SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
ทฤษฎีการเลือกอาชีพ
ของฮอลแลนด์
ที่มาของทฤษฎีการเลือก
อาชีพของฮอลแลนด์
• “ทฤษฎีการเลือกอาชีพ” ของฮอลแลนด์ เป็นผลจากการสังเกตของเขาและ
ของคนอื่นๆ เกี่ยวกับความสนใจในลักษณะและพฤติกรรมของบุลคล และ
มีส่วนสัมพันธ์กับทฤษฎีของกิลฟอร์ด (Guifourd) ซึ่งได้วิเคราะห์
บุคลิกภาพและความสนใจของบุลคลออกเป็น 6 ประเภท คือ ด้านจักรกล
ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านบริการสังคม ด้านสารบรรณ ด้านธุรกิจ และด้าน
ศิลปะ นอกจากนี้ ทฤษฎีของฮอลแลนด์ยังมีส่วนคล้ายคลึงกับทฤษฎีของ
แอดเลอร์ (Spranger) โดยเฉพาะการประเมิณสิ่งแวดล้อมเพื่อช่วย
จาแนกลักษณะของบุคคลมีแนวความคิดมาจากลินดัน (Linton) ซึ่ง
กล่าวว่า “แรงผลักดันจากสิ่งแวดล้อมจะถูกถ่ายทอดไปยังบุคคล”
อนึ่ง ทฤษฎีเกี่ยวกับความต้องการ และแรงกดดันของเมอร์เรย์ ก็เป็น
แรงกระตุ้นอีกอย่างหนึ่งที่ทาให้ฮอลแลนด์คิดทฤษฎีของเขาขึ้น
กล่าวโดยสรุป “ทฤษฎีการเลือกอาชีพ” ของฮอลแลนด์มีแนวคิด
พื้นฐาน ดังนี้
1. การเลือกอาชีพเป็นการแสดงออกซึ่งบุคลิกภาพ
2. แบบสารวจความสนใจ
• ฮอลแลนด์ได้กล่าวถึง “การเลือกอาชีพ”ไว้ว่า “การเลือกอาชีพ คือ การ
กระทาที่สะท้อนให้เห็นถึงแรงจูงใจ ความรู้บุคลิกภาพ และความสามารถ
ของบุคคล อาชีพเป็นวิถีชีวิต ส่วนสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นงานและ
ทักษะ”
ความคิดพื้นฐาน 4
ประการ
• 1. บุคลิกภาพของบุคคลทั่วไปแบ่งได้เป็น 6 ลักษณะตามความสนใจ
อาชีพประเภทต่างๆต่อไปนี้ คือ แบบจริงจัง ไม่คิดฝัน นิยมความจริงและ
สิ่งที่เป็นรูปธรรม แบบที่ต้องใช้เชาวว์ปัญญาและความคิดนักวิชาการ หรือ
ผุ้ใช้กิจกรรมทางปัญญาในการแก้ไขปัญหา และแสวงหาความรู้ แบบมี
ศิลปะ แบบที่ชอบสมาคม สังคมกับบุคคลอื่น มีความสนใจสังคม แบบกล้า
คิดกล้าทา มีธรรมชาติที่ชอบทากิจกรรม เกี่ยวกับการวางแผน หรือ
ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ และแบบที่ชอบตามระเบียบแบบแผน
บุคลิกภาพแต่ละลักษณะ เป็นผลจากการปะทะสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม
ต่างๆ กับแรงผลักดันส่วนบุคคลซึ่งประกอบด้วยศักดิ์ตระกูล บิดามารดา
ระดับชั้นทางสังคม และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ประสบการณ์เหล่านี้จะ
ก่อให้เกิดความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบ และความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบนี้จะ
กลายเป็นความสนใจ และจากความสนใจจะนาไปสู่ความสามารถเฉพาะ
ท้ายที่สุดความสนใจและความสามารถเฉพาะจะกาหนดให้บุคลิก คิด รับรู้
และแสดงเอกลักษณ์ของตน
• 2. สิ่งแวดล้อมของบุคคลแบ่งได้ 6 อย่างตามความสนใจอาชีพประเภท
ต่างๆข้างต้น เช่นเดียวกันสิ่งแวดล้อมแต่ละอย่างนี้ถูกครอบงาโดย
บุคลิกภาพ และเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงปัญหาและความกดดันบาง
ประการ และโดยเหตุที่บุคลิกภาพต่างกัน ทาให้ความสนใจและความภนัด
ต่างกันด้วย บุคคลจึงมีแนวโน้มจะหันเข้าหาบุคคลหรือสิ่งต่างๆที่
สอดคล้องกับบุคลิกภาพของตน ดังนั้น บุคคลในกลุ่มเดียวกันจึงมักมีอะไร
คล้ายๆกัน
• 3. บุคคลจะค้นหาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออานวยให้เขาได้ฝึกทักษะและใช้
ความสามารถของเขาทั้งยังเปิดโอกาสให้เขาได้แสดงทัศนคติ ค่านิยม และ
บทบาทของเขา
