SlideShare a Scribd company logo
1 of 155
Download to read offline
บทที่ 3
หมายถึง ระบบของ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งไม่มีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในพื้นที่แห่ง
ใดแห่งหนึ่ง โดยมีความสัมพันธ์กัน
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน
สารอาหารให้แก่กันและถ่ายทอด
พลังงานระหว่างกัน
ระบบนิเวศ
( Ecosystem)
1. ความหมายของระบบนิเวศ
2.1 ระบบนิเวศที่เน้นการถ่ายทอดพลังงาน
1. ระบบนิเวศอิสระ เป็นระบบนิเวศที่พลังงานและสารอาหาร
เคลื่อนย้ายและหมุนเวียนอยู่เฉพาะภายในระบบ ไม่มีการ
เคลื่อนย้ายและหมุนเวียนกับระบบอื่นภายนอก แยกตัว
ออกไป ไม่สัมพันธ์กับระบบนิเวศอื่นๆ เลย เป็นทฤษฎีที่ยังไม่
พบในธรรมชาติ
จัดออกเป็น 3 กลุ่ม คือ จัดโดยเน้นการถ่ายทอดพลังงาน จัด
ตามแหล่งที่อยู่ทางธรรมชาติ และจัดตามเทคโนโลยีของมนุษย์
2. ระบบนิเวศปิ ด เป็ นระบบนิเวศที่มีการถ่ายทอด
พลังงานภายในระบบนิเวศนั้นแต่ไม่มีการถ่ายทอด
พลังงานระหว่างระบบนิเวศอื่นๆ ได้แก่ ระบบ
นิเวศที่มนุษย์สร้างในที่จากัด ปิ ดผนึกแน่น เช่น ใน
อ่างหรือตู้เพาะเลี้ยงปลา
3. ระบบนิเวศเปิ ด เป็นระบบนิเวศที่ปรากฏใน
ธรรมชาติทั่วไป โดยเคลื่อนย้ายและหมุนเวียน
ของพลังงานและสารอาหารระหว่างภายในและ
ภายนอก
ระบบนิเวศธรรมชาติเป็ นระบบเปิ ดซึ่งมี 2 ระบบย่อยคือ
2.2.1 ระบบนิเวศภาคพื้ นดิน เป็ นระบบนิเวศที่
ส่วนประกอบต่าง ๆ และกระบวนการทางานของระบบ
เกิดขึ้นบนพื้ นดิน จะมีลักษณะแตกต่างกันไปตาม
สภาพแวดล้อมกายภาพ เช่น ภูมิอากาศ ความสูงของพื้นที่
จะมีลักษณะแตกต่างกัน โดยจะพิจารณาได้จากพืชพันธ์
ธรรมชาติ
2.2 ระบบนิเวศจัดตามแหล่งที่อยู่ตามธรรมชาติ
ระบบนิเวศป่ าไม้ ได้แก่
บริเวณที่มีปริมาณความชื้น
สูงจะมีพันธุ์ไม้ขึ้นหนาแน่น
ไม้ยืนต้นจะเป็ นต้นไม้สาคัญ
จะเป็ นระบบนิเวศแบบดิบ
ชื้น ถ้าเป็ นระยะฤดูแล้ง
ชัดเจน จะมีระบบนิเวศป่ า
โปร่ง
ระบบนิเวศทุ่งหญ้า
ได้แก่ ระบบที่มี
ความชื้นปานกลางถึง
ค่อนข้างน้อย จะเป็นไม้
ยืนต้นมีน้อย พืชล้มลุก
จาพวกหญ้า
 ระบบนิเวศทะเลทราย เป็ นเขตแห้งแล้งที่สุดมีความ
แตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกับกลางคืน
ระหว่างฤดูร้อนกับฤดูหนาว ประมาณน้าฝนเฉลี่ยต่ากว่า
10 นิ้ว ทาให้ปริมาณความชื้นที่ได้รับไม่เพียงพอต่อการ
เจริญเติบโตของพืช
2.2.2 ระบบนิเวศภาคพื้นน้า
เป็นระบบนิเวศที่ส่วนประกอบต่าง ๆ และกระบวน
การทางานของระบบเกิดขึ้นในบริเวณแหล่งน้าธรรมชาติ
ต่างๆ ซึ่งมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่แตกต่างกัน
แบ่งเป็น
2.2 ระบบนิเวศจัดตาแหล่งที่อยู่ตามธรรมชาติ
ระบบนิเวศน้าจืด เป็นระบบ
นิเวศที่ปรากฏในแหล่งน้า
ธรรมชาติ เช่น หนองน้า
ทะเลสาบ แม่น้า
ระบบนิเวศน้ากร่อย เป็นระบบ
นิเวศที่ปรากฏอยู่ในแนวบริเวณ
ที่เชื่อมต่อระหว่างระบบนิเวศ
น้าจืดและน้าเค็ม
ระบบนิเวศน้าเค็ม
เป็นระบบนิเวศที่ปรากฏอยู่
ในบริเวณเป็นทะเล และ
มหาสมุทรต่าง ๆ ของโลก
เช่น บริเวณเขตทะเลน้าตื้น
เขตมหาสมุทร
2.3.1 ระบบนิเวศกึ่งธรรมชาติหรือ
ระบบนิเวศชนบท – เกษตรกรรม
เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการ
ผลิตและเคลื่อนย้ายหมุนเวียนพลังงานและสารอาหารโดย
ปัจจัยพื้นฐานต่าง ๆ ในธรรมชาติ เช่น ดิน น้าธรรมชาติ
และพลังงานแสงอาทิตย์
2.3 ระบบนิเวศจัดตามเทคโนโลยีของมนุษย์
2.3.2 ระบบนิเวศเมืองและอุตสาหกรรม
เป็นระบบที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนร่วมและ
หรือทดแทน ตลอดจนดาเนินการนอก
เหนือไปจากกระบวนการและกลไกล
ของธรรมชาติอีกลักษณะหนึ่งโดยนาเอา
วัตถุดิบจากธรรมชาติและระบบนิเวศกึ่ง
ธรรมชาติมาแปรสภาพให้กลายเป็น
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
2.3 ระบบนิเวศจัดตามเทคโนโลยีของมนุษย์
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
องค์ประกอบที่มีชีวิต
(Biotic component)
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
(Abiotic component)
แบ่งตามหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต
- ผู้ผลิต
- ผู้บริโภค
- ผู้ย่อยสลาย
- อนินทรีย์สาร (Inorganic substances)
-อินทรีย์สาร (Organic compound)
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
(Physical environment)
3.องค์ประกอบของระบบนิเวศ (Ecosystem components)
1. ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) หมายถึง สิ่งมีชีวิต
ที่สามารถสร้างอาหารเองได้ มี 2 ประเภท คือ
1.1 สังเคราะห์อาหารเองได้ ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์-
ตอนพืช (Phytoplankton) โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
1.2 ไม่สามารถสังเคราะห์
อาหารเองได้ ผู้ผลิตบางพวก
สามารถกินสัตว์ได้เพราะต้อง
การนาธาตุไนโตรเจนไปสร้าง
เนื้อเยื่อ พืชพวกนี้ ได้แก่
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
กาบหอยแครง
2. ผู้บริโภค(Consumer) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จาเป็นต้อง
บริโภคผู้ผลิต หรือผู้บริโภคด้วยกันเองเป็นอาหาร แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ดังนี้
2.1 ผู้บริโภคปฐมภูมิ(Primary consumer)
กินพืชเป็นอาหาร (Herbivore)
2.2 ผู้บริโภคทุติยภูมิ(Secondary consumer)
กินเนื้อเป็นอาหาร กินสัตว์ที่กินพืช (Carnivore)
2.3 ผู้บริโภคลาดับตติยภูมิ(Tertiary consumer)
กินทั้งพืชและกินทั้งสัตว์ (Omnivore)
2.4 ผู้บริโภคลาดับสุดท้าย(Top Carnivore) เป็น
ผู้บริโภคที่มักจะไม่ถูกกินโดยสัตว์อื่นต่อไป
องค์ประกอบที่มีชีวิต(ต่อ)
3. ผู้ย่อยสลาย (Decomposers or Saprotrops) หมายถึง
สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดารงชีวิตโดยการ
ปล่อยเอนไซม์/น้าย่อย ออกมาย่อยอินทรีย์สารที่อยู่ใน
ซากพืชซากสัตว์แล้วจึงดูดซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ รา
(Fungi) แบคทีเรีย (Bacteria) เห็ด
องค์ประกอบที่มีชีวิต(ต่อ)
1. อนินทรีย์สาร (Inorganic substance)
เช่น คาร์บอน คาร์บอนไดออกไซด์
น้า ออกซิเจน เป็นต้น
2. อินทรีย์สาร (Organic substance)
เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
เป็นต้น
3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
(Physical environment) ได้แก่
ปัจจัยทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อ
สิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
1. ปัจจัยทางกายภาพกายภาพ ได้แก่
สภาพแวดล้อมที่ไร้ชีวิต
1.1 แสง
1.2 อุณหภูมิ
1.3 แร่ธาตุ
1.4 ความชื้น
เป็นต้น
4. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
2. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกัน
- การเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน
- ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์
- ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้ไม่เสียประโยชน์
ทั้งนี้ก็เป็นไปเพื่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศในธรรมชาติ
การศึกษาหรืออธิบายการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตนิยมใช้สัญลักษณ์ ดังนี้
+ แทนการได้ประโยชน์
- แทนการเสียประโยชน์
0 แทนการไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
2.1 ภาวะเกื้อกูลกัน (Commensalism) + ,0
พลูด่างกับต้นไม้
ใหญ่
กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่
ฉลามกับเหาฉลาม
2.2 ภาวะพึ่งพากัน (Mutualism) ทั้งสองฝ่ ายเมื่ออยู่ร่วมกันแล้วต่างก็ให้ประโยชน์แก่กัน
+ , +
แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากพืชวงศ์ถั่ว
ตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้แก่รากถั่ว ในขณะเดียวกับแบคทีเรียก็
ได้รับก๊าซออกซิเจนและแร่ธาตุจากต้นถั่ว
โปรโตซัวในลาไส้ปลวก
ปลวกไม่มีน้าย่อยสาหรับย่อยเซลลูโลสในเนื้อไม้ โปรโตซัวช่วยในการ
ย่อย จนทาให้ปลวกสามารถกินไม้ได้ และโปรโตรซัวก็ได้รับ
สารอาหารจากการย่อยสลายเซลลูโลสด้วย
ไลเคน (Lichen) คือการดารงชีวิตร่วมกันของรากับสาหร่าย สาหร่าย
มีสีเขียวสร้างอาหารเองได้แต่ต้อง อาศัยความชื้นจากเชื้อรา ส่วนรา
ได้รับธาตุอาหารจากสาหร่าย และรายังสร้างกรดช่วยในการละลายหิน
และเปลือกไม้ ทาให้ไลเคนดูดซับธาตุอาหารได้ดี
2.3 ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation) คล้ายภาวะพึ่งพากันแต่ตั้งคู่ไม่ได้
อยู่ด้วยกันตลอดเวลา + , +
ผีเสื้อกับดอกไม้
แมลงดูดน้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้
มีแมลงช่วยผสมเกสร
นกเอี้ยงกับควาย
นกเอี้ยงได้กินแมลงต่างๆ จากหลังควาย และควายก็ได้
นกเอี้ยงช่วยกาจัดแมลงที่มาก่อความราคาญ
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (Sea Nnemone)
ปูเสฉวนอาศัยดอกไม้ทะเลพรางตัวจากศัตรู และยัง
อาศัยเข็มพิษจากดอกไม้ทะเลป้องกันศัตรู ส่วน
ดอกไม้ทะเลก็ได้รับอาหารจากปูเสฉวนที่กาลังกินอาหารด้วย
2.4 ภาวะปรสิต (Parasitism) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีฝ่ายหนึ่งเป็นผู้
เบียดเบียน เรียกว่าปรสิต (parasite) และอีกฝ่ายหนึ่งเป็นเจ้าของบ้าน (host)
+ , -
ต้นกาฝาก เช่น ฝอยทองที่ขึ้นอยู่บนต้นไม้ใหญ่
จะดูดน้าและอาหารจากต้นไม้ใหญ่
กาฝากกับต้นมะม่วง รากกาฝากจะชอนไปถึงท่อน้า
ทออาหารของต้นมะม่วง แล้วแย่งน้าและอาหารจากต้นมะม่วง
หมัด เห็บ ไร พยาธิต่างๆ ที่อาศัยอยู่กับร่างกายคน
ดูดเลือดและสารอาหารจาก host
2.5 ภาวะล่าเหยื่อ (Predation) เป็นความสัมพันธ์โดยมีฝ่ายหนึ่ง
เป็นผู้ล่า (predator) และอีกฝ่ายหนึ่งเป็นเหยื่อ (prey) หรือเป็น
อาหารของอีกฝ่ายหนึ่ง + , -
2.6 ภาวะแข่งขัน (Competition) หมายถึง ความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตมี
การแย่งปัจจัยที่มีอยู่อย่างจากัด ในการดารงชีพเหมือนกันจึงทาให้เสีย
ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย เช่น
ควายป่า , สิงโต , สุนัขป่า แย่งชิงกันครอบครองที่อยู่อาศัย หรือสัตว์
เพศเมีย หรืออาหารพืชหลายชนิดที่เจริญอยู่ในบริเวณเดียวกัน เป็น
ต้น
- , -
1 2
3 4
6
8
7
5
9 10
ชายผ้าสีดากับต้นไม้ใหญ่
12
11
13 14
แสงสว่าง
แสงจากดวงอาทิตย์เป็นพลังงานที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิดบนโลก ปริมาณแสงในธรรมชาติแต่ละแห่งจะ
แตกต่างกันทาให้สิ่งมีชีวิตในแต่ละแห่งแตกต่างกันไป พืช
ต้องการแสงจากดวงอาทิตย์มากกว่าสัตว์ แล้วจะถ่ายทอด
พลังงาน ไปยังสัตว์ในห่วงโซ่อาหาร
5. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิ สิ่งมีชีวิตจะเลือกแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีอุณหภูมิ
เหมาะสมกับตัวเอง อุณหภูมิที่เหมาะสมประมาณ 10-30 องศา
เซลเซียส อุณหภูมิบนพื้นดินจะมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าในน้า
จึงทาให้สิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน มีการปรับตัวในหลายลักษณะ เช่น
การอพยพหนีหนาวของนกนางแอ่นจากประเทศจีนมาหากินใน
ประเทศไทย
5. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
แร่ธาตุและก๊าซ พืชและสัตว์นาแร่ธาตุและก๊าซต่างๆ
ไปใช้ในการสร้างอาหารและโครงสร้างของร่างกาย ความ
ต้องการแร่ธาตุและก๊าซของสิ่งมีชีวิตจะมีความแตกต่างกัน
ความเป็นกรด-เบสของดินและน้า สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่
ในดินและแหล่งน้าที่มีความเป็นกรด-เบสของดินและน้าที่
เหมาะสม จึงจะสามารถเจริญเติบโตและดารงชีวิตอยู่
ได้ ความเป็นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณ
ของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
5. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความชื้น เป็นปัจจัยที่เป็นตัวกาหนด สภาพแวดล้อม
ความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะและชนิดของระบบนิเวศนั้น
ๆ นอกจากนี้ความชื้นมีผลต่อการระเหยของน้าออกจาก
ร่างกายของสิ่งมีชีวิต
ความเค็ม จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในดินและน้า
เนื่องจากความเค็มเกิดจากการเพิ่มปริมาณของเกลือในดิน
และน้า ทาให้มีผลต่อการควบคุมสมดุลของพืชและ
สิ่งมีชีวิต (เช่น การดูดซึมสารอาหารของพืช)
กระแสน้า มีผลต่อการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตในน้า
ความเข้มข้นของก๊าซ และอาหารที่ละลายหรือลอยอยู่ในน้า
พฤติกรรม จานวนของสิ่งมีชีวิต ในน้านิ่งและน้าไหลจะ
แตกต่างกัน
5. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
กระแสลม มีความสาคัญต่อการเจริญพันธุ์
ของพืชจะช่วยในการถ่าย ละอองเรณู และ
การแพร่กระจายของเมล็ดพันธุ์
5. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการหลักสองอย่างของระบบนิเวศ คือ
