SlideShare a Scribd company logo
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ ,[object Object],[object Object]
นักเรียนลองพิจารณาปัจจัยทางกายภาพต่อไปนี้ว่ามีผลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอย่างไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object]
การปรับตัวด้านพฤติกรรม เช่น การอพยพของนกปากห่างจากสภาพอุณหภูมิต่ำ ในทางตอนเหนือของทวีปเอเชีย มาอยู่ทางตอนใต้ของทวีปเอเชียเป็นการชั่วคราว เพราะมีอุณหภูมิที่เหมาะสมกว่า
ผลของอุณหภูมิต่อการปรับตัวด้านโครงสร้าง เช่น การปรับตัวของหมีขั้วโลกหรือ สัตว์ ในเขตหนาว มีขนยาวปกคลุม มีชั้นไขมันใต้ผิวหนังหนา เป็นต้น
ผลของอุณหภูมิต่อการเติบโต การแพร่พันธ์และขยายพันธ์ เช่น การเจริญของจุลินทรีย์  ( พวกเห็ด รา )  พบว่าถ้ามีอุณหภูมิเหมาะสมจะเจริญเติบโตได้ดี หรือการฟักไข่ของแม่ไก่ ซึ่งต้องรักษาอุณหภูมิให้เหมาะสม เสมอ  เป็นต้น
ในท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ นักเรียนเห็นการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตประเภทใดบ้าง ? ,[object Object],[object Object],[object Object]
ให้นักเรียนยกตัวอย่างอุณหภูมิที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตในด้านอื่น ๆ นอกจากที่กล่าวมาแล้ว  1-2  ตัวอย่าง ? ,[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง  :  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับอุณหภูมิ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object]
ระบบนิเวศบนบก เรื่องแสงจะไม่มีผลกระทบกับผู้ผลิต เพราะแสงพอเพียง
ส่วนระบบนิเวศ ในแหล่งน้ำโดยเฉพาะในทะเล แสงมักมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะผู้ผลิต
ถ้าหากบนโลกนี้ปราศจากแสง นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับสิ่งมีชีวิตบนโลกนี้ ? ,[object Object]
แสงมีผลต่อการแพร่กระจายของพืชทะเลอย่างไร ? ,[object Object]
[object Object]
 
เพราะเหตุใดความชื้นจึงเป็นตัวกำหนดความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะ และชนิดของระบบนิเวศ ? ,[object Object]
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเลทรายมีการปรับตัว เพื่อป้องกันการขาดแคลนน้ำได้อย่างไร ? ,[object Object]
[object Object]
แก๊สออกซิเจนเป็นปัจจัยจำกัดต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำอย่างไร ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงและการหายใจ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สออกซิเจนมีบทบาทอย่างไร ? ,[object Object]
แก๊สไนโตรเจนมีความสำคัญในระบบนิเวศอย่างไร ? ,[object Object]
[object Object]
 