• 4. พฤติกรรมของบุคคลถูกกาหนดโดยบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อม ด้วย
เหตุนี้ เมื่อเราทราบบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อมบุคคลก็จะทาให้เราทราบถึง
ผลที่จะตามมาด้วย ซึ่งได้แก่การเลือกอาชีพ การเปลี่ยนงาน ความสาเร็จ
ในอาชีพ ความสามารถเฉพาะ พฤติกรรมทางการศึกษาและสังคม
แนวคิดปลีกย่อยเพิ่มเติม
อีก 4 ประการ
• 1. ความสอดคล้องต้องการ (Consistency)
• 2. ความแตกต่างกัน (Differentiation)
• 3. ความเหมาะสมกัน (Congruence)
• 4. การคาดคะเน (Calculus)
การกาหนดลักษณะ
บุคลิกภาพ
มีเป้ าหมายดังนี้
1. ชี้แนะประสบการณ์ที่จะนาไปสุ่ลักษณะเฉพาะของ
บุคคล
2. อธิบายให้ทราบว่าประสบการณ์นาไปสู่
ลักษณะเฉพาะได้อย่างไร
3. แยกแยะความเหมาะสมระหว่างบุคลิกภาพแต่ละ
ลักษณะกับเหตุการณ์ทั้งเก่าและใหม่
– กลุ่มที่ 1 บุคลิกภาพแบบจริงจังไม่คิดฝัน นิยมความจริงและสิ่งที่เป็นรูปธรรม
(Realistic)
– กลุ่มที่ 2 บุคลิกภาพแบบที่ต้องใช้เชาวว์ปัญญาและความคิดนักวิชาการ
(Investigative)
– กลุ่มที่ 3 บุคลิกภาพแบบมีศิลปะ (Artistic)
– กลุ่มที่ 4 บุคลิกภาพแบบที่ชอบสมาคม (Social)
– กลุ่มที่ 5 บุคลิกภาพแบบกล้าคิดกล้าทา (Enterprising)
– กลุ่มที่ 6 บุคลิกภาพที่ทาตามระเบียบแบบแผน (Conventional)
ความสาคัญของการเลือก
อาชีพ
• อาชีพ ( Occupation) หมายถึงการทามาหากินจากการทางานหรือ
กิจกรรมใดๆ ที่ก่อให้เกิดผลผลิตและรายได้ เป็นงานที่สุจริต ไม่ผิด
ศีลธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม
• ความสาคัญของอาชีพ การมีอาชีพเป็นสิ่งสาคัญ เพราะอาชีพเป็ นการสร้าง
รายได้เพื่อเลี้ยงชีพตัวเองและครอบครัว อาชีพก่อให้เกิดผลผลิตและ
บริการ ซึ่งสนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคและที่สาคัญคือ อาชีพ
มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ
• เนื่องจากอาชีพมีความสาคัยต่อมนุษย์มากการเลือกประกอบอาชีพจึงมี
ความสาคัญมากในสังคมของเรามีอาชีพมากมายหลายชนิด เช่น อาชีพ
นักแสดง นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร์ เป็นต้น แต่ละอาชีพแตกต่างกันมาก
บางอย่างเหมาะกับบุคลิกภาพของคนหนึ่ง แต่ไม่สอดคล้องกับบุคลิกภาพ
ของอีกคนหนึ่ง คนที่เลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตน ย่อมก่อให้เกิด
ความเพลิดเพลิน และความสุขตลอดการทางาน หากเลือกอาชีพที่ไม่
เหมาะต่อบุคลิกภาพ นอกจากจะมีโอกาสประสบความสาเร็จน้อยแล้ว ยัง
เป็นการทรมานชีวิตอย่างหนึ่งด้วย
แนวทางการเลือกศึกษาต่อ
• การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษา ให้เหมาะสมกับตัวเอง โดยเน้น
เรื่องของบุคลิกภาพ มีนักวิชาการบางท่านให้ความหมายของคาว่า
“บุคลิกภาพ” คือลักษณะส่วนรวมของบุคคลนั้น ซึ่งได้รวมอยู่กันอย่างผสม
กลมกลืนในตัวบุคคลนั้น รวมถึงสิ่งที่เขาชอบและไม่ชอบ สิ่งที่เขาสนใจ
และไม่สนใจ เป้ าหมายต่างๆในชีวิตของเขา สิ่งจูงใจต่างๆ ความสามารถ
ต่างๆของเขา
• ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละบุคคลนั้น หากรู้จักเข้าใจตนเองจน
สามารถมองตนได้ตามสภาพความเป็นจริง ย่อมช่วยให้บุคคลตัดสินใจ
เลือกแนวทางชีวิตได้อย่างสอดคล้องกับตัวเองมากที่สุด
ปัญหาก่อนตัดสินใจเลือก
อาชีพของนักเรียน
• 1. การขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบอาชีพต่างๆ ขาดทักษะ
และรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับโลกอาชีพ
• 2. นักเรียนต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับการให้คาปรึกษา แนะนา
แนะแนวอาชีพ
• 3. นักเรียนจะต้องรู้ขีดความสามารถ สติปัญญา ความถนัด ความสนใจ
และความพร้อมในการเลือกประกอบอาชีพ
• 4. นักเรียนจะต้องมีความรู้ด้านปัญหาทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลตั้งแต่การ
เลือกเรียนต่อ และศึกษาเพิ่มเติมในสาขาวิชาที่ใช้เงินทุนน้อย และเมื่อ
สาเร็จการศึกษาแล้ว เป็นที่ต้องการของตลาดเงินหรือไม่
แนวทางการเลือกประกอบ
อาชีพ
• 1. อาชีพในระบบ หมายถึง อาชีพที่อยู่ภายใต้องค์กรที่มีระบบโครงสร้าง
การบริหารงาน ภายในองค์กรที่ชัดเจน มีระบบการจ้างงาน การคัดเลือก
บุคลากรเข้าทางาน มีสัญญาหรือระบบเวลาการจ้างงานที่แน่นอน การ
บริหารจัดการเป็นระบบ มีการกาหนดตาแหน่ง และขอบเขตหน้าที่ความ
รับผิดชอบของงานแต่ละประเภทไว้อย่างชัดเจน เช่น งานราชการ หรือ
หน่วยงานของรัฐ เป็นต้น
• 2.อาชีพนอกระบบ หมายถึง อาชีพที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจแต่มีระบบการ
บริหารงานที่ไม่เป็นทางการ ไม่มีโครงสร้างการบริหารงาน ภายในองค์กรที่
ชัดเจน ไม่มีสวัสดิการหรือหลักประกันทางสังคม รวมถึงไม่สามารถเข้าถึง
บริการหรือสวัสดิการต่างๆของรัฐ แรงงานดังกล่าวมีอยู่ 3 ประเภท เช่น
แรงงานรับงานไปทาที่บ้าน แรงงานที่ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย และ
แรงงานที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม
จะทราบได้อย่างไรว่าอาชีพ
ไหนเหมาะกับเรา
• คนเรามีความถนัด ความสามารถ และความสนใจในงานอาชีพแตกต่างกัน
บางคนเหมาะสมบางคนเหมาะที่จะทางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือ
เกี่ยวข้องกับด้านวิทยาศาสตร์ บางคนเหมาะสมเกี่ยวกับการสอนดนตรี
การช่วยเหลือประชาชน เป็นต้น แต่บางคนมีพรสวรรค์ไม่เหมือนกัน ไม่
สามารถทางานชนิดเดียวกันได้หมดทุกคน ข้อสาคัญคือ ท่านต้องรู้จัก
ตนเอง และรู้จักงานอาชีพต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งพิจารณาดูว่างาน
อะไรบ้างที่ชอบและสนใจมากที่สุด และงานนั้นๆเหมาะกับอุปนิสัยของ
ท่านหรือไม่
แนวทางการตัดสินใจด้าน
อาชีพแบบจาลอง
(Career decision
making)
องค์ประกอบในการ
ตัดสินใจเลือกอาชีพ
1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ข้อมูลด้านอาชีพซึ่งเป็นข้อมูลที่
กว้างขวางมาก ซึ่งขอบข่ายของข้อมูลด้านอาชีพพอสรุปได้
• 1.1 แนวโน้มของตลาดแรงงาน เป็นข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ
ของผุ้ทางานในด้านต่างๆในปัจจุบัน และการพยากรณ์ที่จะมี
ความต้องการเพิ่มขึ้น หรือลดลงในอนาคต
• 1.2 ลักษณะงาน งานที่จะต้องทาเป็นประจามีลักษณะอย่างไร ผู้
ทางานจะต้องทาอย่างไรบ้าง เป็นงานที่ทาให้เกิดความ
เพลิดเพลินหรือก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย งานใหญ่ หรืองานเล็ก
มีความรับผิดชอบที่สาคัญหรือไม่ ต้องเกี่ยวข้องกับตัวเลข สิ่งของ
หรือคนต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์มากหรือไม่ต้องนั่งทางาน หรือ
ต้องเดินทาง หรือไม่
• 1.3 สภาพแวดล้อมของงาน ได้แก่ สภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศของงาน เช่น ร้อน เย็น ชื้นแห้ง เปียก ฝุ่นละออง
สกปรก เสียงดัง ในอาคาร กลางแจ้ง ในโรงงาน เป็นต้น
• 1.4 คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ ได้มีการกาหนดช่วงอายุใน