- การถ่ายทอดของพลังงาน (energy flow) เป็นการส่งผ่านของพลังงานใน
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
- การหมุนเวียนของสารเคมี (chemical cycling) เป็นการใช้ประโยชน์และ
นากลับมาใช้ใหม่ของแร่ธาตุธาตุภายในระบบนิเวศ อาทิ เช่น คาร์บอนและ
ไนโตรเจน
พืชเป็นผู้ผลิตโดย อาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลก รับมาเพียง 1%
เพื่อสังเคราะห์อาหารในรูป แป้ง น้าตาล เซลลูโลส เป็นต้น แล้วถ่ายทอดพลังงาน
และสารอาหารไปยังผู้บริโภค
การถ่ายทอดพลังงาน (Energy flow)
คือ การเคลื่อนย้ายพลังงานจากระดับการส่งถ่าย
พลังงานหนึ่งไปยังอีกระดับหนึ่ง เช่น การเคลื่อน
ย้ายพลังงานจากพืชไปสู่สัตว์
- ห่วงโซ่อาหาร
- สายใยอาหาร
1. ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) คือ การกินต่อกันเป็นทอดๆ
มีลักษณะเป็นเส้นตรง สิ่งมีชีวิตหนึ่งมีการกินอาหารเพียง
ชนิดเดียว ซึ่งเขียนเป็นลูกศรต่อกัน แบ่งออกเป็น 3 แบบ
1.1 ห่วงโซ่อาหารแบบจับกิน (Predation food chain)
เป็นห่วงโซ่อาหารที่เริ่มต้นจากพืชไปยังสัตว์กินพืช สัตว์
กินสัตว์ตามลาดับ เช่น
ข้าวโพด → ตั๊กแตน → นก
1.2 ห่วงโซ่อาหารแบบพาราสิต (Parasitic food chain)
เป็นห่วง โซ่อาหารที่เริ่มจากผู้ถูกอาศัยไปยังผู้อาศัย
อันดับหนึ่ง แล้ว ไปยังผู้อาศัยลาดับต่อๆ ไป เช่น
เหยี่ยว → ไร → แบคทีเรีย
1.3 ห่วงโซ่อาหารแบบย่อยสลาย หรือแบบเศษ
อินทรีย์ (Saprophytic chain or Detritus
chain) เป็นห่วงโซ่ อาหารที่เริ่มต้นจากซากอินทรีย์
ถูกสลายโดยจุลินทรีย์แล้วจึงถูกกินต่อไปโดยสัตว์ที่กิน
เศษอินทรีย์และผู้ล่าต่อไป ตามลาดับ เช่น
ซากกวาง → นกแร้ง → เสือโคร่ง
2. สายใยอาหาร (Food Web)
➢คือการถ่ายทอดพลังงานเคมีในรูปอาหาร
ระหว่างสิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิดมารวมกัน ทาให้
เกิดการถ่ายทอดพลังงานที่ซับซ้อน
ความสัมพันธ์เชิงอาหารของสิ่งมีชีวิต (ต่อ)
➢ การถ่ายทอดพลังงานจะไหลไปในทิศทางเดียว เริ่มจาก
ผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลาดับต่างๆ
➢ มีการสูญเสียพลังงานในแต่ละลาดับขั้นของการบริโภค
➢ ไม่มีการเคลื่อนกลับเป็นวัฎจักร
ความสัมพันธ์เชิงอาหารของสิ่งมีชีวิต (ต่อ)
เป็นภาพสายใยอาหารแบบไม่ซับซ้อน ทิศทางหัวลูกศรหมายถึง ใครบริโภค
ใคร (ผู้ที่อยู่ตาแหน่งต้นของลูกศรจะถูกกินโดยผู้ที่อยู่ตาแหน่งปลายลูกศร)
ห่วงโซ่อาหารจะไม่สมบูรณ์ถ้าไม่มีผู้ย่อยสลาย (detritivore หรือ
decomposer) ได้แก่ จุลินทรีย์ (โพรแคริโอต และ ฟังไจ) ซึ่งจะ
เปลี่ยนอินทรียสารเป็นอนินทรียสาร
ฟังไจ (fungi) กาลังย่อยสลายซากขอนไม้
ความสัมพันธ์เชิงอาหารของสิ่งมีชีวิต (ต่อ)
การถ่ายทอดพลังงานในรูปของการบริโภคยิ่งมีขั้นลาดับ
การบริโภคน้อยยิ่งได้รับพลังงานสูง เพราะแต่ละระดับขั้นการ
บริโภคจะมีการสูญเสียพลังงาน ซึ่งพบว่าผู้บริโภคจะได้รับ
พลังงานเพียง 1 ส่วน จากการบริโภค 10 ส่วน เรียกว่า กฎสิบ
เปอร์เซ็นต์ (Ten percent law)
พลังงานที่ถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่ง
ในแต่ละลาดับขั้นมีประมาณ 10% ทั้งหมด อีก 90% จะ
สูญเสียไปในรูปของพลังงานอื่นๆ เช่น ความร้อน การหายใจ
พีระมิดนิเวศ (Ecological pyramid)
ความสัมพันธ์เชิงอาหารระหว่างสิ่งมีชีวิตคล้ายกับห่วง
โซ่อาหาร แต่แสดงผลเป็ นแผนภาพรูปแท่งซ้อนๆกัน (คล้าย
พีระมิด) ตามลาดับขั้นของการกิน แบ่งได้เป็ น 3 แบบ คือ
- พีระมิดจานวนของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of numbers)
- พีระมิดมวลของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of mass)
- พีระมิดพลังงานของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of energy)
การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต
พีระมิดจานวนของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of numbers)
ใช้จานวนของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นๆ มาสร้าง
พีระมิด มีหน่วยเป็นจานวนต่อตารางเมตร วัดได้ด้วยวิธีการนับ
การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต
พีระมิดมวลของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of mass)
ใช้มวลชีวภาพหรือเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในรูปของ
น้าหนักแห้งมาสร้างพีระมิด มีหน่วยเป็นกรัมต่อตารางเมตร
การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต
พีระมิดพลังงานของสิ่งมีชีวิต (Pyramid of energy)
เป็ นพีระมิดที่ใช้ปริมาณพลังงานของแต่ละลาดับขั้นอาหาร
มาสร้างพีระมิด มีหน่วยเป็นกิโลแคลอรีต่อตารางเมตรต่อปี
การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต
การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต
หลักๆ คือ
- การถ่ายทอดพลังงาน
- การหมุนเวียนของธาตุอาหารในระบบนิเวศ
การหมุนเวียนธาตุอาหาร(Nutrient cycle in ecosystem)
คือ การเคลื่อนย้ายธาตุอาหารที่สะสมอยู่ในดินไปสู่ส่วน
ต่างๆ ของพืช แล้วเคลื่อนย้ายผ่านสัตว์ และผู้ย่อยสลายอินทรีย
สารกลับไปสะสมอยู่ในดิน เพื่อให้พืชได้ใช้ประโยชน์ต่อไป
*** การหมุนเวียนธาตุอาหารมีลักษณะเป็นวัฏจักร จาก
ธรรมชาติเข้าสู่สิ่งมีชีวิต และจากสิ่งมีชีวิตกลับคืนสู่ธรรมชาติ***
หน้าที่ของระบบนิเวศ
วัฎจักรของสารแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. วัฎจักรแบบแก๊ส (Gaseous Cycle) เป็นการหมุนเวียน
ของสารที่มีบรรยากาศเป็นแหล่งหมุนเวียนที่สาคัญ ได้แก่ น้า
คาร์บอน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ และออกซิเจน
2. วัฎจักรแบบตกตะกอน (Sedimentary Cycle) เป็นการ
หมุนเวียนของสารที่มีแผ่นดินเป็นแหล่งหมุนเวียนที่สาคัญ ได้แก่
แคลเซียม ฟอสฟอรัส
1. วัฏจักรของน้า
 น้าเป็นตัวกลางของ
กระบวนการต่าง ๆ ใน
สิ่งมีชีวิตรวมทั้งเป็นแหล่ง
ต่าง ๆ ทั้งน้าจืด น้าเค็ม น้า
ในดิน ในรูปแบบของไอน้า
และน้าแข็งที่ปกคลุมขั้วโลก
เป็นทรัพยากรที่ใช้แล้ว
ไม่หมด สามารถหมุนเวียน
ได้ในวัฎจักรน้า เป็น
สิ่งจาเป็น
ต่อการดารงชีวิต ใช้ในการ
เพราะปลูก เลี้ยงสัตว์ เป็น
ต้น
หมุนเวียนโดยไม่ผ่านสิ่งมีชีวิต
หมุนเวียนผ่านสิ่งมีชีวิต
1. วัฏจักรสั้น (Short cycle) เป็ นวัฏจักรที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต โดยเริ่ม
จากพื้นน้า และพื้นดินระเหย กลายเป็ นไอลอยขึ้นไปในบรรยากาศแล้ว
กลั่นตัวกลาย ตกลงมาเป็ นน้าฝนหมุนเวียนกลับ สู่พื้นดินและพื้นน้า
