SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
กฎหมายลักษณะ
ครอบครัว
การหมั้น?
การที่ชายและหญิงทาสัญญาว่าจะทาการสมรสอยู่
กินด้วยกัน กฎหมายไม่ได้บังคับว่าจะต้องมีการหมั้นก่อน
การสมรส ชายหญิงอาจสมรสกันโดยไม่จาเป็นต้องหมั้น
ก่อนก็ได้
เงื่อนไขของการหมั้น 2 ประการ
1.อายุของคู่หมั้น
2.ความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
แบบของการหมั้น..
การหมั้นสามารถกระทาด้วยวาจาหรือลาย
ลักษณ์อักษรก็ได้ แต่ฝ่ายชายจะต้องส่งมอบของหมั้น
ให้แก่หญิงในขณะทาการหมั้น มิฉะนั้นการหมั้นไม่
สมบูรณ์
ของหมั้น..
ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายได้ส่งมอบเป็นของหมั้นให้แก่
หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น
ลักษณะของของหมั้น
1.ของหมั้นต้องเป็ นทรัพย์สิน
2.ของหมั้นต้องเป็ นของที่ชายให้ไว้แก่หญิง
3.ของหมั้นต้องส่งมอบหรือโอนให้แก่หญิงเท่านั้น
4.วัตถุประสงค์ของการให้ของหมั้น
สินสอด?
ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายมอบให้แก่บิดามารดาหรือผู้ปกครอง
ของหญิงที่ตนจะสมรสด้วยเพื่อตอบแทนที่หญิงสมรถกับชาย
ลักษณะของสินสอด
1. สินสอดต้องเป็นทรัพย์สิน
2. สินสอดจะส่งมอบเมื่อใดก็ได้
3. สินสอดนั้นชายต้องส่งมอบแก่บิดามารดา
4. สินสอดต้องให้เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส
5. สินสอดต้องให้โดยมีเจตนาจะสมรสกันตามกฎหมาย
การสมรส?
การตกลงระหว่างชายและหญิงที่จะอยู่กินฉันสามี
ภรรยา โดยการจดทะเบียนสมรสเพื่อก่อสถานะเป็นสามี
ภรรยาที่ชอบด้วยกฎหมาย
เงื่อนไขของการสมรส
1. ชายและหญิงต้องมีอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์แล้วทั้งสองคน
2. ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือเป็นคนไร้ความสามารถ
3. ชายและหญิงต้องไม่เป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงทั้งขึ้นไปและลงมา
4. ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้
5. ชายหรือหญิงจะสมรสกันขณะตนมีคู่สมรสงอยู่ก่อนแล้วไม่ได้
6. ชายและหญิงทั้งสองคนต้องสมรสโดยยินยอมเป็นสามีภรรยากัน
7. หญิงหม้ายจะทาการสมรสใหม่ได้เมื่อการสมรสเดิมสิ้นสุดลงไปแล้วไม่น้อยกว่า
310 วัน
8. ผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดา หรือผู้ปกครองให้ทาการสมรส
9. การสมรสต้องไม่บกพร่องในการแสดงเจตนา
ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยา
ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยามี 2 ประเภท คือ 1.สินส่วนตัว 2.สินสมรส
สินส่วนตัว?
ทรัพย์สินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยเฉพาะ แบ่งเป็น 4
ประเภท 1.ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส
2.ที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัวหรือเครื่องประดับกายตามควรแก่ฐานะ
หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นในการประกอบวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่าย
หนึ่ง
3.ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการให้
โดยเสน่หา
4.ที่เป็นของหมั้น สินส่วนตัวของคู่สมรสฝ่ายใดให้ฝ่ายนั้นเป็นผู้จัดการ
สินสมรส?