การทางานและเกษียณไว้อย่างไร
• 1.5 การเข้าประกอบอาชีพ การเข้าประกอบอาชีพนั้น การเข้า
ประกอบอาชีพต้องมีวิธีการอย่างไร โดยการสมัครงานกับ
นายจ้างด้วยตนเอง ต้องมีการสอบสัมภาษณ์หรือสอบข้อเขียน
ด้วยหรือไม่ ถ้าเป็นการประกอบอาชีพอิสระต้องใช้ทุนทรัพย์ใน
การดาเนินการมากน้อยเพียงใด
• 1.6 รายได้ ในการประกอบอาชีพนั้น จะมีรายได้เป็นวัน สัปดาห์
เดือน ปี โดยเฉลี่ยแล้วเป็นเงินเท่าไหร่
• 1.7 ความก้าวหน้า อาชีพนั้นๆ จะมีความก้าวหน้าเพียงใด
จะต้องมีการศึกษาอบรมเพิ่มเติม มีความสามารถหรือ
ประสบการณ์อย่างไรจึงจะได้เลื่อนชั้นมากน้อยเพียงใด การ
ประกอบอาชีพเดิมนาไปสู่อาชีพใหม่หรือไม่
• 1.8 การกระจายของผู้ประกอบอาชีพ มีผู้ประกอบอาชีพมาก
น้องเพียงใด และกระจายอยู่ทั่วประเทศหรือมีอยู่บางจังหวัด
ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น ผู้ประกอบอาชีพจะประกอบอาชีพอยู่ที่ใดก้
ได้ หรือจะต้องอยู่ที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ
• ข้อดีข้อเสีย อาชีพแต่ละอาชีพย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งขึ้นอยู่
กับความพอใจของผู้ประกอบอาชีพ งานบางอย่างอาจมีการ
ทางานที่ล่วงเวลา ทางานในวันเสาร์ อาทิตย์ และการเดินทางไป
ปฏิบัติงานในท้องที่อื่น งานบางอาชีพมีความมั่นคงกว่าอาชีพอื่น
ฯ
2. ปัจจัยภายนอก
การประกอบอาชีพตาม
บุคลิกภาพ
• บุคลิกภาพ คือ ลักษณะโดยรวมของพฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรม
ภายในของแต่ละบุคคล ซึ่งรวมถึงความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
และความรู้สึกนึกคิดที่เป็นของบุคคลนั้น อันส่งผลให้บุคคลมีพฤติกรรม
และลักษณะนิสัยเฉพาะของแต่ละคนซึ่งแตกต่างกันไปรวมถึงปัจจุบัน
สิ่งแวดล้อมอื่นๆอีกมากมาย
บุคลิกภาพเกี่ยวข้องกับ
อะไรบ้าง
• 1. ทางกายภาพ หมายถึง รูปร่างหน้าตาดี ย่อมส่งผลให้ผู้
สัมภาษณ์สนใจได้บ้างและตนเองก็มีความภูมิใจ มั่นใจยิ่ง และถ้า
มีสุขภาพแข็งแรงว่องไวในการทางาน ก็จะเพิ่มความประทับใจ
ยิ่งขึ้น
• 2. ทางสมอง สมองดีไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ก็จะทาให้เขามีความ
ทรงจาดี เชาว์ปัญญาดีแต่ต้องเป็นผลจากการศึกษาอบรมพื้นฐาน
ด้วย
• 3. ความสามารถ อาศัยประสบการณ์และความถนัดจากความ
ฝึกฝน
• 4. ความประพฤติ เป็นผู้อยู่ในศีลธรรม อุภาพอ่อนโยน มีมนุษย์
สัมพันธ์
• 5. ชอบเข้าสังคม มีทัศนคติที่ดีต่อผู้อื่น การแสดงออกต่อเพื่อน
ฝูง ไม่เห็นแก่ตัว มีน้าใจต่อผู้อื่น ไม่อวดตัว
• 6. อารมณ์ดี ใจเย็น ไม่ฉุนเฉียว
• 7. กาลังใจ เป็นคนที่จิตใจเข้มแข็ง ไม่ท้อถอย ไม่เสียขวัญง่าย
บุคลิกภาพสาคัญอย่างไร
• เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพ โดยบุคคลจะเลือกอาชีพที่
เหมาะสมกับบุคลิกภาพของตน บุคลิกภาพเฉพาะอย่างมีความสัมพันธ์กับ
อาชีพเฉพาะอย่าง ตามทฤษฎีการเลือกอาชีพของ “จอห์น แอล
ฮอลแลนด์” เมื่อเราเลือกอาชีพได้ตรงกับคลิกภาพของเราแล้ว จะทาให้เรา
ทางานได้อย่างมีความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ในงานนั้นๆ เนื่องจากเป็น
งานที่เราถนัดและชอบ โอกาสในความก้าวหน้าก็ยิ่งมีมากกว่าการทางาน
ในอาชีพที่เราไม่ถนัดหรือรู้สึกชอบ
สรุปข้อแนะนาก่อน
ตัดสินใจเลือกอาชีพ
• 1.ผู้ตัดสินใจเลือกอาชีพควรรู้จักตนเองให้ดีเสียก่อน
• 2. ควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ

More Related Content

Viewers also liked

ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร
ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร
ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร WallStreet English
 
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพ
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพStartup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพ
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพStartup Bangkok
 
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพ
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพเกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพ
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพSupakrit Wangkahard
 
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ดKriengsak Niratpattanasai
 
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์pranee deesakul
 
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าKriengsak Niratpattanasai
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผลผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผลKriengsak Niratpattanasai
 
10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนายKriengsak Niratpattanasai
 

Viewers also liked (19)

ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร
ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร
ภาษาอังกฤษช่วยสานฝันลูกของคุณได้อย่างไร
 
Art of innovation
Art of innovationArt of innovation
Art of innovation
 
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพ
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพStartup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพ
Startup Capital Raising Explained - การระดมทุนในสตาร์ทอัพ
 
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพ
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพเกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพ
เกษตรผสมผสาน มีรายได้ สร้างอาชีพ
 
Executive Coaching in Thailand
Executive Coaching in ThailandExecutive Coaching in Thailand
Executive Coaching in Thailand
 
Presentation4
Presentation4Presentation4
Presentation4
 
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด
10 เทคนิคในการนำเสนอบอร์ด
 
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบSlide homeroom 2 คนต้นแบบ
Slide homeroom 2 คนต้นแบบ
 
10 career tips
10 career tips10 career tips
10 career tips
 
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์
โอกาสทางธุรกิจ แอมเวย์
 
Better Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better LeadershipBetter Self-areness, Better Leadership
Better Self-areness, Better Leadership
 
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้าการโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
การโค้ชผู้บริหาร - นิด้า
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
Andrew Carnegie
Andrew CarnegieAndrew Carnegie
Andrew Carnegie
 
Nida coaching 2014
Nida coaching 2014Nida coaching 2014
Nida coaching 2014
 
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผลผู้บริหารทรงประสิทธิผล
ผู้บริหารทรงประสิทธิผล
 
10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย10 เทคนิคบริหารนาย
10 เทคนิคบริหารนาย
 
Homeroom 4 values
Homeroom 4 valuesHomeroom 4 values
Homeroom 4 values
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 

Similar to ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์

สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri nokpackkreem
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)maymymay
 

Similar to ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์ (20)

สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
จิตวิทยาการเรียนรู้(2)
 