ต่อไป
2. วัฏจักรยาว(Long cycle) เป็ นวัฏจักรที่เกี่ยงข้องกับการดารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต วัฏจักรนี้เริ่มจากน้า ซึ่งอยู่ในบริเวณที่เป็ นพื้นดินและพื้นน้า น้า
ที่ได้จากการคายน้าของพืชจากการหายใจ จากร่างกายของพืชและสัตว์
เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ในน้าในร่างกายจะระเหยกลายเป็ นไอ ลอยตัวอยู่ใน
บรรยากาศแล้วกลั่นตัวเป็ นหยดน้าตกลงมาเป็ นฝน หมุนเวียนกลับคืนสู่
พื้นน้าพื้นดิน และสิ่งมีชีวิตอีกด้วย หมุนเวียนเป็ นวัฏจักรอย่างนี้เรื่อยไป
1. วัฏจักรของน้า (ต่อ)
คาร์บอน (Carbon) เป็นธาตุที่มีอยู่ในสารประกอบอินทรีย์เคมีทุกชนิด ดังนั้นวัฏ
จักรคาร์บอนมักไปสัมพันธ์กับวัฏจักรอื่นๆ ในระบบนิเวศ คาร์บอน เป็น
องค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งของสารอินทรีย์สารในสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน วิตามิน
 วัฏจักรคาร์บอน หมายถึง การที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกอากาศถูกนาเข้า
สู่สิ่งมีชีวิต หรือออกจากสิ่งมีชีวิตคืนสู่บรรยากาศ และน้าอีกหมุนเวียนกันไป
เช่นนี้ไม่มีที่สิ้นสุดโดย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและน้าถูก
นาเข้าสู่สิ่งมีชีวิต ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (CO2) จะถูก
เปลี่ยนเป็นอินทรียสารที่มีพลังงานสะสมอยู่ ต่อมาสารอินทรียสารที่พืชสะสมไว้
บางส่วนถูกถ่ายทอดไปยังผู้บริโภคในระบบต่าง ๆ โดยการกิน CO2 จะออกจาก
สิ่งมีชีวิตคืนสู่บรรยากาศและน้าได้หลายทาง ได้แก่
2. วัฏจักรคาร์บอน
1. การหายใจของพืชและสัตว์ เพื่อให้ได้พลังงานออกมาใช้ ทาให้
คาร์บอนที่อยู่ในรูปของอินทรียสารถูกปลดปล่อยออกมาเป็นอิสระ
ในรูปของ CO2
2. การย่อยสลายสิ่งขับถ่ายของสัตว์และซากพืชซากสัตว์ ทาให้
คาร์บอนที่อยู่ในรูปของอาหารถูกปลดปล่อยออกมาเป็นอิสระใน
รูปของ CO2
3. การเผ่าไหม้ของถ่านหิน น้ามัน และคาร์บอเนต ที่เกิดจากการทับ
ถมของซากพืชซากสัตว์เป็นเวลานาน
2. วัฏจักรคาร์บอน (ต่อ)
2. วัฏจักรคาร์บอน (ต่อ)
วัฏจักรของคาร์บอนสัมพันธ์กับวัฏจักรน้าเสมอ ความสมดุลของ CO2 ในอากาศ
เกิดจากการแลกเปลี่ยนของ CO2 ในอากาศกับน้า ถ้าในอากาศ CO2 มากเกินไป ก็จะมีการ
ละลายอยู่ในรูปของ H2CO3 (กรดคาร์บอนิก) ดังสมาการต่อไปนี้
CO2 + H2O H2CO3
สัตว์หายใจเข้าโดยใช้ออกซิเจนในอากาศ หายใจออกมาเป็นก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์และน้า ซึ่งพืชใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสงเพื่อ
สารอาหารและได้ก๊าซออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์
3. วัฏจักรออกซิเจน (Oxygen cycle)
4. วัฏจักรของไนโตรเจน (Nitrogen cycle)
ไนโตรเจน (N2) ในรูปของแก๊สมีอยู่ในบรรยากาศมากถึง
78 % และเป็นธาตุที่มีอยู่ในโมเลกุล ของคลอโรฟิลล์และโปรตีน
สิ่งมีชีวิตจะใช้ไนโตรเจนในรูปของโปรตีน พืชบางชนิดจะนา
ไนโตรเจนมาใช้โดยอาศัย แบคทีเรียเช่น ไรโซเบียม
(Rhizobium) ที่อาศัยอยู่ร่วมกับรากตระกูลถั่ว ซึ่งมี
ความสามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศและในดินแล้วเปลี่ยนให้
เป็นสารประกอบไนโตรเจน ได้แก่ ไนเตรต (Nitrate) (NO3)
และเกลือแอมโมเนีย (Ammonium Salt) (NH3) ที่มีสมบัติ
ละลายน้าได้
4. วัฏจักรของไนโตรเจน (Nitrogen cycle)
พืชจะดูดซึมสารประกอบไนโตรเจน แล้วนามาสังเคราะห์เป็นโปรตีน ไนโตรเจนเป็นธาตุที่
จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ปัจจุบันมนุษย์ได้นาธาตุไนโตรเจนมาทาเป็นปุ๋ ยเคมี
เป็นส่วนมาก ทาให้ผลผลิตของพืชเพิ่มขึ้น แต่กลับส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็น
อย่างมาก
4. วัฏจักรของไนโตรเจน (Nitrogen cycle)
กระบวนการที่ฟอสฟอรัสถูกหมุนเวียนจากดินสู่ทะเลและจากทะเลสู่ดิน
ซึ่งเรียกกระบวนการนี้ว่า กระบวนการการตกตะกอนฟอสฟอรัส เป็นธาตุที่มีอยู่
ในธรรมชาติเพียงน้อยมาและเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง ของธรณีวิทยา
ฟอสฟอรัสนามาใช้หมุนเวียนระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในปริมาณจากัด
ฟอสฟอรัสจะหายไปในห่วงโซ่อาหารในลักษณะตกตะกอนของสารอินทรีย์ไปสู่
พื้นน้า เช่น ทะเล แหล่งน้าต่าง ๆ
ฟอสฟอรัสจะถูกถ่ายทอดไป ตามลาดับขั้นจนกระทั่งในที่สุดสิ่งมีชีวิต
ต่างๆเหล่านั้นตาย หรือขับถ่ายลงน้า จะมีจุลินทรีย์บางพวกเปลี่ยนฟอสฟอรัส
ให้เป็นสารประกอบฟอสเฟตอยู่ในน้าอีกครั้ง นอกจากนั้นนกทะเลถ่ายออกมามี
มูลที่เป็นสารประกอบฟอสฟอรัสปริมาณสูง มูลเหล่านั้นเมื่อลงทะเล จะเป็น
อาหารของปลา และสัตว์อื่นๆ ได้เช่นกัน
5. วัฏจักรฟอสฟอรัส (Phosphorus cycle)
5. วัฏจักรฟอสฟอรัส (Phosphorus cycle) (ต่อ)
กามะถันเกี่ยวข้องกับผลผลิต และการย่อยสลายตัวของ
สารอินทรีย์ในระบบนิเวศ กามะถันจะอยู่ในสภาพของแก๊ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) จะถูกนาไปสู่โซ่อาหาร โดยพืชนาไปใช้
ก่อน แล้วกามะถันถูกส่งต่อไปยังสัตว์ โดยเป็นธาตุเป็นองค์ประกอบ
ของโปรตีนในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด กามะถันที่อยู่ในรูปของโปรตีนจะถูก
เปลี่ยนเป็นซัลเฟต (SO4
2-) โดยแบคทีเรียและรา ( fungi ) พืชจะ
นากามะถันกลับไปใช้อีกโดยตรง กามะถันที่ปนเปื้ อนอยู่ในเชื่อเพลิง
จะถูกเผาไหม้เป็นซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และซัลเฟอร์ไตร
ออกไซด์ (SO3) ซึ่งเป็นต้นเหตุของอากาศเสีย
6. วัฏจักรกามะถัน (Sulphur cycle)
6. วัฏจักรกามะถัน (Sulphur cycle) (ต่อ)
ภาพแสดงหน้าที่ของระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง
ความหลากหลายของสรรพสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย การมีสิ่งมีชีวิต
หลายๆ ชนิด หลายสายพันธุ์
1. ความหลากหลายทาง
พันธุกรรม หมายถึง ความ
หลากหลายของยีนส์ที่มีอยู่
ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมี
ยีนส์แตกต่างกันไปตามสาย
พันธุ์ เช่น ข้าวมีสายพันธ์
นับพันชนิด สุนัขมีหลาย
สายพันธุ์ เป็นต้น
2. ความหลากหลายของชนิด
พันธุ์ของสิ่งมีชีวิต หมายถึง
ความหลากหลายของชนิด
ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในพื้นที่
หนึ่ง มีสิ่งมีชีวิตจานวนมาก
หลายล้านชนิด ซึ่งมีความ
แตก ต่างกันทางด้าน
ลักษณะเฉพาะ รูปร่าง การ
ดารงชีวิต
ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ(ต่อ)
3. ความหลากหลายของระบบ
นิเวศ หมายถึง ความซับซ้อนของ
ลักษณะพื้นที่ที่แตกต่างกันในแต่
ละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบ
กับสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
ทาให้เกิดระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่
ของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน
ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ(ต่อ)
1. มลพิษทางน้า
2. มลพิษทางอากาศ
3. มลพิษทางดิน
4. มลพิษทางเสียง
5. มลพิษทางทัศนียภาพหรือมลทัศน์
6. มลภาวะจากความร้อน
7. มลพิษจากขยะ
บทที่ 4
ผลกระทบของมนุษย์ต่อ
สิ่งแวดล้อม
มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องและ
ตลอดเวลา ดังนั้นการกระทาของมนุษย์ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ดังนี้
1. มลพิษทางอากาศ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อากาศเป็น
พิษ หมายถึง สภาพอากาศที่มีสารอื่นเจือปนมาก ซึ่งจะเป็น
อันตรายต่อชีวิตคน สัตว์ พืชและสภาวะแวดล้อมอื่นๆ สาร
เหล่านี้ได้แก่ เขม่า ควัน ฝุ่นละออง ก๊าซคาร์บอนไดออไซด์
 สารเหล่านี้ถ้าสะสมมากๆ จะทาให้เกิดเป็นโรคผิวหนัง มะเร็ง
หรือเกิดอาการเวียนศีรษะแหล่งที่ทาให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ได้แก่ การคมนาคม การเผาขยะ การก่อสร้าง สิ่งเหล่านี้จะทาให้
เกิดฝุ่นและควันเข้าสู่อากาศที่เราหายใจเข้าไป
2. มลพิษทางน้า หรือ น้าเสีย สิ่งที่ทาให้เกิดมลพิษทางน้านั้น
เกิดจากการที่มีการทิ้งของเสียลงในแม่น้าลาคลอง ทั้งที่มาจาก
โรงงานอุตสาหกรรม สถานบริการ การประกอบอาชีพต่างๆ หรือ
จากอาคารบ้านเรือน
นอกจากนี้ยังมีการทิ้งขยะมูลฝอยลงในแหล่งน้า หรือลงใน
แม่น้าลาคลอง ทาให้เกิดน้าเสียเป็นแหล่งเพาะและแพร่เชื้อ
โรคทาลายสุขภาพ น้ามีกลิ่นเหม็น สัตว์น้าเสียชีวิต และ
ทาลายความสวยงามและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
3. มลภาวะทางดิน หมายถึง การที่ดินเกิดความเสียหาย
จากการกระทาของมนุษย์เองส่วนใหญ่มักจะเป็นกิจกรรมทาง
การเกษตร ได้แก่การใช้ยาฆ่าแมลง การใช้ปุ๋ ยเคมี หรือการ
ปลูกพืชโดยไม่มีการบารุงรักษาดิน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมา
จากน้าเสีย หรือการทิ้งฝังขยะมูลฝอย
4. มลภาวะทางเสียง เป็นลักษณะของเสียงที่ดังมาก
จนเกินไป ทาให้เกิดความราคาญหรือบางทีอาจเป็นอันตรายต่อหู
เสียงเหล่านี้เกิดจากยานพาหนะ เสียงเครื่องจักรในโรงงาน
อุตสาหกรรม
มลพิษ หมายถึง ภาวะของสภาพแวดล้อม ที่มี
องค์ประกอบไม่เหมาะต่อการนามากใช้ประโยชน์แต่กลับเป็น
พิษหรือเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือก่อให้เกิดความราคาญแก่
มนุษย์ เช่น อากาศที่มีก๊าซต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ภาพแวดล้อมที่มีเสียงต่างๆ รบกวนมาก ดินที่มีการสะสมของ
ยาฆ่าแมลงศัตรูพืชสูง น้าที่มีคราบน้ามัน เป็นต้น สารที่เป็น
ต้นเหตุที่ทาให้เกิดมลพิษ เรียกว่า สารมลพิษ
สารมลพิษ คือ ตัวมลพิษหรือสารวัตถุอื่นใดก็ตามที่
สร้างอันตรายหรือความเปลี่ยนแปลงอันไม่น่าพึงพอใจให้กับ
สิ่งมีชีวิตรายตัว ต่อประชากร ชุมชน หรือระบบนิเวศ เกินกว่า
ส ภ า พ ที่ จ ะ ส า ม า ร ถ พ บ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม
ภาวะมลพิษทางอากาศ (Air Pollution) หมายถึง
ภาวะที่อากาศมีการเจือปนของสารหรือสิ่งปนเปื้อนใน
ปริมาณที่มากพอ ทาให้อากาศเสื่อมคุณภาพเป็นอันตรายต่อ
มนุษย์สัตว์และพืช
มลสาร (Pollutant) ที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศมีทั้งในรูป
ของแข็ง ฝุ่นละออง ไอระเหยหรือก๊าซ รวมทั้งกลิ่น เขม่า ควัน
สารกัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกั่ว
ออกไซด์ของไนโตรเจน และคาร์บอน เป็ นต้น
1. การเผาไหม้เชื้อเพลิงของกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ รถยนต์ การ
เผาขยะมูลฝอย การผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหินเป็น
เชื้อเพลิง เป็นต้น ซึ่งทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
ขี้เถ้า และออกไซด์ของโลหะ เป็นต้น
2. การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองและอนุภาคต่างๆ จากกิจกรรม
ผสม บด โม่ การก่อสร้าง และการขนส่งวัสดุและสินค้า
3. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตหรือแปรรูปวัตถุดิบ ได้แก่ การผลิต
สารเคมี กระดาษ ปุ๋ ย เหล็กกล้า อลูมิเนียม เป็นต้น ซึ่งอาจมีการ
ปล่อยสารพิษออกมาเช่น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ออกไซต์ของ
ซัลเฟอร์แอมโมเนีย ไออตะกั่ว สารหนู เป็นต้น
4. การเกษตร เช่น การเผาพื้นที่ทาการเกษตร การฉีดพ่นสารเคมี
ทาให้เกิดสารมลพิษจาพวก สารหนู สารตะกั่ว ควัน และขี้เถ้า
เป็นต้น
5. เตาปฏิกรณ์ เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้า การทดลองระเบิด
นิวเคลียร์เป็นต้น ทาให้เกิดฝุ่นละอองของยูเรเนียม
6. แหล่งกาเนิดจากธรรมชาติ เช่น ไฟป่า การเกิดปฏิกิริยาชีวเคมี
ได้แก่ การเน่าเปื่อยและหมักของสารอินทรีย์ในน้า ดิน จะทาให้
เกิดก๊าซมีเทน คาร์บอนไดออกไซด์แอมโมเนีย เป็นต้น
ภาวะมลพิษทางน้า ( Water Pollution) หมายถึง สภาวะ
ที่น้ามีคุณภาพเปลี่ยนไปจากธรรมชาติเดิม จนมีสภาพที่เลวลง
และส่งผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในน้า
1. น้าที่มีสารอินทรีย์ปนอยู่มาก จุลินทรีย์ที่มีอยู่ก็จะมีการเพิ่ม
ปริมาณอย่างรวดเร็ว โดยมีการใช้ออกซิเจน จึงมีผลทาให้ปริมาณ
ออกซิเจนละลายอยู่ในน้าเหลือน้อย ในบางครั้งจะเห็นน้ามีสีดา
คล้า และส่งกลิ่นเหม็น เนื่องจากการย่อยสลายของแบคทีเรียชนิด
ที่ไม่ใช้ออกซิเจนมีการปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่า
ออกมา
2. น้าที่มีเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ
โปรโตซัว เชื้อรา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคทางเดิน
อาหาร โรคตับ โรคพยาธิและโรคผิวหนัง เป็นต้น
3. น้าที่มีคราบน้ามันหรือไขมันเจือปนในปริมาณมากจะเป็น
อุปสรรคต่อการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่แหล่งน้า หรือการดารงชีวิต
ของสัตว์และพืชน้า
4. น้าที่มีเกลือละลาย ซึ่งอาจละลายจากดินลงมาหรือน้าทะเลไหล
ซึมเข้ามาเจือปนจนน้าเสื่อมคุณภาพไม่เหมาะในการใช้อุปโภค
บริโภคหรือการเกษตรกรรม