แร่ธาตุสำคัญที่พืชต้องการในการเจริญเติบโต ได้แก่อะไรบ้าง ? ,[object Object]
พืชได้รับธาตุอาหารทางใดบ้าง ? ,[object Object],[object Object],[object Object]
นอกจากปัจจัยดังกล่าวแล้ว ยังมีปัจจัยทางกายภาพใดอีกบ้างที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ? ,[object Object]
นักเรียนลองพิจารณาดูว่าความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในโลกจะแบ่งได้กี่ลักษณะ       
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสัมพันธ์ที่ได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย  สัญลักษณ์แทนด้วย  (+ ,+) ,[object Object],[object Object],[object Object]
ภาวะพึ่งพาอาศัย  ( Mutualism) ,[object Object]
ส่าหร่ายสีเขียว กับ รา
ไรโซเบียมกับปมรากถั่ว
ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน  ,[object Object]
ดอกไม้ กับ แมลง ,[object Object]
มองเห็นผึ้งวนเวียนเฝ้าเปลี่ยน เชยชมเกสรดอกไม้ ผึ้งได้ประโยชน์เพราะได้กินน้ำหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ก็ได้ประโยชน์เพราะผึ้ง ช่วยผสมเกสรให้ ความสัมพันธ์จึงเป็นแบบต่างฝ่ายต่างได้ ประโยชน์
ควาย กับ นกเอี้ยง
นกเอี้ยงเลี้ยงควายเฒ่า นกเอี้ยง กิน เซลล์ที่ตายแล้วตามผิวหนังของควาย และกินเหา เห็บ หมัด ที่เกาะตามผิวหนัง ส่วนควายก็ได้ทำความสะอาดผิวหนัง และได้กำจัดเหา เห็บ และ หมัดออกจากตัว ด้วย.....ถือเป็นการได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ภาวะอิงอาศัย  ( Commensalism) ,[object Object]
พลูด่างกับต้นไม้ใหญ่ พลูด่างได้อาศัยร่มเงาและความชื้น จากต้นไม้ โดยต้นไม้ไม่ได้ประโยชน์ และก็ไม่เสียประโยชน์แต่อย่างไร
กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ กล้วยไม้จะยืดเกาะอยู่บริเวณผิวของเปลือก ของต้นไม้ใหญได้รับความชื้นหรือแร่ธาตุ จาก เปลือกต้นไม้ โดยที่ต้นไม้ไม่ได้รับประโยชน์ แต่ก็ใม่เสียประโยชน์
ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามเป็นปลาชนิดหนึ่ง ครีบหลังจะเปลี่ยนเป็นอวัยวะ สำหรับเกาะ มันจะเกาะติดปลาฉลามไปในที่ต่าง ๆ มันจะกินเศษอาหารที่เหาฉลามกินเหลือ โดยที่ปลามไม่ได้ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
ภาวะการล่าเหยื่อ  ( Predation) ,[object Object]
ภาวะปรสิต  ( Parasitism) ,[object Object],[object Object]
กาฝากกับต้นมะม่วง กาฝากที่เกาะกับต้นมะม่วง รากของกาฝากจะชอนไชไปถึงท่อน้ำ ท่ออาหารของต้นมะม่วง แล้วแย่งน้ำ อาหารจากต้นมะม่วง
ต้นฝอยทองกับต้นไม้อื่น ต้นฝอยทองจะฝังรากลงไปในพืชแล้ว ดูดน้ำและอาหารจากพืชมาใช้
พยาธิต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่กับร่างกายคนและสัตว์
การแย่งธาตุอาหารและแสงสว่างของพืช เช่น ผักตบชวาในบึง บัวในสระ การแย่งเป็นจ่าฝูงในสัตว์บางชนิด เช่น สิงโต เสือ ปลาในบ่อเลี้ยงที่แย่งอาหารกัน เช่น ปลาสวาย ปลาดุก การแย่งกันครอบครองอาณาเขต เช่น ฝูงลิง เสือ สิงโต ฯลฯ -,- 6.  ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน (competition) กาฝากบนต้นไม้ พยาธิใบไม้ในตับสัตว์ เหาบนศีรษะคน เห็บหรือหมัดบนผิวลำตัวสุนัข พยาธิตัวตืดในกล้ามเนื้อหมู +,- 5.  ภาวะเป็นปรสิต (parasitism) เฟินบนต้นไม้ใหญ่ เหาฉลามกับปลาฉลาม นกทำรังบนต้นไม้ เพรียงหินบนกระดองเต่า +,0 3.  ภาวะเกื้อกูล (commensalism) ดอกไม้กับแมลง นกเอี้ยงกับควาย มดดำกับเพลี้ย ซีแอนีโมนีกับปูเสฉวน ฯลฯ +,+ 2.  การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation ต้นไทรกับต่อไทร โพรโทซัวในลำไส้ปลวกกับปลวก ไลเคน ไรโซเบียมในปมรากถั่ว ราไมคอร์ไรซาในรากสนหรือรากปรง ฯลฯ +,+ 1.  ภาวะพึ่งพาอาศัย (mutualism) ผลการสำรวจ สัญลักษณ์ รูปแบบความสัมพันธ์
รูปแบบของความสัมพันธ์แบบภาวะพึ่งพาอาศัย กับการได้รับประโยชน์ร่วมกันต่างกันอย่างไร ? ,[object Object],[object Object]
รูปแบบของความสัมพันธ์แบบการล่าเหยื่อกับภาวะปรสิตต่างกันอย่างไร ? ,[object Object],[object Object]
จากภาพที่  21-34   นักเรียนจะอธิบายความสัมพันธ์ของพารามีเซียมทั้งสองชนิดนี้ได้ว่าอย่างไร ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พารามีเซียมชนิดใด ได้ประโยชน์จากการแก่งแย่งอาหารและเพราะเหตุใด ? ,[object Object]
สิ่งมีชีวิตมีการแก่งแย่งแข่งขันกันเพื่อประโยชน์ในด้านใดบ้าง ? ,[object Object]
การแข่งขันกันระหว่างสิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน จะเกิดประโยชน์อย่างไร ? ,[object Object]

More Related Content

What's hot

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามPornpimon Gormsang
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
Waralee Sinthwa
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 

What's hot (20)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงาม
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 

Similar to ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Kittiya GenEnjoy
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
suttidakamsing
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
suttidakamsing
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ninjynoppy39
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
thunchanok
 

Similar to ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ (20)

Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