ทฤษฎีการเลือกอาชีพของฮอลแลนด์

  • 3. • “ทฤษฎีการเลือกอาชีพ” ของฮอลแลนด์ เป็นผลจากการสังเกตของเขาและ ของคนอื่นๆ เกี่ยวกับความสนใจในลักษณะและพฤติกรรมของบุลคล และ มีส่วนสัมพันธ์กับทฤษฎีของกิลฟอร์ด (Guifourd) ซึ่งได้วิเคราะห์ บุคลิกภาพและความสนใจของบุลคลออกเป็น 6 ประเภท คือ ด้านจักรกล ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านบริการสังคม ด้านสารบรรณ ด้านธุรกิจ และด้าน ศิลปะ นอกจากนี้ ทฤษฎีของฮอลแลนด์ยังมีส่วนคล้ายคลึงกับทฤษฎีของ แอดเลอร์ (Spranger) โดยเฉพาะการประเมิณสิ่งแวดล้อมเพื่อช่วย จาแนกลักษณะของบุคคลมีแนวความคิดมาจากลินดัน (Linton) ซึ่ง กล่าวว่า “แรงผลักดันจากสิ่งแวดล้อมจะถูกถ่ายทอดไปยังบุคคล”
  • 4. อนึ่ง ทฤษฎีเกี่ยวกับความต้องการ และแรงกดดันของเมอร์เรย์ ก็เป็น แรงกระตุ้นอีกอย่างหนึ่งที่ทาให้ฮอลแลนด์คิดทฤษฎีของเขาขึ้น กล่าวโดยสรุป “ทฤษฎีการเลือกอาชีพ” ของฮอลแลนด์มีแนวคิด พื้นฐาน ดังนี้ 1. การเลือกอาชีพเป็นการแสดงออกซึ่งบุคลิกภาพ 2. แบบสารวจความสนใจ
  • 5. • ฮอลแลนด์ได้กล่าวถึง “การเลือกอาชีพ”ไว้ว่า “การเลือกอาชีพ คือ การ กระทาที่สะท้อนให้เห็นถึงแรงจูงใจ ความรู้บุคลิกภาพ และความสามารถ ของบุคคล อาชีพเป็นวิถีชีวิต ส่วนสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นงานและ ทักษะ”
  • 7. • 1. บุคลิกภาพของบุคคลทั่วไปแบ่งได้เป็น 6 ลักษณะตามความสนใจ อาชีพประเภทต่างๆต่อไปนี้ คือ แบบจริงจัง ไม่คิดฝัน นิยมความจริงและ สิ่งที่เป็นรูปธรรม แบบที่ต้องใช้เชาวว์ปัญญาและความคิดนักวิชาการ หรือ ผุ้ใช้กิจกรรมทางปัญญาในการแก้ไขปัญหา และแสวงหาความรู้ แบบมี ศิลปะ แบบที่ชอบสมาคม สังคมกับบุคคลอื่น มีความสนใจสังคม แบบกล้า คิดกล้าทา มีธรรมชาติที่ชอบทากิจกรรม เกี่ยวกับการวางแผน หรือ ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ และแบบที่ชอบตามระเบียบแบบแผน บุคลิกภาพแต่ละลักษณะ เป็นผลจากการปะทะสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม ต่างๆ กับแรงผลักดันส่วนบุคคลซึ่งประกอบด้วยศักดิ์ตระกูล บิดามารดา ระดับชั้นทางสังคม และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ประสบการณ์เหล่านี้จะ ก่อให้เกิดความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบ และความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบนี้จะ กลายเป็นความสนใจ และจากความสนใจจะนาไปสู่ความสามารถเฉพาะ ท้ายที่สุดความสนใจและความสามารถเฉพาะจะกาหนดให้บุคลิก คิด รับรู้ และแสดงเอกลักษณ์ของตน
  • 8. • 2. สิ่งแวดล้อมของบุคคลแบ่งได้ 6 อย่างตามความสนใจอาชีพประเภท ต่างๆข้างต้น เช่นเดียวกันสิ่งแวดล้อมแต่ละอย่างนี้ถูกครอบงาโดย บุคลิกภาพ และเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงปัญหาและความกดดันบาง ประการ และโดยเหตุที่บุคลิกภาพต่างกัน ทาให้ความสนใจและความภนัด ต่างกันด้วย บุคคลจึงมีแนวโน้มจะหันเข้าหาบุคคลหรือสิ่งต่างๆที่ สอดคล้องกับบุคลิกภาพของตน ดังนั้น บุคคลในกลุ่มเดียวกันจึงมักมีอะไร คล้ายๆกัน
  • 10. • 4. พฤติกรรมของบุคคลถูกกาหนดโดยบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อม ด้วย เหตุนี้ เมื่อเราทราบบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อมบุคคลก็จะทาให้เราทราบถึง ผลที่จะตามมาด้วย ซึ่งได้แก่การเลือกอาชีพ การเปลี่ยนงาน ความสาเร็จ ในอาชีพ ความสามารถเฉพาะ พฤติกรรมทางการศึกษาและสังคม
  • 12. • 1. ความสอดคล้องต้องการ (Consistency) • 2. ความแตกต่างกัน (Differentiation) • 3. ความเหมาะสมกัน (Congruence) • 4. การคาดคะเน (Calculus)
  • 14. มีเป้ าหมายดังนี้ 1. ชี้แนะประสบการณ์ที่จะนาไปสุ่ลักษณะเฉพาะของ บุคคล 2. อธิบายให้ทราบว่าประสบการณ์นาไปสู่ ลักษณะเฉพาะได้อย่างไร 3. แยกแยะความเหมาะสมระหว่างบุคลิกภาพแต่ละ ลักษณะกับเหตุการณ์ทั้งเก่าและใหม่ – กลุ่มที่ 1 บุคลิกภาพแบบจริงจังไม่คิดฝัน นิยมความจริงและสิ่งที่เป็นรูปธรรม (Realistic) – กลุ่มที่ 2 บุคลิกภาพแบบที่ต้องใช้เชาวว์ปัญญาและความคิดนักวิชาการ (Investigative) – กลุ่มที่ 3 บุคลิกภาพแบบมีศิลปะ (Artistic) – กลุ่มที่ 4 บุคลิกภาพแบบที่ชอบสมาคม (Social) – กลุ่มที่ 5 บุคลิกภาพแบบกล้าคิดกล้าทา (Enterprising) – กลุ่มที่ 6 บุคลิกภาพที่ทาตามระเบียบแบบแผน (Conventional)