5. น้าที่มีสารพิษเจือปน เช่น สารประกอบของปรอท ตะกั่ว
แคดเมียม สารหนู เมื่ออยู่ในระดับอันตรายจะส่งผลต่อสัตว์น้า
และคนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น บริโภคพืชผัก สัตว์น้า
6. น้าที่มีสารกัมมันตภาพรังสีเจือปน อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติจาก
การสลายตัวของแร่หินหรือเกิดจากโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้าเสียลงสู่
แหล่งน้า
7. น้าที่มีสารแขวนลอย ได้แก่ น้าที่มีสิ่งต่างๆ แขวนลอยอยู่จานวนมาก
ทาให้น้ามีสภาพเปลี่ยนไปจากเดิม เกี่ยวกับความโปร่งแสง สี เป็นต้น
8. น้าที่มีอุณหภูมิสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการระบายน้าหล่อเย็นจาก
โรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้า ซึ่งอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะมีผลกระทบต่อ
การดารงชีวิต และการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในน้า
1. ชุมชน แหล่งน้าเสียประเภทนี้ได้แก่ แหล่งพักอาศัย อาคารชุด
โรงพยาบาล ร้านอาหาร โรงฆ่าสัตว์ โดยมีน้าเสียเกิดจากการ
ชาระร่างกาย การซักเสื้อผ้า การประกอบอาหาร
2. อุตสาหกรรม เกิดจากกระบวนการในการผลิตทาง
อุตสาหกรรม เช่น น้าหล่อเย็น น้าล้าง น้าทิ้งจากกระบวนการ
ผลิต การทิ้งของเสียจากการผลิตสู่แหล่งน้า รวมถึงการทา
เหมืองแร่
3. เกษตรกรรม น้าเสียมาจากการล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์
ฉีดพ่น และการระบายของเสียจากมูลสัตว์ลงแหล่งน้า เช่น
ฟาร์มสุกร นากุ้ง บ่อเลี้ยงปลา การฉีดพ่นสารเคมี การชะล้าง
หน้าดิน
4. อื่นๆ เช่น ภาวะมลพิษจากน้ามันที่ใช้กับเครื่องจักรกลของเรือ
การเกิดอุบัติเหตุของเรือขนส่งน้ามัน และการขับถ่ายสิ่งปฏิกูล
ของผู้โดยสารบนเรือ การก่อสร้าง การล้างถนน น้าเสียจากแพ
ปลา ท่าเทียบเรือประมง เป็นต้น
ภาวะมลพิษทางเสียง ( Noise Pollution) หมายถึง
สภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความราคาญ หรือก่อให้เกิด
อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์และสัตว์
1. การจราจร มาจากยานพาหนะประเภทต่างๆ เช่น รถไฟ รถยนต์
รถจักรยานยนต์รถบรรทุก เรือหางยาว และเครื่องบิน เป็นต้น
2. สถานประกอบการต่างๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การ
ก่อสร้าง อู่ซ่อมรถ เป็นต้น
3. ชุมชนและสถานบริการ ได้แก่ เสียงจากคนหรือเครื่องใช้
ภายในบ้าน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และเสียงในย่านธุรกิจการค้า
สถานบันเทิงเริงรมย์เป็นต้น
เครื่องบิน 130 เดซิเบลเอ
เสียงเจาะถนน 120 เดซิเบลเอ
โรงงานผลิตอลูมิเนียม 100-120 เดซิเบลเอ
วงดนตรีร็อค 108-114 เดซิเบลเอ
งานค็อกเทลที่มีแขกประมาณ 100
คน
100 เดซิเบลเอ
รถสามล้อเครื่อง 92 เดซิเบลเอ
รถบรรทุกสิบล้อ 96 เดซิเบลเอ
รถยนต์ 85 เดซิเบลเอ
รถจักรยานยนต์ 88 เดซิเบลเอ
เสียงคนพูดโดยทั่วไป 50 เดซิเบลเอ
การวัดระดับเสียงจากกิจกรรมต่างๆ มีหน่วยเป็น เดซิเบลเอ (Decibel A) มี
ตัวอย่างดังนี้
 องค์การอนามัยโลก กาหนดระดับเสียงเป็นพิษหรือดังเกินไปไว้
ที่ 85 เดซิเบลเอ และระดับเสียงที่บุคคลทนรับฟังได้คือ 120 เดซิ
เบลเอ สาหรับประเทศไทยกาหนดค่ามาตรฐานระดับเสียงเฉลี่ย
24 ชั่วโมงไว้ที่ 70 เดซิเบลเอ ตามประกาศคณะกรรมการ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 15 (พ.ศ.2540) เรื่องกาหนด
มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป
➢เราจะรู้สึกเจ็บปวดเมื่อได้รับฟังเสียงที่ดังเกินกว่า 130 เดซิเบลเอ
แต่การรับฟังเสียงที่มีความดัง 70 เดซิเบลเออย่างต่อเนื่องทั้งวัน
ก็อาจทาให้ประสาทหูเสื่อมได้
➢การกาหนดว่าเสียงใดเป็นเสียงรบกวนขึ้นอยู่กับปัจจัยส่วน
บุคคล เช่น สภาพอารมณ์ขณะรับฟังเสียง ลักษณะของงาน
สถานที่ เวลา ความทนทานและความดังของเสียง
➢ หากพบว่าการยืนห่างกันประมาณหนึ่งช่วงแขนแล้วพูดคุย
กันด้วยระดับเสียงปกติแล้วไม่ได้ยินหรือไม่เข้าใจกัน แสดงว่า
บริเวณนั้นมีเสียงดังถึงขั้นอันตรายต่อระบบการได้ยิน
 BLM
ขยะมูลฝอย( Solid Waste ) หมายถึง
เศษสิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลต่างๆ ซึ่งเกิดจาก
กิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บ
กวาดจากถนน ตลาด หรือที่อื่นๆ ทั้งจากการผลิต
การบริโภค การขับถ่าย การดารงชีวิต และอื่นๆ
1. ขยะเปียก หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น เศษ
อาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น
2. ขยะแห้ง หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กระดาษ
พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ ยาง เป็นต้น
3. ขยะอันตราย ได้แก่ สารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย
หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล
1. ชุมชนพักอาศัย เช่น บ้านเรือน และอาคารชุด
2. ย่านการค้าและบริการ เช่น ตลาด ร้านค้า ธนาคาร
ห้างสรรพสินค้า
3. สถานที่ราชการ ศาสนสถาน โรงเรียน
4. โรงพยาบาล
5. โรงงานอุตสาหกรรม
ของเสียอันตราย (Hazardous Waste)
หมายถึง ของเสียใดๆ ที่มีองค์ประกอบหรือ
ปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่างๆ รวมทั้งกาก
ตะกอน หรือสิ่งตกค้างที่อยู่ในสภาพทั้ง
ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
ของเสียอันตรายแบ่งออกเป็น 8 ประเภท ตาม
คุณสมบัติของของเสียอันตราย ได้แก่
1. ประเภทติดไฟง่าย เช่น ตะกอนน้ามัน ตะกอนสี
เป็นต้น
2. ประเภทสารกัดกร่อน เช่น น้ายาฟอกขาว น้ายาขัด
พื้น เป็นต้น
3. ประเภทที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาระเบิดเมื่อสัมผัสกับน้าหรืออากาศ
เช่น สารเคมีที่เสื่อมสภาพ
4. ประเภทสารพิษ เช่น ยาฆ่าแมลง สารปราบศัตรูพืช เป็นต้น
5. ประเภทวัตถุระเบิด เช่น พลุ ดอกไม้ไฟ ดินประสิว เป็นต้น
6. ประเภทสารที่สามารถชะล้างได้เป็นสารที่ไม่ใช้แล้ว มีปริมาณ
โลหะหนักหรือวัตถุมีพิษปนเปื้อนอยู่ในน้าสกัดนั้น เท่ากับหรือ
มากกว่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ เช่น ตะกั่ว ปรอท เป็นต้น
7. ประเภทกากกัมมันตรังสี เป็นวัตถุที่ไม่ใช้ประโยชน์แล้ว อาจ
อยู่ในรูปของแข็งหรือของเหลวที่มีการเปรอะเปื้อนด้วยสาร
กัมมันตรังสีในระดับความแรงของรังสีสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้
