SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
กฎหมายแพ่ง
• กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายเอกชนว่าด้วยเรื่องสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนต่อเอกชน ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย มีสาระพอสังเขป ได้ดังนี้
• 1.1 บุคคล หมายถึง สิ่งซึ่งมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย มี 2 ประเภท คือ
บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
• 1.1.1 บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษย์ซึ่งมีสภาพบุคคล และสิ้นสภาพ
บุคคลโดยการตายตามธรรมชาติ หรือตายโดยการสาบสูญ (กรณีปกติ 5 ปี และ
กรณีไม่ปกติ 2 ปี คือ อยู่ในระหว่างการรบสงคราม ประสบภัยในการเดินทาง เหตุ
อันตรายต่อชีวิต)
• 1.1.2 นิติบุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรองให้เป็นสภาพบุคคลสมมุติ
ให้มีสิทธิหน้าที่เหมือนบุคคลธรรมดา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
• ก) นิติบุคคลตามประมวลกกหมายแพ่งและพาณิชย์ได้แก่
1) กระทรวง ทบวง กรม
2) วัดวาอาราม ที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสงฆ์
3) ห้างหุ้นส่วนที่ได้จดทะเบียนแล้ว
4) บริษัทจากัด
• ข )นิติบุคคลเอกชนตามกฎหมายอื่น ได้แก่
1) บริษัทมหาชนจากัด
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายพาณิชย์ คือ กฎหมายว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของบุคคล อันเป็น
กฎหมายที่เกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้า โดยวางระเบียบเกี่ยวพันทาง
การค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น การตั้งหุ้นส่วนบริษัท
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งออกเป็น 6 บรรพ คือ
• บรรพ 1 ว่าด้วยหลักทั่วไป
• บรรพ 2 ว่าด้วยหนี้
• บรรพ 3 ว่าด้วยเอกเทศสัญญา
• บรรพ 4 ว่าด้วยทรัพย์สิน
• บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว
• บรรพ 6 ว่าด้วยมรดก
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการ
ประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดา
สนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทาไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้อง
เสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาล
การเริ่มจัดทาประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• หลังจากรัฐบาลสยามตัดสินใจจัดทาประมวลกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ใน
ร.ศ. 127 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2451 ก็ได้กฎหมายลักษณะอาญาเป็นประมวล
กฎหมายฉบับแรกของประเทศและประกาศใช้ในปีนั้นเอง
กฎหมายลักษณะบุคคล
• บุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
ซึ่งเรียกว่า “ผู้ทรงสิทธิ” เช่น มนุษย์บริษัท หรือพรรคการเมือง
กฎหมายรับรองให้เป็นบุคคลและให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
ส่วนพืชและสัตว์ไม่ถือเป็นบุคคลจึงไม่อาจมีสิทธิและหน้าที่ตาม
กฎหมายได้พืชและสัตว์เป็นได้เพียงทรัพย์เท่านั้น เช่น สุนัขไม่มีสิทธิ
เป็นเจ้าของปลอกคอ เพราะสุนัขไม่ใช่บุคคลจึงไม่สามารถมีสิทธิเป็น
เจ้าของทรัพย์ได้ ทั้งไดนี้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แบ่งบุคคล
ออกเป็น ๒ ประเภท คือ (๑) บุคคลธรรมดา และ (๒) นิติบุคคล
บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษย์หรือคนโดยทั่วไปที่เกิดขึ้น
ตามธรรมชาติที่กฎหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่ตาม
กฎหมาย
บุคคลธรรมดา
แบ่งออกเป็น
1. สภาพบุคคล
2. การนับอายุบุคคล
3. ความสามารถของบุคคล
1. สภาพบุคคล
คนซึ่งมีสิทธิและหน้าที่ได้ตามกฎหมาย แต่ละคนจะมีสิทธิและหน้าที่
ตามกฎหมาย ซึ่งสภาพบุคคลย่อมเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และ
สิ้นสุดเมื่อตายลง
1.1 การเริ่มต้นแห่งสภาพบุคคล
- มีการคลอด
การที่อวัยวะทุกส่วนของทารกได้พ้นออกมาจากครรภ์มารดา แต่ยังมิได้ตัด
สายสะดือ
- มีการอยู่รอดเป็นทารก
ต้องปรากฏว่าทารกที่คลอดมาแล้วนั้นมีการหายใจแล้ว แม้ได้หายใจเพียง
เสี้ยวนทีก็ถือว่าทารกมีสภาพบุคคล
1.2 การสิ้นสุดแห่งสภาพบุคคล
- การตายโดยธรรมชาติ
ในทางการแพทย์ถือว่าบุคคลจะถึงแก่ความตายเมื่อแกนสมองของบุคคลนั้นหยุด
ทางาน ในทางกฎหมาย อีกแนวหนึ่งว่า บุคคลถึงแก่ความตายเมื่อหัวใจหยุดเต้น ซึ่งไม่
ค่อยเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
- การตายโดยผลของกฎหมาย
หรือที่เรียกว่า "การสาบสูญ" เป็นบุคคลที่หายไปจากภูมิลาเนา โดยไม่ทราบข่าวคราว
เป็นระยะเวลาที่ศาลกาหนด จนมีผู้มีส่วนได้เสีย หรือพนักงานอัยการได้ร้องขอให้ศาล
สั่งให้เป็นบุคคลสาบสูญ บุคคลใดเป็นบุคคลสาบสูญประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการ
ดังนี้
1. บุคคลหายจากภูมิลาเนาโดยไม่ทราบข่าวคราว เป็นระยะเวลา 5 ปี
สาหรับกรณีทั่วไป หรือหายไปเป็นระยะเวลา 2 ปี สาหรับกรณีพิเศษ ได้แก่
หายไปในการรบสงคราม พาหนะที่บุคคลนั้นอับปาง ถูกทาลายหรือสูญหายไป
บุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายแก่ชีวิต เช่น คลื่นยักษ์ แผ่นดินไหว ตึกถล่ม
2. ผู้มีส่วนได้เสีย หรือพนักงานอัยการร้องขอต่อศาลให้บุคคลนั้นเป็น
บุคคลสาบสูญ
3. ศาลได้มีคาสั่งให้บุคคลดังกล่าวเป็นคนสาบสูญ ให้บุคคลนั้นถึงแก่
ความตายในวันที่ครบกาหนดตามระยะเวลาที่กาหนด แต่ไม่ได้ถือว่าบุคคลนั้นถึง
แก่ความตายในวันที่ศาลสั่งให้เป็นบุคคลสาบสูญ
2. การนับอายุบุคคล
การนับอายุบุคคลมี 4 กรณี
1. กรณีรู้วัน เดือน ปีเกิด
ให้เริ่มนับตั้งแต่วันเกิด
2. กรณีรู้เดือน ปีเกิด แต่ไม่รู้วัน
กฎหมายให้ถือเอาวันที่ 1 ของเดือนนั้นเป็นวันเกิด
3. กรณีรู้ปีเกิด แต่ไม่รู่วันและเดือนเกิด
กฎหมายให้ถือเอาวันเริ่มต้นของปฏิทินของปีที่บุคคลนั้นเกิด นั้น
ก็คือวันที่ 1 มกราคม นั่นเอง
4. กรณีไม่รู้วัน เดือน ปีเกิดเลย
กรณีเช่นนี้ต้องพิจารณาจากรูปร่าง หน้าตา สัณฐานของบุคคลนั้น
ประกอบกับพยานแวดล้อม
3. ความสามารถของบุคคล
บุคคลบางประเภทที่กฎหมายจากัดความสามารถในการใช้สิทธิเพื่อคุ้มครอง
ผลประโยชน์ของบุคคลดังกล่าวและไม่ให้ถูกบุคคลอื่นเอาเปรียบได้ บุคคลที่กฎหมาย
จากัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้เรียกว่า "ผู้ไร้ความสามารถ" ซึ่งมี 4 ประเภท
1. ผู้เยาว์
หมายถึงบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยมี 2 ประการคือ
1. การบรรลุนิติภาวะโดยอายุ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะ
เมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์
2. การบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส มี 2 กรณี
- เมื่อชายหญิงมีอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ และมีผู้ปกครองทั้งสอง
ฝ่ายยินยอม
- การสมรสเมื่อศาลอนุญาตให้มีการสมรส สาหรับกรณีที่ชายหรือหญิงมี
อายุไม่ครบ 17 ปีบริบริบูรณ์
ความสามารถในการทานิติกรรมของผู้เยาว์
ซึ่งนิติกรรมที่ผู้เยาว์สามารถทาได้เองมี 5 กรณี ดังนี้
1. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว
2. นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องทาเองเฉพาะตัว
3. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูปและจาเป็นในการดารงชีพ
4. นิติกรรมเมื่อผู้เยาว์มีอายุ 15 ปีบริบูรณ์
5. นิติกรรมเกี่ยวกับธุรกิจการค้าหรือการเป็นลูกจ้างที่ได้รับความ
ยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
2. คนไร้ความสามารถ
หมายถึง บุคคลที่มีอาการวิกลจริตหรืออาการทางจิตผิดปกติถึงขนาด
ขาดความสามารถโดยสิ้นเชิงในการกาหนดเจตนาของตนโดยอิสระ หรือบุคคล
ที่เจ็บป่วยจนไม่รู้สานึกของตนโดยสิ้นเชิง และศาลได้มีคาสั่งให้บุคคลนั้นเป็น
คนไร้ความสามารถ
ความสามารถในการทานิติกรรมของคนไร้ความสามารถ
กฎหมายกาหนดให้คนไร้ความสามารถไม่มีความสามารถในการทา
นิติกรรมใดๆเลย นิติกรรมใดๆที่คนไร้ความสามารถได้กระทาลงย่อมตกเป็น
โมฆียะเสมอ แม้จะกระทานิติกรรมนั้นโดยได้รับความยินยอมจากผู้อนุบาลก็
ตาม
3. คนวิกลจริต
หมายถึง บุคคลที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ
ความสามารถในการทานิติกรรมของคนวิกลจริต
เนื่องจากกฎหมายสันนิษฐานว่าคนวิกลจริตยังเป็นบุคคลที่ยังมีความสามารถ
ในการทานิติกรรมโดยสมบูรณ์เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป
4. คนเสมือนไร้ความสามารถ
หมายถึง บุคคลที่มีความบกพร่องบางประการไม่ถึงขนาดวิกลจริตหรือ
สูญเสียความสามารถในการกาหนดเจตนาของตนเองโดยสิ้นเชิง และศาลได้มี
คาสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลเสมือนไร้ความสามารถต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการ ดังนี้
1. บุคคลนั้นต้องมีเหตุบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเหตุ
บกพร่องทางร่างกายจิตใจ หรือความประพฤติบางอย่างที่กฎหมายกาหนด
2. เหตุบกพร่องตามข้อ 1 ทาให้บุคคลนั้นไม่สามารถจัดการงานได้
ด้วยตนเอง หรือจัดกิจการไปในทางเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือ
ครอบครัว
ความสามารถในการทานิติกรรมของคนเสมือนไร้ความสามารถ
เนื่องจากคนเสมือนไร้ความสามารถมีความสามารถในการทานิติ
กรรมเหมือนคนปกติ
นิติบุคคล
บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นให้มีสิทธิและหน้าที่ นิติบุคคลแบ่งเป็น 2 ประเภท
1. นิติบุคคลเอกชน คือ นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเอกชน การดาเนินการตั้งอยู่
พื้นฐานของการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างเอกชนด้วยกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.1 นิติบุคคลเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มี5 ประเภท
• 1. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลหรือห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
• 2. ห้างหุ้นส่วนจากัด
• 3. บริษัทจากัด
• 4. สมาคม
• 5. มูลนิธิ
จะเห็นได้ว่าห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัด และบริษัท
จากัดเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากาไร ส่วนสมาคมและ
มูลนิธินั้นเป็นนิติบุคคลที่ไม่แสวงหาผลกาไร
1.2. นิติบุคคลเอกชนตามกฎหมายอื่น คือ นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตาม
กฎหมายมหาชน ซึ้งนิติบุคคลนั้นมีอานาจเหนือบุคคลใดๆที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินงานของตน เช่น กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด ซึ่งเหล่านี้ก็จะ
หมายถึง อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน จึงไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
• ผู้แทนของนิติบุคคล คือ นิติบุคคลที่ไม่มีตัวตนในความเป็นจริง
ดังนั้นการกระทาของนิติบุคคลจึงต้องกระทาโดยบุคคลธรรมดาซึ่งมี
ฐานะเป็น ผู้แทนของนิติบุคคล
• ภูมิลาเนาของบุคคลธรรมดา คือ ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยู่เป็น
แหล่งสาคัญ ซึ่งถิ่นที่จะเป็นภูมิลาเนาได้นั้นจะต้องประกอบด้วย
หลักเกณฑ์สาคัญ 2 ประการ
• 1. เป็นที่อยู่ของบุคคลตามข้อเท็จจริง
• 2. เป็นที่อยู่ซึ่งบุคคลนั้นถือเป็นแหล่งสาคัญ
โดยปกติบุคคลธรรมดาทั่วไปสามารถเลือกภูมิลาเนาได้ตามใจ
สมัคร แต่มีบุคคลบางประเภทที่กฎหมายกาหนดภูมิลาเนาให้
โดยเฉพาะเพื่อความสะดวก ได้แก่
• ภูมิลาเนาของสามีภรรยา
• ภูมิลาเนาของผู้เยาว์
• ภูมิลาเนาของคนไร้ความสามารถ
• ภูมิลาเนาของข้าราชการ
• ภูมิลาเนาของผู้ที่จาคุกตามคาพิพากษา
ตัวอย่างข่าว
ศาลสั่งหมอชาลีจ่าย 7.4 ล้านคดีดูดไขมันเด็ก ม.5 ดับ
ศาลตัดสิน นายแพทย์ชาลี กาญจนรักษ์ จ่าย
ค่าเสียหาย 7.4 ล้านบาท คดีผ่าตัดดูดไขมันนักเรียนสาว
ม.5 เสียชีวิต หลังพ่อ-แม่ ยื่นฟ้ องเรียกค่าเสียหาย 12 ล้าน
บาท โดยก่อนหน้านี้ศาลอาญาตัดสินจาคุกไปแล้ว
นายแพทย์ชาลี กาญจนรักษ์ อายุ 48 ปี เจ้าของคลินิกศัลยกรรมความงาม ชา
ลีคลินิก ดูดไขมันเป็นเหตุให้นักเรียนชั้น ม.5 โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัด
เชียงใหม่เสียชีวิตอยู่บนเตียงคนไข้ หลังจากบิดาและมารดาของผู้ตายเป็นโจทก์ยื่น
ฟ้องในคดีแพ่งเรียกค่าเสียหายจานวน 12,637,000 บาท
คดีนี้ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 56 ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษา
ลงโทษจาคุกหมอชาลีเป็นเวลา 4 ปี 3 เดือน และในวันนี้ ได้มีคาตัดสินใน
คดีแพ่ง ซึ่งทางฝ่ายจาเลยทั้งนายแพทย์ชาลี และทนายความ ไม่มาฟังคา
พิพากษา ศาลจึงได้อ่านลับหลังและได้ตัดสินให้นายแพทย์ชาลีชดใช้เงิน
จานวน 7,435,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ให้กับครอบครัว
ผู้เสียชีวิต ซึ่งเมื่อนายแพทย์ชาลีไม่มาฟังคาตัดสิน จะได้ส่งคาบังคับคดีให้
ปฏิบัติตามคาสั่งของศาลที่ถูกจองจาอยู่ที่เรือนจากลางจังหวัดลาปางได้
รับทราบต่อไป โดยนายแพทย์ชาลี มีสิทธิอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน จากนี้
คาถาม
ข้อที่ 1 :
การกระทาใดเป็นความผิดทางกฎหมายแพ่ง
1. แก้วเช่าบ้านแล้วค้างค่าเช่าเป็นเวลานาน
2. ชาติเสพยาบ้า แล้วไม่ยอมทางานให้แก่
นายจ้าง
3. โต้งลักรถจักรยานยนต์ แล้วนาไปทิ้งน้า
4. สวยตบหน้าสาว เพราะสาวไปมี
ความสัมพันธ์ฉันชู้สาวกับแฟนตนเอง
ข้อที่ 2
ข้อใดคือความหมายของคาว่า "กฎหมาย
พาณิชย์" ที่ถูกต้องที่สุด
1. กฎหมายที่กาหนดสิทธิและหน้าที่และความ
รับผิดชอบระหว่างเอกชน
2. กฎหมายที่ยอมความกันได้
3. กฎหมายที่ยอมความไม่ได้
4. กฎหมายว่าด้วยสิทธิ หน้าที่ของบุคคล เป็น
กฎหมายเกี่ยวกับเศรษฐกิจและการค้า
ข้อที่3.
คาสั่งใดต่อไปนี้ ไม่ต้องมีคาสั่งโดยศาลและไม่
ต้องประกาศในราชกิจจานุเษกษา
1. สั่งให้เป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ
2. สั่งให้เป็นบุคคลสาบสูญ
3.สั่งให้ถอนจากการเป็นบุคคลสาบสูญ
4. สั่งให้เป็นบุคคลวิกลจริต
ข้อที่4.
บุคคลต่อไปนี้ ไม่เป็นบุคคลสาบสูญ
1.นายหนึ่งหายเหตุการณ์เครื่องบินตก 2 ปี
2. นายสองเดินทางไปต่างประเทศ จากนั้น
ไม่เคยมีใครพบอีกเลย 3 ปี
3. นายสองหายไปจากเหตุการณ์สึนามิเป็น
เวลา 2 ปีติดต่อกัน แต่มีคนมาพบอีกครั้งหลังจาก 2
ปีหลังเหตุการณ์ จากนั้นก็หายไปอีก 3 ปี
4. มีข้อถูกมากกว่า 1 ข้อ
ข้อที่5. นิติบุคคลแบ่งได้ เป็น กี่ประเภท
1. 1 ประเภท
2. 2 ประเภท
3. 3 ประเภท
4. 4 ประเภท
จัดทาโดย
นางสาวกาญจนา แหลมแก้ว 561120709
นางสาวสวภาร์ สารทไทย 561120718
นางสาวกฤษวรรณ จิตพินิจ 561120722
นายนิรุต กุลคิด 561120724
นางสาวเบญจวรรณ หอมรื่น 561120725
นางสาวรุ่งนภา เทียนบุตร 561120729
นายกฤษณะ เพชรพลอย 561120743

More Related Content

More from Yosiri

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 

กฎหมายบุุคคล ปี1/56