  • 16. • อาชีพ ( Occupation) หมายถึงการทามาหากินจากการทางานหรือ กิจกรรมใดๆ ที่ก่อให้เกิดผลผลิตและรายได้ เป็นงานที่สุจริต ไม่ผิด ศีลธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม • ความสาคัญของอาชีพ การมีอาชีพเป็นสิ่งสาคัญ เพราะอาชีพเป็ นการสร้าง รายได้เพื่อเลี้ยงชีพตัวเองและครอบครัว อาชีพก่อให้เกิดผลผลิตและ บริการ ซึ่งสนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคและที่สาคัญคือ อาชีพ มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ
  • 17. • เนื่องจากอาชีพมีความสาคัยต่อมนุษย์มากการเลือกประกอบอาชีพจึงมี ความสาคัญมากในสังคมของเรามีอาชีพมากมายหลายชนิด เช่น อาชีพ นักแสดง นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร์ เป็นต้น แต่ละอาชีพแตกต่างกันมาก บางอย่างเหมาะกับบุคลิกภาพของคนหนึ่ง แต่ไม่สอดคล้องกับบุคลิกภาพ ของอีกคนหนึ่ง คนที่เลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับตน ย่อมก่อให้เกิด ความเพลิดเพลิน และความสุขตลอดการทางาน หากเลือกอาชีพที่ไม่ เหมาะต่อบุคลิกภาพ นอกจากจะมีโอกาสประสบความสาเร็จน้อยแล้ว ยัง เป็นการทรมานชีวิตอย่างหนึ่งด้วย
  • 19. • การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษา ให้เหมาะสมกับตัวเอง โดยเน้น เรื่องของบุคลิกภาพ มีนักวิชาการบางท่านให้ความหมายของคาว่า “บุคลิกภาพ” คือลักษณะส่วนรวมของบุคคลนั้น ซึ่งได้รวมอยู่กันอย่างผสม กลมกลืนในตัวบุคคลนั้น รวมถึงสิ่งที่เขาชอบและไม่ชอบ สิ่งที่เขาสนใจ และไม่สนใจ เป้ าหมายต่างๆในชีวิตของเขา สิ่งจูงใจต่างๆ ความสามารถ ต่างๆของเขา • ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละบุคคลนั้น หากรู้จักเข้าใจตนเองจน สามารถมองตนได้ตามสภาพความเป็นจริง ย่อมช่วยให้บุคคลตัดสินใจ เลือกแนวทางชีวิตได้อย่างสอดคล้องกับตัวเองมากที่สุด
  • 21. • 1. การขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบอาชีพต่างๆ ขาดทักษะ และรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับโลกอาชีพ • 2. นักเรียนต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับการให้คาปรึกษา แนะนา แนะแนวอาชีพ • 3. นักเรียนจะต้องรู้ขีดความสามารถ สติปัญญา ความถนัด ความสนใจ และความพร้อมในการเลือกประกอบอาชีพ • 4. นักเรียนจะต้องมีความรู้ด้านปัญหาทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลตั้งแต่การ เลือกเรียนต่อ และศึกษาเพิ่มเติมในสาขาวิชาที่ใช้เงินทุนน้อย และเมื่อ สาเร็จการศึกษาแล้ว เป็นที่ต้องการของตลาดเงินหรือไม่
  • 23. • 1. อาชีพในระบบ หมายถึง อาชีพที่อยู่ภายใต้องค์กรที่มีระบบโครงสร้าง การบริหารงาน ภายในองค์กรที่ชัดเจน มีระบบการจ้างงาน การคัดเลือก บุคลากรเข้าทางาน มีสัญญาหรือระบบเวลาการจ้างงานที่แน่นอน การ บริหารจัดการเป็นระบบ มีการกาหนดตาแหน่ง และขอบเขตหน้าที่ความ รับผิดชอบของงานแต่ละประเภทไว้อย่างชัดเจน เช่น งานราชการ หรือ หน่วยงานของรัฐ เป็นต้น
  • 24. • 2.อาชีพนอกระบบ หมายถึง อาชีพที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจแต่มีระบบการ บริหารงานที่ไม่เป็นทางการ ไม่มีโครงสร้างการบริหารงาน ภายในองค์กรที่ ชัดเจน ไม่มีสวัสดิการหรือหลักประกันทางสังคม รวมถึงไม่สามารถเข้าถึง บริการหรือสวัสดิการต่างๆของรัฐ แรงงานดังกล่าวมีอยู่ 3 ประเภท เช่น แรงงานรับงานไปทาที่บ้าน แรงงานที่ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย และ แรงงานที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม
  • 26. • คนเรามีความถนัด ความสามารถ และความสนใจในงานอาชีพแตกต่างกัน บางคนเหมาะสมบางคนเหมาะที่จะทางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล หรือ เกี่ยวข้องกับด้านวิทยาศาสตร์ บางคนเหมาะสมเกี่ยวกับการสอนดนตรี การช่วยเหลือประชาชน เป็นต้น แต่บางคนมีพรสวรรค์ไม่เหมือนกัน ไม่ สามารถทางานชนิดเดียวกันได้หมดทุกคน ข้อสาคัญคือ ท่านต้องรู้จัก ตนเอง และรู้จักงานอาชีพต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งพิจารณาดูว่างาน อะไรบ้างที่ชอบและสนใจมากที่สุด และงานนั้นๆเหมาะกับอุปนิสัยของ ท่านหรือไม่
  • 28.