8. ประเภทที่ทาให้เกิดโรค เช่น เชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือจุลินทรีย์ที่
ทาให้เกิดโรคต่างๆ
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางอากาศ
1. เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะระบบหายใจ
มะเร็งผิวหนัง ระบบประสาท และอาจสะสมในเนื้อเยื่อร่างกาย
มลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อสุขภาพต่างกัน
2. สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิดคงตัวอยู่ใน
บรรยากาศได้เป็นเวลานาน และแพร่กระจายออกไปได้ไกล
บางชนิดเป็นปฏิกิริยาต่อกันและเกิดเป็นสารใหม่ที่เป็น
อันตราย
3. ทาให้เกิดฝนกรด โดยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้
ของเชื้อเพลิงที่มีสารกามะถันเจือปน เมื่อทาปฏิกิริยารวมตัวกับน้าและ
กลั่นตัวเป็นฝน จะมีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งก่อสร้าง
4. ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse
Effect) เกิดจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซมีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน และสารคลอโรฟลูออโร
คาร์บอน (CFC) เมื่อลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิให้
รังสีความร้อนจากผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้นได้ ทาให้
เกิดการสะสมความร้อนของผิวโลก
1. ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกาเนิด โดยการ
เปลี่ยนแปลงคุณภาพเชื้อเพลิง ใช้เครื่องยนต์ที่มีมลพิษน้อย
ปรับปรุงกระบวนการผลิต และลดมลพิษจากยานพาหนะ
2. เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทาง
อากาศจากภาคอุตสาหกรรม โดยตรวจสอบการปล่อยมลสาร
ต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมให้อยู่ในระดับมาตรฐาน และให้มี
การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับภาวะมลพิษทางอากาศจาก
โรงงาน
3. สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร โดยนาวัสดุ
เหลือใช้จากภาคเกษตรมาใช้เป็นพลังงานเพื่อลดการเผา
วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในที่โล่ง
4. ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนให้มี
การบริหารจัดการแบบครบวงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลด
การเผาขยะในที่โล่ง
5. ป้องกันการเกิดไฟป่า ตรวจติดตามปฏิบัติการดับ
ไฟป่า และฟื้นฟูสภาพหลังเกิดไฟป่า
6. ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ
เช่น พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อลด ภาวะมลพิษทาง
อากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน
7. ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีสารประกอบของสารที่
ทาให้เกิดภาวะเรือนกระจก เช่น สารคลอโรฟลูออโร
คาร์บอน (CFC ) เป็นต้น
8. สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษ
น้อย และส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งมวลชน
9. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจ
อันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทางอากาศ และมี
ส่วนรวมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษ
ทางอากาศ
10. ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตาม
และการใช้บังคับกฎหมายด้านการจัดการภาวะมลพิษ
ทางอากาศ
1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค
บิด และท้องเสีย
2. ทาให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้า และอากาศ
3. ทาให้เกิดความราคาญ เช่น กลิ่นเหม็น
4. ทาให้สูญเสียทัศนียภาพและเกิดความไม่น่าดู
5. ทาให้สัตว์น้าหลายชนิดเกิดการตาย ย้ายถิ่น หรืออาจ
สูญพันธุ์ในที่สุด
1. ดาเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้ง
พื้นที่ลุ่มน้า จากต้นน้าถึงปากแม่น้าโดยมีการ
จัดลาดับความสาคัญของปัญหาและการจัดทา
แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา
2. ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิดประเภท
ต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการ
ควบคุมน้าทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน
3. การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิด
ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือ
การผลิตที่สะอาดและนาของเสียไปใช้ให้
เกิดประโยชน์
การป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษทางน้า
4. ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้า ได้แก่ กาหนด
แหล่งน้าดิบเพื่อควบคุมและฟื้นฟู และจัดเขตที่ดิน
สาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ
5. ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบาบัด
โดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบาบัดน้า
เสียจากชุมชน
6. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุน
ในการก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสีย
การป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษทางน้า
7. ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้
ภาคอุตสาหกรรมและกิจกรรมพาณิชยกรรมนาน้า
เสียเข้าสู่ระบบบาบัดน้าเสียรวม ก่อนปล่อยน้าเสีย
ลงสู่แหล่งน้า
8. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่
การป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษทางน้า
9. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับ
ความรู้และเกิดจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้าอย่างต่อเนื่อง
10. กาหนดให้มีการสร้างระบบบาบัดน้าเสียรวมของ
ชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวมน้าเสียเข้าสู่ระบบ
ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของน้าเสียที่เกิดขึ้น
การป้องกันและบาบัดภาวะมลพิษทางน้า
1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ
- หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียง
ดังเกิน 120 เดซิเบลเอ
- หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดัง
ตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก
- หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความ
ดังมากเป็นเวลานานๆ
2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของ
เลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความ
ผิดปกติของระบบการหดและบีบลาไส้ใหญ่ เป็นต้น
3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความราคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับ
พักผ่อน ผลต่อการทางานและการเรียนรู้รบกวนการสนทนา
และการบันเทิง
4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทาให้ขาด
ความสงบ
5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่าเนื่องจาก
ประสิทธิภาพการทางานลดลง เสีย
ค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง
6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการ
ดารงชีวิตของสัตว์เช่น ทาให้สัตว์ตกใจ
และอพยพหนี
1. กาหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดัง
ของเสียงทุกประเภท
2. ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกาเนิดให้อยู่ใน
ระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกาหนด โดยการ
ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วย
วัสดุลดเสียง หรือกาแพงกั้นเสียง
3. ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีแหล่งกาเนิดเสียงดังควรใช้วัสดุ
ป้องกันการได้ยินเสียงดัง เช่น เครื่องอุดหู เครื่องครอบหู
เป็นต้น
4. กาหนดเขตการใช้ที่ดินประเภทที่ก่อให้เกิดเสียงดัง
ราคาญ ให้อยู่ห่างจากสถานที่ที่ต้องการความสงบเงียบ
เช่น ชุมชนพักอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล วัด เป็นต้น เพื่อ
เพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งกาเนิดเสียงกับชุมชน หรือให้มี
เขตกันชนเพื่อลดความดังของเสียง
5. เข้มงวดกับการใช้มาตรการลดผลกระทบจาก
กิจกรรมการก่อสร้างต่างๆ
6. ยกเว้นหรือลดภาษีในกิจกรรมหรือวัสดุ
อุปกรณ์สาหรับควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทาง
เสียง
7. ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษ
ทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
8. สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุม
และแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง
9. สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวัง
แหล่งกาเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน
10. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึง
อันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และร่วมมือ
กัน ป้ อ ง กัน มิ ใ ห้เ กิ ด ม ล พิ ษ ท า ง เ สี ย ง
1. ปัญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความ
ราคาญให้แก่ชุมชนพักอาศัย
2. แหล่งน้าเน่าเสียจากการที่ขยะมูลฝอยมีอินทรีย
สารเน่าเปื่อยปะปนอยู่ เป็นอันตรายต่อการดารงชีวิต
ของมนุษย์และสัตว์น้า รวมทั้งผลเสียในด้านการใช้
แหล่งน้าเพื่อการนันทนาการ
3. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและสัตว์นาโรคต่างๆ
เช่น หนู แมลงวัน เป็นต้น
4. การกาจัดมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความ
เดือดร้อนราคาญแก่ผู้ที่อาศัยข้างเคียง รวมทั้งส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน
5. ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเป็นระเบียบ
และไม่น่าอยู่
6. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น ชุมชนจะต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและกาจัดขยะ มูลฝอย ค่าชดเชย
ความเสียหายในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้ และค่า
รักษาพยาบาลหากประชาชนได้รับโรคภัยไข้เจ็บจากพิษ
ของขยะมูลฝอย
1. กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การ
เผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ
และการหมักทาปุ๋ ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความ
แตกต่างกันในด้านต้นทุนการดาเนินงาน ความพร้อม
ขององค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น
2. จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ
- Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้
ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง
- Reuse การนามาใช้ซ้า เช่น ขวดแก้ว กล่อง
กระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น
- Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้
สามารถใช้งานต่อได้
- Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
- Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนา
กลับมาใช้ได้ใหม่
3. การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนาไปกาจัดจริงๆ
ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น
- ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนามา
กลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก
- ขยะเปียกสามารถนามาหมักทาปุ๋ ยน้าชีวภาพ
- ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋ อง
ฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกาจัดที่ปลอดภัย
4. ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลด
การใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพ
การใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนาของเสียกลับมาใช้
ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการ
ใช้งานได้นานขึ้น
5. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมี
ส่วนรวมลงทุนและดาเนินการจัดการขยะ
6. ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการ
จัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ
7. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้าง
จิตสานึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่า
เป็นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือ
กันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf

More Related Content

Similar to 03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมNamkang Patchar
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมNamkang Patchar
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยninjynoppy39
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Similar to 03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf (20)

สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf