอนออกมา ถ้าไม่ปรากฏแสดงว่ายังไม่ได้ติดตั้ง
เอาไว้วิธีการติดตั้งทาได้ 2 วิธีคือ ติดตั้งแบบ package และแบบ Manual
การติดตั้งแบบ package บนลินุกซ์Centos/Fedora
พิมพ์คาสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินอล
รอสักครู่ โปรแกรมจะติดตั้ง package ต่างๆ ให้อัตโนมัติ เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นโพธอนจะสามารถ
เรียกใช้งานได้ทันทีโดยใช้คาสั่ง python@root:~$ python
Note: การติดตั้งแบบ Package ต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเสมอ
python@root:~$ yum install openssl-devel bzip2-devel expat-devel
gdbm-develreadline-devel sqlite-devel
การติดตั้งแบบ Package บนลินุกซ์Ubuntu/ LinuxMint/Debian
พิมพ์คาสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินอล
รอสักครู่ โปรแกรมจะติดตั้ง package ต่างๆ ให้อัตโนมัติ
python@root:~$ sudo apt-get install build-essential libncursesw5-
dev libreadline5-
dev libssl-dev libgdbm-dev libc6-dev libsqlite3-dev tk-dev
การติดตั้งแบบ Manual บนลินุกซ์-ยนูิกส์
การติดตั้งแบบ Manual เป็นการติดตั้งด้วยการนาเอาไฟล์ต้นฉบับ (Source program) มาคอมไพล์กับ
ระบบปฏิบัติการบนสถาปัตยกรรมของเครื่องปัจจุบันที่กาลังทางานอยู่ ดังนั้นจาเป็นต้องมีคอมไพล์เลอร์ของภาษา
C/C++ ติดตั้งบนเครื่องเสียก่อน เพราะว่าไพธอนถูกเขียนด้วยภาษา C นั่นเองโดยปกติลินุกซ์ก็จะติดตั้ง
คอมไพเลอร์ภาษา C มาอยู่แล้ว ทดสอบโดยใช้คาสั่งดังนี้ในเทอร์มินอลpython@root:~$ gcc หรือ g++
ขั้นตอนการติดตั้งไพธอนแบบ Manual
1.ดาวน์โหลดแฟ้มต้นฉบับของไพธอนเวอร์ชันล่าสุดที่
http://www.python.org/download/releases เลือกเวอร์ชันที่ต้องการดาวน์โหลด
จากนั้นใช้คาสั่ง (เวอร์ชันล่าสุดในที่นี้คือ Python-3.3.3.tar.bz2)python@root:~$ wget
http://www.python.org/ftp/python/3.3.3/Python-3.3.3.tar.bz2
2.แตกไฟล์ที่บีบอัดไว้ในไดเรคทรอรี่ปัจจุบัน (ทดสอบว่าอยู่ในไดเรคทรอรี่ใดๆ ด้วยคาสั่ง
pwd)python@root:~$ tar -xjf Python-3.3.3.tar.bz2เมื่อแตกไฟล์บีบอัดแล้วจะมีโฟลเดอร์
ชื่อว่า Python-3.3.3 ปรากฏให้ท าการเปลี่ยนที่อยู่ไปในโฟล์เดอร์ดังกล่าว ด้วยค าสั่ง cd
3.คอนฟิกเส้นทางการติดตั้ง และคอมไพล์แฟ้มต้นฉบับด้วยคา
สั่งpython@root:~$ ./configure --prefix=/opt/python3
python@root:~$ make
python@root:~$ sudo make install
ถึงขั้นตอนนี้อาจจะต้องใช้เวลานานพอสมควรขึ้นอยู่กับความเร็วของคอมพิวเตอร์เมื่อติดตั้งเสร็จโดยไม่มี
ข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น ไพธอนจะถูกติดตั้งอยู่ที่โฟลเดอร์ /opt/python3 ทดสอบเรียกใช้งานโดยใช้คาสั่ง
ดังนี้python@root:~$ /opt/python3/bin/python3 –Vถ้าปรากฏข้อความแสดงเวอร์ชันของ
ไพธอน แสดงว่าการติดตั้งสาเร็จแล้ว
การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการแมคอินทอช
• ดาวน์โหลด MacPython-OSX disk image จาก
http://homepages.cwi.nl/~jack/macpython/download.html
• คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลดไฟล์ชื่อ MacPython-OSX-2.3-2.dmg เก็บไว้บน desktop
• ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ดังกล่าวเพื่อทาการเมาส์อิมเมจ
• ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ชื่อ MacPython-OSX.pkg
• การติดตั้งต้องใช้สิทธิ์ของ admin โดยจะมี prompt ขึ้นมาเพื่อให้ป้อนชื่อและรหัสผ่าน
• หลังจากติดตั้งแล้วให้เปิดโฟลเดอร์ /Application/MacPython-2.3
• ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ชื่อ PythonIDE จะปรากฏ prompt ของไพธอนเป็น >>> แสดงว่าพร้อมรับคาสั่งเรียบร้อย
แล้ว
การใช้งานไพธอน Python shell (IDLE: Python GUI) และ
Command line บนวินโดวส์
ในหัวข้อนี้จะแนะนาถึงวิธีการเขียนโปรแกรมไพธอนบนเชลล์ (เป็นเครื่องมือที่ใช้ส าหรับเขียนโปรแกรม
ต้นฉบับ และรันโปรแกรม) ที่ติดตั้งมาพร้อมกับโปรแกรมภาษาไพธอนที่ได้ติดตั้งไปแล้วในหัวข้อก่อนหน้า (ในที่นี้
เน้นการใช้งานเชลล์บนวินโดวส์เท่านั้น) โดยไพธอนได้เตรียมเชลล์ให้ผู้ที่ต้องการเขียนไพธอนไว้ 2 วิธี และอีกวิธีคือ
ผู้ใช้สั่งรันโปรแกรมด้วยตัวเองผ่านทาง Command line
วิธีการใช้งาน Python shell (IDLE: Python GUI)
Python shell จะเป็นโปรแกรมที่ไพธอนเตรียมไว้ให้สาหรับเขียนโปรแกรม และรันโปรแกรม มี
ลักษณะการทางานคล้าย Editor ของโปรแกรม Matlab คือ ผู้ใช้ป้อนคาสั่งทีละคาสั่ง เมื่อกดปุ่ม Enter
โปรแกรมจะประมวลผลทันที (ทางานในลักษณะบรรทัดต่อบรรทัด) โดยมีสัญลักษณ์ของ prompt คือการ
เรียกใช้งานโปรแกรม Python shell สาหรับวินโดวส์ 98, XP, 7 โดยเลือกที่ Start Programs
Python 3.3 IDLE (Python GUI)
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพtonta01
 
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพtonta01
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่jamiezaa123
 
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภา
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภา
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาtonta01
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่Manop Kongoon
 

What's hot (12)

บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
 
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาพ
 
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
 
Comonet
ComonetComonet
Comonet
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภา
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภาบทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภา
บทที่ 2 พื้นฐานการจัดรูปภา
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
Windows
WindowsWindows
Windows
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Web browser คืออะไร
Web browser คืออะไรWeb browser คืออะไร
Web browser คืออะไร
 
Presentation 2
Presentation 2Presentation 2
Presentation 2
 

Similar to โปรแกรมภาษาไพธอน

โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บKhon Kaen University
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCWittaya Kaewchat
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นwiratchadaporn
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครรงาน
โครรงานโครรงาน
โครรงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานsasitorn256
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Hm Thanachot
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 

Similar to โปรแกรมภาษาไพธอน (20)

โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
OSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for EducationOSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for Education
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บการเขียนโปรแกรมบนเว็บ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
 
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงานระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครรงาน
โครรงานโครรงาน
โครรงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Joomla CMS
Joomla CMSJoomla CMS
Joomla CMS
 
Application Software
Application SoftwareApplication Software
Application Software
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 

More from Kornnicha Wonglai

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลKornnicha Wonglai
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์Kornnicha Wonglai
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลKornnicha Wonglai
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาKornnicha Wonglai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kornnicha Wonglai
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นKornnicha Wonglai
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำKornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลKornnicha Wonglai
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีKornnicha Wonglai
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลKornnicha Wonglai
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาKornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 

More from Kornnicha Wonglai (20)

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
77 จังหวัด
77 จังหวัด77 จังหวัด
77 จังหวัด
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ข่าว It-news
ข่าว It-newsข่าว It-news
ข่าว It-news
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It news
 

โปรแกรมภาษาไพธอน

  • 1.
  • 2.
  • 3. โปรแกรมภาษาไพธอนคืออะไร Python คือชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาโดยไม่ยึดติดกับ แพลตฟอร์ม กล่าวคือสามารถรันภาษา Python ได้ทั้งบนระบบ Unix, Linux , Windows NT, Windows 2000, Windows XP หรือแม้แต่ระบบ FreeBSD อีกอย่างหนึ่งภาษาตัว นี้ เป็น OpenSource เหมือนอย่าง PHP ทาให้ทุกคนสามารถที่จะนา Python มาพัฒนาโปรแกรมของเราได้ ฟรีๆโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และความเป็น Open Source ทาให้มีคนเข้ามาช่วยกันพัฒนาให้ Python มี ความสามารถสูงขึ้น และใช้งานได้คอบคุมกับทุกลักษณะงาน
  • 4.
  • 5. คุณสมบัติและความสามารถของภาษาไพธอน • 1. สามารถใช้ได้ทุกแพลตฟอร์ม กล่าวคือ สามารถทางานได้ทุก ๆ CPU หลาย ๆ ระบบปฏิบัติการ เพียงแต่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนจากแพลตฟอร์มใด ๆ แล้วนาโปรแกรมที่ได้ไปให้ ทางานต่างแพลตฟอร์มกันได้ • 2. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อโปรแกรมต้นฉบับ โดยปกติแล้วโปรแกรมภาษาทั่ว ๆ ไป จะต้องจัดซื้อโปรแกรมต้นฉบับเพื่อนามาติดตั้งในราคาที่แพงมาก แต่โปแกรมภาษาไพธอน สามารถดาวน์โหลดจาก www.python.org ได้โดยตรง แล้วนามาติดตั้งและศึกษาการใช้ ด้วยตนเอง เพราะเป็นโปรแกรมประเภท Open Source • 3. ภาษาไพธอนได้นาเอาข้อดีของโปรแกรมในอดีตเข้ามาไว้ด้วยกัน เช่น ภาษา C, C++, Java และ Perl เป็นต้น
  • 6. • 4. มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากภาษาไพธอนทางานอยู่ด้าน Server เป็นหลัก เมื่อมีการร้องขอจาก เครื่อง Client จะประมวลผลที่เครื่อง Server ทาให้ผู้ใช้ทั่วไปไม่สามารถเข้าถึงเครื่อง Server ได้ โดยตรงจึงมีความปลอดภัยสูงกว่า • 5. ใช้ในการพัฒนา Web Service ซึ่งในปัจจุบันการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้เน้นที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ง กันและกันทั้งในองค์กรเดียวกันหรือแม้แต่ต่างองค์กรกัน ทาให้เกิดความ สะดวกสบาย ไม่ต้องใช้ซอฟต์แวร์อื่น ๆ มาแปลงข้อมูลเพื่อให้เข้ากันได้อีกต่อไปเรียนรู้ได้เร็วกว่าโปรแกรมภาษาอื่น ๆ เพราะมีโครงสร้างภาษาที่ไม่ ซับซ้อน
  • 7.
  • 8. ประวัติการสร้างไพธอน • ภาษาไพธอน (Python programming language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบอินเทอร์พรี เตอร์ ที่สร้างโดย กีโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum) ในพ.ศ. 2533 ปัจจุบันดูแลโดย มูลนิธิซอฟต์แวร์ไพธอน • ไพธอนเป็นภาษาสคริปต์ ทาให้ใช้เวลาในการเขียนและคอมไพล์ไม่มาก ทาให้เหมาะกับงานด้านการ ดูแลระบบ (System administration) เป็นอย่างยิ่ง ได้มีการสนับสนุนภาษาไพธอนโดยเป็น ส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์, ลินุกซ์ และสามารถติดตั้งให้ทางานเป็นภาษาสคริปต์ของวินโดวส์ ผ่านระบบ Windows Script Host ได้อีกด้วย และ Python เองก็ได้ถูกนามาพัฒนา Web application อย่างแพร่หลาย ซึ่งมี Framework สาหรับทาเว็บของ Python ที่ได้รับความ นิยมอย่างมากคือ Django • ไวยากรณ์อ่านง่ายไวยากรณ์ของไพธอนได้กาจัดการใช้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแบ่งบล็อกของโปรแกรม และใช้การย่อหน้าแทน ทาให้สามารถอ่านโปรแกรมที่เขียนได้ง่าย นอกจากนั้นยังมีการสนับสนุนการ เขียน docstring ซึ่งเป็นข้อความสั้นๆ ที่ใช้อธิบายการทางานของฟังก์ชัน, คลาส, และโมดูลอีกด้วย
  • 9. • ความเป็นภาษากาว ไพธอนเป็นภาษากาว (Glue Language) ได้อย่างดีเนื่องจากสามารถเรียกใช้ ภาษาโปรแกรมอื่นๆ ได้หลายภาษา ทาให้เหมาะที่จะใช้เขียนเพื่อประสานงานโปรแกรมที่เขียนในภาษาต่างกัน ได้ ไลบรารีในไพธอน การเขียนโปรแกรมในภาษาไพธอนโดยใช้ไลบรารีต่าง ๆ เป็นการลดภาระของ โปรแกรมเมอร์ได้เป็นอย่างดี ทาให้โปรแกรมเมอร์ไม่ต้องเสียเวลากับการเขียนคาสั่งที่ซ้าๆ เช่นการแสดงผล ข้อมูลออกสู่หน้าจอ หรือการรับค่าต่าง ๆ • ไพธอนมีชุดไลบรารีมาตรฐานมาให้ตั้งแต่ติดตั้งอินเตอร์พรีเตอร์ นอกจากนั้นยังมีผู้พัฒนาจากทั่วโลกดาเนินการ พัฒนาไลบรารีซึ่งช่วยอานวยความ สะดวกในด้านต่าง ๆ โดยจะเผยแพร่ในรูปแบบของแพ็คเกจต่าง ๆ ซึ่ง สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้อีกด้วย • สุดท้าย คือ ภาษาไพธอน ทางานเร็วที่สุดเมื่อเทียบกับภาษา script ด้วยกัน เช่น php, jsp, asp จะ พูดว่า ไพธอน เขียนน้อยได้งานมาก ทางานเร็วก็ไม่ผิดนัก
  • 10.
  • 11. งานด้านต่างๆที่ไพธอนสนับสนุนในปัจจุบัน ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นว่าภาษาไพธอนเป็นภาษาแบบผสมผสานหลายกระบวนทัศน์(Multi- paradigm language) ดังนั้นจึงรองรับการพัฒนางานได้หลากหลายประเภท ดังนี้ • สนับสนุนการพัฒนางานเกี่ยวกับเว็บแอพพลิเคชัน (Web application) • สนับสนุนงานด้านฐานข้อมูล (Database Access) Standard database API • สนับสนุนงานด้าน Desktop GUIs • สนับสนุนงานด้านวิทยาศาสตร์ และการประมวลผลตัวเลข(Scientificand Numericcomputation) • สนับสนุนงานด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics)
  • 12. • สนับสนุนงานด้านการโปรแกรมเครือข่าย (Network programming) • สนับสนุนด้านการศึกษา (Education) • สนับสนุนด้านการพัฒนาเกมส์ และงานด้าน 2D, 3D (Game and 2/3D Graphics Rendering) • การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software development)
  • 13.
  • 14. ตัวอย่างหน่วยงานที่เลือกใช้ไพธอน แบ่งตามประเภทต่างๆ • หน่วยงานเกี่ยวกับเว็บแอพพลิเคชัน • หน่วยงานเกี่ยวกับการสร้างเกมส์ (Games) • หน่วยงานเกี่ยวกับงานกราฟฟิก (Graphics) • หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ • หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software development) • หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านการศึกษา (Education) • หน่วยงานเกี่ยวกับงานด้านซอฟต์แวร์ธุรกิจ • หน่วยงานของรัฐบาล