  • 30. 1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ข้อมูลด้านอาชีพซึ่งเป็นข้อมูลที่ กว้างขวางมาก ซึ่งขอบข่ายของข้อมูลด้านอาชีพพอสรุปได้
  • 31. • 1.1 แนวโน้มของตลาดแรงงาน เป็นข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ ของผุ้ทางานในด้านต่างๆในปัจจุบัน และการพยากรณ์ที่จะมี ความต้องการเพิ่มขึ้น หรือลดลงในอนาคต
  • 32. • 1.2 ลักษณะงาน งานที่จะต้องทาเป็นประจามีลักษณะอย่างไร ผู้ ทางานจะต้องทาอย่างไรบ้าง เป็นงานที่ทาให้เกิดความ เพลิดเพลินหรือก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย งานใหญ่ หรืองานเล็ก มีความรับผิดชอบที่สาคัญหรือไม่ ต้องเกี่ยวข้องกับตัวเลข สิ่งของ หรือคนต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์มากหรือไม่ต้องนั่งทางาน หรือ ต้องเดินทาง หรือไม่
  • 33. • 1.3 สภาพแวดล้อมของงาน ได้แก่ สภาพแวดล้อมและ บรรยากาศของงาน เช่น ร้อน เย็น ชื้นแห้ง เปียก ฝุ่นละออง สกปรก เสียงดัง ในอาคาร กลางแจ้ง ในโรงงาน เป็นต้น
  • 34. • 1.4 คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ ได้มีการกาหนดช่วงอายุใน การทางานและเกษียณไว้อย่างไร
  • 35. • 1.5 การเข้าประกอบอาชีพ การเข้าประกอบอาชีพนั้น การเข้า ประกอบอาชีพต้องมีวิธีการอย่างไร โดยการสมัครงานกับ นายจ้างด้วยตนเอง ต้องมีการสอบสัมภาษณ์หรือสอบข้อเขียน ด้วยหรือไม่ ถ้าเป็นการประกอบอาชีพอิสระต้องใช้ทุนทรัพย์ใน การดาเนินการมากน้อยเพียงใด
  • 36. • 1.6 รายได้ ในการประกอบอาชีพนั้น จะมีรายได้เป็นวัน สัปดาห์ เดือน ปี โดยเฉลี่ยแล้วเป็นเงินเท่าไหร่
  • 37. • 1.7 ความก้าวหน้า อาชีพนั้นๆ จะมีความก้าวหน้าเพียงใด จะต้องมีการศึกษาอบรมเพิ่มเติม มีความสามารถหรือ ประสบการณ์อย่างไรจึงจะได้เลื่อนชั้นมากน้อยเพียงใด การ ประกอบอาชีพเดิมนาไปสู่อาชีพใหม่หรือไม่
  • 38. • 1.8 การกระจายของผู้ประกอบอาชีพ มีผู้ประกอบอาชีพมาก น้องเพียงใด และกระจายอยู่ทั่วประเทศหรือมีอยู่บางจังหวัด ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น ผู้ประกอบอาชีพจะประกอบอาชีพอยู่ที่ใดก้ ได้ หรือจะต้องอยู่ที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ
  • 39. • ข้อดีข้อเสีย อาชีพแต่ละอาชีพย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งขึ้นอยู่ กับความพอใจของผู้ประกอบอาชีพ งานบางอย่างอาจมีการ ทางานที่ล่วงเวลา ทางานในวันเสาร์ อาทิตย์ และการเดินทางไป ปฏิบัติงานในท้องที่อื่น งานบางอาชีพมีความมั่นคงกว่าอาชีพอื่น ฯ
  • 41.
  • 43. • บุคลิกภาพ คือ ลักษณะโดยรวมของพฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรม ภายในของแต่ละบุคคล ซึ่งรวมถึงความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และความรู้สึกนึกคิดที่เป็นของบุคคลนั้น อันส่งผลให้บุคคลมีพฤติกรรม และลักษณะนิสัยเฉพาะของแต่ละคนซึ่งแตกต่างกันไปรวมถึงปัจจุบัน สิ่งแวดล้อมอื่นๆอีกมากมาย
  • 45. • 1. ทางกายภาพ หมายถึง รูปร่างหน้าตาดี ย่อมส่งผลให้ผู้ สัมภาษณ์สนใจได้บ้างและตนเองก็มีความภูมิใจ มั่นใจยิ่ง และถ้า มีสุขภาพแข็งแรงว่องไวในการทางาน ก็จะเพิ่มความประทับใจ ยิ่งขึ้น
  • 46. • 2. ทางสมอง สมองดีไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ก็จะทาให้เขามีความ ทรงจาดี เชาว์ปัญญาดีแต่ต้องเป็นผลจากการศึกษาอบรมพื้นฐาน ด้วย
  • 47. • 3. ความสามารถ อาศัยประสบการณ์และความถนัดจากความ ฝึกฝน
  • 48. • 4. ความประพฤติ เป็นผู้อยู่ในศีลธรรม อุภาพอ่อนโยน มีมนุษย์ สัมพันธ์
  • 49. • 5. ชอบเข้าสังคม มีทัศนคติที่ดีต่อผู้อื่น การแสดงออกต่อเพื่อน ฝูง ไม่เห็นแก่ตัว มีน้าใจต่อผู้อื่น ไม่อวดตัว
  • 50. • 6. อารมณ์ดี ใจเย็น ไม่ฉุนเฉียว
  • 51. • 7. กาลังใจ เป็นคนที่จิตใจเข้มแข็ง ไม่ท้อถอย ไม่เสียขวัญง่าย
  • 53. • เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพ โดยบุคคลจะเลือกอาชีพที่ เหมาะสมกับบุคลิกภาพของตน บุคลิกภาพเฉพาะอย่างมีความสัมพันธ์กับ อาชีพเฉพาะอย่าง ตามทฤษฎีการเลือกอาชีพของ “จอห์น แอล ฮอลแลนด์” เมื่อเราเลือกอาชีพได้ตรงกับคลิกภาพของเราแล้ว จะทาให้เรา ทางานได้อย่างมีความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ในงานนั้นๆ เนื่องจากเป็น งานที่เราถนัดและชอบ โอกาสในความก้าวหน้าก็ยิ่งมีมากกว่าการทางาน ในอาชีพที่เราไม่ถนัดหรือรู้สึกชอบ