ทรัพย์สินที่สามีภรรยาทามาหาได้ร่วมกัน แต่ละฝ่ายจึงมีส่วนเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือเป็นกรรมสิทธิ์ร่วมกัน กฎหมายแบ่งสินสมรสออกเป็น 3
ประเภท
1. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส
2. ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้
ระบุว่าเป็นสินสมรส
3. ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินสมมรส
การสิ้นสุดแห่งการสมรส
การสมรสย่อมสิ้นสุดลงด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งใน 3 ประการดังต่อไปนี้
1. คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถึงแก่ความตาย
2. ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการสมรสที่เป็นโมฆียะ
3. คู่สมรสหย่าขาดจากการเป็นสามีภรรยากัน
– การหย่าโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย
– การหย่าโดยคาพิพากษาของศาล
เหตุฟ้ องหย่า
1. สามีหรือภรรยาอุปการะเลี้ยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภรรยาหรือสามี
2. สามีหรือภรรยาประพฤติชั่ว
3. สามีหรือภรรยาทาร้าย
4. สามีหรือภรรยาจงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ายหนึ่งไปเกิน1ปี
5. สามีหรือภรรยาต้องคาพิพากษาถึงที่สุดและได้ถูกจาคุกเกิน1ปี
6. สามีและภรรยาสมัครใจแยกกันอยู่เพราะอยู่ด้วยกันโดยปกติสุขไม่ได้
7. สามีหรือภรรยาถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญ
8. สามีหรือภรรยาไม่อุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ายหนึ่งจนเป็นที่เดือดร้อน
เหตุฟ้ องหย่า(ต่อ)
9. สามีหรือภรรยาวิกลจริตติดต่อกันเกิน3ปี
10. สามีหรือภรรยาประพฤติผิดหนังสือทัณฑ์บนที่ทั้งคู่ทากันไว้
11. สามีหรือภรรยาเป็นโรคติดต่ออย่างร้ายแรงอันเป็นภัยแก่อีกฝ่ายหนึ่ง
12. สามีหรือภรรยามีสภาพแห่งกายที่ไม่อาจร่วมประเวณีได้ตลอดกาล
บิดามารดากับบุตร
การเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของบิดามารดา
- เด็กที่เกิดระหว่างสมรสหรือภายในเวลา 310 วันนับแต่การสมรสสิ้นสุด
ลงให้สันนิษฐานว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรือชายซึ่งเคย
เป็นสามีของหญิง
- เด็กที่เกิดจากการสมรสที่เป็นโมฆะ
- เด็กที่เกิดระหว่างสมรสที่เป็นโมฆะซึ่งศาลพิพากษาให้เพิกถอนใน
ภายหลังให้สันนิษฐานว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของชายซึ่งเป็นสามี
จากการสมรสที่เป็นโมฆียะดังกล่าว
- เด็กที่เกิดจากหญิงไม่ได้สมรสกับชาย เด็กที่เกิดขึ้นไม่มีบิดาที่ชอบด้วย
กฎหมาย
การทาให้บุตรนอกสมรสเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา
เด็กที่เกิดจากบิดามารดาซึ่งไม่ได้สมรสกันย่อมเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
ของมารดาแต่เพียงผู้เดียว เด็กย่อมไม่เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา
ทั้งนี้เด็กนั้นจะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดาก็ต่อเมื่อปรากฏ
ข้อเท็จจริงอย่างดอย่างหนึ่ง 3 ประการนี้
- บิดามารดาสมรสกันในภายหลัง
- บิดาจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร
- ศาลพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา เด็กจะฟ้ อง
ชายผู้ให้กาเนิดได้ก็ต่อเมื่อมีเหตุฟ้ องคดีอย่างใดอย่างหนึ่งใน7ประการ
ดังนี้
1. เมื่อมีการข่มขืนกระทาชาเรากักขังหน่วงเหนี่ยวหญิงมารดาโดยมิชอบ
ด้วยกฎหมาย
2. เมื่อมีการลักพาตัวหญิงมารดาไปในทางชู้สาวหรือมีการล่อลวงร่วม
ประเวณีกับหญิงมารดา
3. เมื่อมีเอกสารของบิดาแสดงว่าเด็กนั้นเป็นบุตรของตน
4. เมื่อปรากฏในทะเบียนคนเกิดว่าเด็กเป็นบุตร โดยมีหลักฐานว่า
บิดาเป็นผู้แจ้งการเกิดหรือ รู้เห็นยินยอมในการแจ้งนั้น
5. เมื่อบิดามารดาอยู่ด้วยกันอย่างเปิดเผยในระยะเวลาที่มารดา
สามารถท้องได้
6. เมื่อมีการร่วมประเวณีกับหญิงมารดาในระยะเวลาที่สามารถท้องได้
และมีเหตุที่ทาให้เชื่อว่าเด็กนั้นไม่ใช่บุตรของคนอื่น
7. เมื่อมีพฤติการณ์ที่รู้กันทั่วไปตลอดมาว่าเป็นบุตร
สิทธิและหน้าที่ระหว่างบิดามารดากับบุตร
- สิทธิและหน้าที่ของบุตรต่อบิดามารดา
- สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร
- สิทธิและหน้าที่ของบุตรต่อบิดามารดา
1. บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดา
2. บุตรมีสิทธิได้สัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดา
3. บุตรจะฟ้ องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรืออาญาไม่ได้
4. บุตรมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
5. บุตรมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาในฐานะทายาทโดยธรรม
อันดับแรก
- สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร
1. ให้การศึกษาเลี้ยงดูแก่บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2. บิดามารดามีอานาจในการปกครองบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
3. บิดามารดามีสิทธิได้รับมรดกของบุตรในฐานะทายาทโดยธรรม
ลาดับที่ 2
บุตรบุญธรรม
บุคคลใดไม่ว่าจะมีคู่สมรสแล้วหรือยังไม่มีคู่สมรสก็ตามมีสิทธิจดทะเบียน
รับบุคคลอื่นเป็นบุตรบุญธรรมของตนได้ การรับบุตรบุตรธรรมจะมีผลทาให้
เด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย ก็ต่อเมื่อได้จดทะเบียนรับบุตรบุญ
ธรรมแล้วเท่านั้น
- คุณสมบัตรของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม
คุณสมบัตรของผู้รับบุตรบุญธรรมมี 2 ประการ คือ
1. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปี และ
2. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
เงื่อนไขการรับบุตรบุญธรรม
1. ความยินยอมของบุตรบุญธรรม ถ้าบุตรบุญธรรมมีอายุเกิน 15ปี
จะต้องได้รับความยินยอมจากบุตรบุญธรรมก่อน
2. ความยินยอมของบิดามารดา การรับผู้เยาว์มาเป็นบุตรบุญ
ธรรมจะต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาเสียก่อน
3. ความยินยอมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุญธรรม
บุญธรรม
ผลของการรับบุตรบุญธรรม
1. บุตรบุญธรรมมีสิทธิเท่าเทียมกันกับบุตรชอบโดยกฎหมายของผู้รับบุตร
บุญธรรม
2. บิดามารดาโดยกาเนิดของบุตรบุญธรรมหมดอานาจการปกครองบุตร
ของตนตั้งแต่วันที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม และผู้รับบุตรบุญธรรมเป็น
ผู้ใช้อานาจปกครองแทน
3. บุตรบุญธรรมไม่สูญเสียสิทธิและหน้าที่ในครอบครัวเดิม
การเลิกรับบุตรบุญธรรม
การเลิกรับบุตรบุญธรรมมี 3 วิธี
1. บุตรบุญธรรมกับผู้รับบุตรบุญธรรมตกลงเลิกรับบุตรบุญธรรม
2. บุตรบุญธรรมสมรสกับผู้รับบุตรบุญธรรม
3. ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือบุตรบุญธรรมฟ้ องเลิกการรับบุตรบุญ
ธรรม
สมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวทิพาพร ยะคานะ รหัส 535120201
2. นางสาวจุฑารัตน์ อ่อนศรี รหัส 535120206
3. นายพิชญ์พิพัฒน์ ฝักทองอยู่ รหัส 535120211
4. นางสาวพรพิมล หมูสุปปาบ รหัส 535120230
คาถาม?
1.อายุของคู่หมั้นต้องมีอายุไม่ต่ากว่ากี่ปี?
ก.ไม่ต่ากว่า 15 ข.ไม่ต่ากว่า 17
ค. ไม่ต่ากว่า 18 ง.ไม่ต่ากว่า 20
2.สิทธิและหน้าที่ของบุตรต่อบิดามารดาข้อใดถูกต้อง?
ก.บุตรมีสิทธิได้สัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดา
ข.บุตรมีสิทธิใช้ชื่อ-สกุลของบิดามารดา
ค. บุตรมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
ง.ถูกทุกข้อ
3.คุณสมบัติของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมข้อใดถูกต้อง?
ก.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปี และ
ข.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
ค. ข้อ ก.และ ข.ถูกต้อง
ง.ไม่มีข้อใดถูก
4. เงื่อนไขเวลาการรับบุตรบุญธรรมคือข้อใด?
ก. ความยินยอมของบุตรบุญ
ข.ความยินยอมของบิดามารดา
ค. ความยินยอมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
5. การเลิกรับบุตรบุญธรรมสามารถทาได้กี่วิธี?
ก. 2 วิธี
ข.3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
เฉลยคาถาม?
1. ข.ไม่ต่ากว่า 17
2. ง.ถูกทุกข้อ
3. ค. ข้อ ก. และ ข.ถูกต้อง
4. ง.ถูกทุกข้อ
5. ข.3 วิธี

More Related Content

More from Yosiri

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 

ครอบครัว