  • 15.
  • 16. ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่เขียนด้วยไพธอน • บิตทอร์เรนต์ (BitTorrent) • Chandler โปรแกรมจัดการข้อมูลส่วนบุคคล • บางส่วนของ GNOME • บางส่วนของ Blender • Mailman โปรแกรมจัดการจดหมายกลุ่ม (เมลลิ่งลิสต์) • Moin Moin โปรแกรมวิกิ • Portage ส่วนจัดการแพกเกจของ Gentoo Linux • Zope แอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ • เทอร์โบเกียร์และ Django ส าหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ และอีกมากมาย
  • 17.
  • 18. การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ • ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งของไพธอนได้จาก http://www.python.org • เมื่อได้ไฟล์ python-3.3.3.msi แล้ว ให้ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้ง • จะเข้าสู่หน้าจอเลือก Path ในการติดตั้งให้เลือก C:Python33 แล้วคลิกNext > • จะเข้าสู่หน้าจอ เลือก Features ในการติดตั้ง ให้เลือกติดตั้งตามค่ามาตรฐาน แล้วคลิกNext > • คลิก ปุ่ม Finish เป็นการสิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้ง • ทดสอบใช้งานโปรแกรมภาษาไพธอน เข้าไปที่ Start >> Program >> Python3.3 >> IDLE (Python GUI) จะได้หน้าจอ
  • 19.
  • 20. การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์-ลินุกซ์ โดยปกติไพธอนจะติดตั้งมากับลินุกซ์อยู่แล้ว ทดสอบโดยการเปิดเทอร์มินอล และพิมพ์คาสั่ง python@root:~$ python จะแสดงเวอร์ชันของไพธอนออกมา ถ้าไม่ปรากฏแสดงว่ายังไม่ได้ติดตั้ง เอาไว้วิธีการติดตั้งทาได้ 2 วิธีคือ ติดตั้งแบบ package และแบบ Manual การติดตั้งแบบ package บนลินุกซ์Centos/Fedora พิมพ์คาสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินอล รอสักครู่ โปรแกรมจะติดตั้ง package ต่างๆ ให้อัตโนมัติ เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นโพธอนจะสามารถ เรียกใช้งานได้ทันทีโดยใช้คาสั่ง python@root:~$ python Note: การติดตั้งแบบ Package ต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเสมอ python@root:~$ yum install openssl-devel bzip2-devel expat-devel gdbm-develreadline-devel sqlite-devel
  • 21. การติดตั้งแบบ Package บนลินุกซ์Ubuntu/ LinuxMint/Debian พิมพ์คาสั่งต่อไปนี้ในเทอร์มินอล รอสักครู่ โปรแกรมจะติดตั้ง package ต่างๆ ให้อัตโนมัติ python@root:~$ sudo apt-get install build-essential libncursesw5- dev libreadline5- dev libssl-dev libgdbm-dev libc6-dev libsqlite3-dev tk-dev
  • 22. การติดตั้งแบบ Manual บนลินุกซ์-ยนูิกส์ การติดตั้งแบบ Manual เป็นการติดตั้งด้วยการนาเอาไฟล์ต้นฉบับ (Source program) มาคอมไพล์กับ ระบบปฏิบัติการบนสถาปัตยกรรมของเครื่องปัจจุบันที่กาลังทางานอยู่ ดังนั้นจาเป็นต้องมีคอมไพล์เลอร์ของภาษา C/C++ ติดตั้งบนเครื่องเสียก่อน เพราะว่าไพธอนถูกเขียนด้วยภาษา C นั่นเองโดยปกติลินุกซ์ก็จะติดตั้ง คอมไพเลอร์ภาษา C มาอยู่แล้ว ทดสอบโดยใช้คาสั่งดังนี้ในเทอร์มินอลpython@root:~$ gcc หรือ g++ ขั้นตอนการติดตั้งไพธอนแบบ Manual 1.ดาวน์โหลดแฟ้มต้นฉบับของไพธอนเวอร์ชันล่าสุดที่ http://www.python.org/download/releases เลือกเวอร์ชันที่ต้องการดาวน์โหลด จากนั้นใช้คาสั่ง (เวอร์ชันล่าสุดในที่นี้คือ Python-3.3.3.tar.bz2)python@root:~$ wget http://www.python.org/ftp/python/3.3.3/Python-3.3.3.tar.bz2
  • 23. 2.แตกไฟล์ที่บีบอัดไว้ในไดเรคทรอรี่ปัจจุบัน (ทดสอบว่าอยู่ในไดเรคทรอรี่ใดๆ ด้วยคาสั่ง pwd)python@root:~$ tar -xjf Python-3.3.3.tar.bz2เมื่อแตกไฟล์บีบอัดแล้วจะมีโฟลเดอร์ ชื่อว่า Python-3.3.3 ปรากฏให้ท าการเปลี่ยนที่อยู่ไปในโฟล์เดอร์ดังกล่าว ด้วยค าสั่ง cd 3.คอนฟิกเส้นทางการติดตั้ง และคอมไพล์แฟ้มต้นฉบับด้วยคา สั่งpython@root:~$ ./configure --prefix=/opt/python3 python@root:~$ make python@root:~$ sudo make install ถึงขั้นตอนนี้อาจจะต้องใช้เวลานานพอสมควรขึ้นอยู่กับความเร็วของคอมพิวเตอร์เมื่อติดตั้งเสร็จโดยไม่มี ข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้น ไพธอนจะถูกติดตั้งอยู่ที่โฟลเดอร์ /opt/python3 ทดสอบเรียกใช้งานโดยใช้คาสั่ง ดังนี้python@root:~$ /opt/python3/bin/python3 –Vถ้าปรากฏข้อความแสดงเวอร์ชันของ ไพธอน แสดงว่าการติดตั้งสาเร็จแล้ว
  • 24.
  • 25. การติดตั้งและใช้งานไพธอนบนระบบปฏิบัติการแมคอินทอช • ดาวน์โหลด MacPython-OSX disk image จาก http://homepages.cwi.nl/~jack/macpython/download.html • คลิ๊กเพื่อดาวน์โหลดไฟล์ชื่อ MacPython-OSX-2.3-2.dmg เก็บไว้บน desktop • ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ดังกล่าวเพื่อทาการเมาส์อิมเมจ • ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ชื่อ MacPython-OSX.pkg • การติดตั้งต้องใช้สิทธิ์ของ admin โดยจะมี prompt ขึ้นมาเพื่อให้ป้อนชื่อและรหัสผ่าน • หลังจากติดตั้งแล้วให้เปิดโฟลเดอร์ /Application/MacPython-2.3 • ดับเบิลคลิ๊กที่ไฟล์ชื่อ PythonIDE จะปรากฏ prompt ของไพธอนเป็น >>> แสดงว่าพร้อมรับคาสั่งเรียบร้อย แล้ว
  • 26.
  • 27. การใช้งานไพธอน Python shell (IDLE: Python GUI) และ Command line บนวินโดวส์ ในหัวข้อนี้จะแนะนาถึงวิธีการเขียนโปรแกรมไพธอนบนเชลล์ (เป็นเครื่องมือที่ใช้ส าหรับเขียนโปรแกรม ต้นฉบับ และรันโปรแกรม) ที่ติดตั้งมาพร้อมกับโปรแกรมภาษาไพธอนที่ได้ติดตั้งไปแล้วในหัวข้อก่อนหน้า (ในที่นี้ เน้นการใช้งานเชลล์บนวินโดวส์เท่านั้น) โดยไพธอนได้เตรียมเชลล์ให้ผู้ที่ต้องการเขียนไพธอนไว้ 2 วิธี และอีกวิธีคือ ผู้ใช้สั่งรันโปรแกรมด้วยตัวเองผ่านทาง Command line วิธีการใช้งาน Python shell (IDLE: Python GUI) Python shell จะเป็นโปรแกรมที่ไพธอนเตรียมไว้ให้สาหรับเขียนโปรแกรม และรันโปรแกรม มี ลักษณะการทางานคล้าย Editor ของโปรแกรม Matlab คือ ผู้ใช้ป้อนคาสั่งทีละคาสั่ง เมื่อกดปุ่ม Enter โปรแกรมจะประมวลผลทันที (ทางานในลักษณะบรรทัดต่อบรรทัด) โดยมีสัญลักษณ์ของ prompt คือการ เรียกใช้งานโปรแกรม Python shell สาหรับวินโดวส์ 98, XP, 7 โดยเลือกที่ Start Programs Python 3.3 IDLE (Python GUI)
  • 28.