SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
บุคคล 
ทรัพย์ 
นิติกรรม 
สัญญา 
หนี้ 
ละเมิด 
ครอบครัว 
มรดก
สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดการคลอดนั้น หมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภ์ มารดาหมดทั้งตัวแล้วแม้จะยังไม่ตัดสายสะดือ และต้องรอดอยู่ด้วยแม้เพียงชั่วระยะเวลานิดเดียวก็มี สิทธิต่างๆ ในทรัพย์สินย้อนไปตั้งแต่วันแรกที่ปฎิสนธิในครรภ์มารดา เช่น อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตาย ก่อนเด็กคลอดได้ เป็นต้น (มาตรา 15) 
ภูมิลาเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี้ 
1.ภูมิลาเนาของบุคคลธรรมดา ได้แก่ ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยู่เป็นหลักแห่งสาคัญ(ม.37) 
2.ถ้าบุคคลมีถิ่นที่อยู่หลายแห่งสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหล่งที่ทามาหากินเป็นปกติหลายแห่ง ก็ได้ถือเอา แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นภูมิลาเนาของบุคคลนั้น (ม.38) 
3. ถ้าภูมิลาเนาไม่ปรากฏ ให้ถือว่าถิ่นที่อยู่เป็นภูมิลาเนา(ม.39) 
4. ถ้าไม่มีถิ่นที่อยู่เป็นปกติ หรือไม่มีที่ทาการงานเป็นหลักแหล่ง ถ้าพบตัวในถิ่นไหนก็ให้ถือว่าถิ่นนั้น เป็น ภูมิลาเนา(ม. 40) 
5. บุคคลอาจแสดงเจตนากาหนดภูมิลาเนา ณ ถิ่นใดเพื่อกระทาการใด ก็ถือว่าถิ่นนั้นเป็นภูมิลาเนาเฉพาะ การนั้น(ม. 42) 
บุคคลธรรมดา
ความสามารถของบุคคล 
1. ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ม. 19) 
ทาการสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย(ม.20) 
สมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ17ปีบริบูรณ์ หรือ เมื่อศาลอนุญาตให้ทาการ สมรส(ม. 1448) จาไว้ว่า “บรรลุแล้วบรรลุเลย” 
ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของ “ผู้แทนโดยชอบธรรม” ก่อน มิฉะนั้น นิติกรรมนั้นๆเป็นโมฆียะคืออาจถูกบอกล้างได้ในภายหลัง(ม.21) 
ผู้เยาว์อาจทานิติกรรมที่สมบูรณ์ได้เอง โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม คือ 
1. ทาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ 15 ปีบริบูรณ์ (ม.25) 
2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว(ม. 22)เช่น รับการให้โดยไม่มีข้อผูกพัน 
3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว(ม. 23)เช่น การรับรองบุตร กรณีตาม มาตรา 1548 
4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป และเป็นการจาเป็นในการดารงชีพตามควร(ม.24) 
5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรมให้ประกอบการค้า(ม.27) 
*** การเปลี่ยนภูมิลาเนากระทาได้โดยการแสดงเจตนาว่าจงใจจะเปลี่ยนภูมิลาเนา และย้ายถิ่นที่อยู่ (ม. 41)
2. คนไร้ความสามารถคือ คนวิกลจริตที่คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ของผู้นั้น หรือพนักงาน อัยการได้ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนไร้ความสามารถ(ม. 28)และจัดให้อยู่ใน ความอนุบาล นิติกรรมที่คนไร้ความสามรถกระทาลงย่อมตกเป็นโมฆียะทั้งสิ้น แม้จะได้รับ ความยินยอมจาก “ผู้อนุบาล” ก็ไม่ได้ (ม. 29) 
ส่วนคนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หากไปทานิติกรรม ย่อม ต้องถือว่ามีผลสมบูรณ์ 
เว้นแต่ว่าได้กระทาในขณะจริตวิกล+คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้อยู่แล้ว นิติกรรมนั้นจึงตกเป็น โมฆียะ (ม.30) 
3. คนเสมือนไร้ความสามารถคือบุคคลที่ปรากฏว่า ไม่สามารถจัดทาการงานของตนเองได้ เพราะมีกายพิการ จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ แต่ไม่ถึงขนาดวิกลจริต ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ ติดสุรายาเมา เมื่อคู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน หรือพนักงานอัยการร้องขอ ต่อศาล ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ โดยให้อยู่ใน “ความพิทักษ์” ก็ ได้(ม. 32)
การสิ้นสภาพบุคคล 
1ตาย (ม. 15) 
2. สาบสูญ(โดยผลของกฎหมาย) ได้แก่ 
2.1 บุคคลไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่โดยไม่มีใครทราบว่าเป็นตายร้ายดี 
อย่างไรตลอดระยะเวลา 5ปี (61 ม. วรรคแรก) 
2.2 บุคคลไปทาการรบหรือสงคราม หรือตกไปอยู่ในเรือเมื่ออับปราง 
หรือตกไปในฐานะที่จะเป็นภยันตรายแก่ ชีวิตประการอื่นใด หากนับ 
แต่เมื่อภยันตราย ประการ อื่นๆ ได้ผ่านพ้นไปแล้วนับได้เวลาถึง 2 ปี 
ยังไม่มีใครทราบว่าบุคคล นั้นเป็นตายร้ายดีอย่างไร(ม.61 วรรคสอง)
นิติบุคคล เกิดขึ้นตามกฎหมาย เช่น 
1. ทบวงการเมือง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล เทศบาลและสุขาภิบาลทั้งหลาย กรม ตารวจกองทัพบก/ เรือ/อากาศ แต่กรมในกองทัพนั้นไม่เป็นนิติบุคคล 
2. วัดวาอาราม เฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา ที่เรียกกันว่าเป็นวัดที่ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาส่วนถ้าเป็นมัสยิดหรือวัดของศาสนาคริสต์ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจึงจะเป็น เจ้าของที่ดินได 
3. ห้างหุ่นส่วนที่จดทะเบียนแล้ว / บริษัทจากัด/ สมาคม และมูลนิธิ ส่วนสาขาของนิติบุคคล ต่างประเทศที่เข้ามาประกอบการในประเทศไทยก็เป็นนิติบุคคล เช่นเดียวกับนิติบุคคลในประเทศ นั้น แม้นิติบุคคลในต่างประเทศนั้นจะมิได้มาจดทะเบียนในประเทศไทยก็ตาม เมื่อนิติบุคคล ดังกล่าวได้เป็นนิติบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายของประเทศนั้นๆแล้ว
ทรัพย์ 
ความหมาย 
“ทรัพย์” หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง(ม.137) 
“ทรัพย์สิน” หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและ ถือเอาได้(ม. 138) 
ประเภทของทรัพย์ 
1.อสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น 
1.1 ที่ดิน หมายถึง พื้นแผ่นดิน รวมตลอดถึง ภูเขา เกาะ และที่ชายทะเลด้วย 
1.2 ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร 
1.3 ทรัพย์ ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน 
1.4 สิทธิอันเกี่ยวกับ 1.1, 1.2 และ 1.3 อันได้แก่ สิทธิในกรรมสิทธิ์(ม.1336), สิทธิครอบครอง (ม.1367), สิทธิจานอง, สิทธิเก็บกิน (ม.1417) ภาระจายอม (ม.1387) เป็นต้น
2. สังหาริมทรัพย์ ได่แก่ 
2.1 ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ 
2.2 สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ เช่น สิทธิจานอง สิทธิยึดหน่วง เป็นต้น 
3. ทรัพย์แบ่งได้ (ม.141) ได้แก่ ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนๆ ได้ โดยยังคงสภาพ เดิมอยู่ 
4. ทรัพย์แบ่งไม่ได้ (ม.142) ได้แก่ 
4.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้โดยสภาพ เช่น บ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น 
4.2 ทรัพย์ที่กฎหมายถือว่าแบ่งไม่ได้ เช่น หุ้นของบริษัท ส่วนควบของทรัพย์ เป็นต้น 
5. ทรัพย์นอกพาณิชย์(ม.143)ได้แก่ 
5.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้ เช่น ก้อนเมฆ ดวงอาทิตย์ เป็นต้น 
5.2 ทรัพย์ที่ไม่อาจโอนกันได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ที่ดินธรณีสงฆ์ ยาเสพติด เป็น ต้น
ส่วนประกอบของทรัพย์ 
1. ส่วนควบ(ม.144) ได้แก่ ส่วนซึ่งว่าโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เป็น สาระสาคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้นและไม่อาจจะแยกจากกันได้ นอกจากทาลายทาให้บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลรูปทรงหรือสภาพไป ข้อยกเว้นในเรื่องส่วนควบมีดังนี้ (ม.145, 146) 
1.1 ไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ 
1.2 ทรัพย์อันติดกับ ที่ดิน หรือโรงเรือนชั่วคราว 
1.3 โรงเรือนหรือการปลูกสร้างอย่างอื่น ซึ่งผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่นได้ใช้สิทธิปลูกทาลงไว้ 
2. อุปกรณ์ (ม.147) ได้แก่ สิ่งที่ใช้บารุงดูแลรักษาทรัพย์ประธาน และสามารถแยกออกจากทรัพย์ ประธานได้โดยไม่ทาให้เปลี่ยนแปลงรูปทรง ต่างจากการเป็นส่วนควบ 
3. ดอกผลคือ ผลประโยชน์ที่ได้งอกเงยจากทรัพย์สิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นเองโดยสม่ำเสมอแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (ม.148) 
3.1 ดอกผลธรรมดาคือ สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยการมี 
หรือใช้ทรัพย์นั้นตามปกตินิยม เช่น ผลไม้ น้ำนมขนสัตว์ และลูกของสัตว์ เป็นต้น 
3.2 ดอกผลนิตินัยซึ่งเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย เช่น ดอกเบี้ย กาไรค่าเช่า ค่าปันผล ฯ
บุคคลสิทธิและทรัพย์สิทธิ 
“บุคคลสิทธิ”คือ สิทธิหรือบุคคลที่จะบังคับให้กระทาการ งดเว้นกระทาการหรือส่งมอบ ทรัพย์สินให้ ได้แก่สิทธิต่างๆ ที่เจ้าหนี้จะบังคับเอาได้จากลูกหนี้นั่นเอง 
“ทรัพย์สิทธิ”คือ สิทธิเหนือทรัพย์สิน สามารถบังคับได้โดยตรงเอากับตัวทรัพย์สินได้ ทรัพย์ สิทธิเกิดขึ้นได้ก็แต่อาศัยอานาจของกฎหมายเท่านั้น ได้แก่ กรรมสิทธิ์สิทธิอาศัย ภาระจายอม สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน และภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ (ม.1387-1434) เป็นต้น 
การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิ 
1. ผลของนิติกรรม เช่น สัญญาซื้อขาย เป็นต้น 
2. ผลของกฎหมาย ได้แก่ การครอบครองปรปักษ์/ การได้รับมรดก / การรับรองลิขสิทธิ์เป็น ต้น
นิติกรรม 
หลักเกณฑ์สาคัญของนิติกรรม (ม.149) 
1)ต้องมีการแสดงเจตนา 2) ต้องกระทาโดยใจสมัคร 
3) มุ่งให้มีผลผูกพันทางกฎหมาย4) เป็นการทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และ 
5) ผู้ที่ทานิติกรรมต้องมี“ความสามารถ” ในการทานิติกรรมด้วย 
ประเภทของนิติกรรม 
1. นิติกรรมฝ่ายเดียวเช่น การทาพินัยกรรม / การปลดหนี้ (ม.340) / การบอกเลิกสัญญา (ม.386) / โฆษณาจะให้รางวัล (ม.362 และ 365) เป็นต้น นิติกรรมฝ่ายเดียวนี้ มีผลตาม กฎหมายแล้ว แม้จะยังไม่มีผู้รับก็ตาม 
2. นิติกรรมหลายฝ่ายคือ มีฝ่ายที่ทาคาเสนอและอีกฝ่ายทาคาสนอง เมื่อคาเสนอและคาสนอง ตรงกัน ก็เกิดสัญญา เช่น สัญญาซื้อขาย / สัญญาเช่า / สัญญาค้าประกัน เป็นต้น
ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม 
1. ความสามารถในการทานิติกรรมกล่าวคือ ถ้านิติกรรมได้กระทาลงโดยผู้หย่อน ความสามารถ คือ 
1.1) ผู้เยาว์ 1.2) คนไร้ความสามารถ 1.3) คนเสมือนไร้ความสามารถ 
เป็นโมฆียะ(ม.153) 
2. วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม 
2.1) เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย 
2.2) เป็นการพ้นวิสัย 
2.3) เป็นการขัดความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 
เป็นโมฆะ 
(ม.150)
3. แบบแห่งนิติกรรม 
3.1) การทาเป็นหนังสือ เช่น การโอนหนี้ (ม.306) / สัญญาเช่าซื้อ (ม.572) / สัญญา ตัวแทนบางประเภท (ม.798) ถ้าตกลงเพียงวาจา สัญญานั้นเป็นโมฆะ 
3.2) การทาเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เช่น การคัดค้านตั๋วแลกเงิน (ม.961) / การ ทาพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง (ม.1658) เป็นต้น ถ้าไม่ได้ทาเป็นหนังสือต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ย่อมใช้บังคับไม่ได้ 
3.3) การทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น สัญญาซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์(ม.456) / สัญญาขายฝาก (ม.491) / สัญญาจานอง(ม.714) เป็นต้น ถ้าไม่ทา ตามแบบเป็นโมฆะ 
4. การแสดงเจตนา 
4.1 เจตนาอย่างหนึ่งแต่แสดงออกอีกอย่างหนึ่งนิติกรรมนั้นมีผลใช้บังคับได้เว้นแต่อีก ฝ่ายหนึ่งจะได้รู้ถึงเจตนาที่แท้จริง (ม.154) หรือ การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่าย หนึ่ง (ม.155) หรือนิติกรรมอาพราง (ม.155 วสอง) เป็นโมฆะ
4.2 การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิด 
(1) สาคัญผิดในสาระสาคัญของนิติกรรม 
-สาคัญผิดในประเภทของนิติกรรม 
-สาคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่สัญญา 
-สาคัญผิดในวัตถุแห่งนิติกรรม 
(2) สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์ ถ้าคุณสมบัติดังกล่าว เป็นสาระสาคัญของนิติ กรรม กล่าวคือ ถ้ารู้ว่า บุคคลหรือทรัพย์ไม่ได้คุณสมบัติที่ต้องการ ก็คงไม่ทานิติกรรมด้วย นิติ กรรมนั้นเป็นโมฆียะ(ม. 157)เป็นโมฆะ(ม.156) 
(3) สาคัญผิดเพราะกลฉ้อฉล ได้แก่ การที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งใช้อุบายหลอกลวง ให้เขาหลงเชื่อแล้วเขา ทานิติกรรม ซึ่งถ้ามิได้ใช้อุบายหลอก เช่นว่านั้น เขาคงไม่ทานิติกรรมด้วยนิติกรรมนั้นเป็น โมฆียะ (ม. 159) 
(4) การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขูมนิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ (ม. 164) 
ถ้าการข่มขูมนั้นถึงขนาดที่ทาให้ผู้ถูกขู่กลัวจริงๆ แต่การขูมว่าจะใช้สิทธิตามปกตินิยมก็ดี หรือความกลัวเพราะนับถือยาเกรงก็ดีไม่ถือว่าเป็นการขูม(ม.165)
ผลแห่งความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม 
“โมฆะ”หมายถึง นิติกรรมนั้นเสียเปล่ามาตั้งแต่ต้น ไม่มีผลบังคับ ตามกฎหมาย คือ เสมือนว่าไม่มีการทา 
นิติกรรมนั้นๆ เลย จะฟ้องร้องบังคับกันไม่ได้จะให้สัตยาบันก็ไม่ได้ (ม.172) 
“โมฆียะ”หมายถึง นิติกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายจนกว่าจะมีการ บอกล้าง (ม.176) ถ้าไม่มีการบอกล้าง 
ภายในระยะเวลา ( 1 ปีนับแต่เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้ หรือ 10 ปีนับแต่ได้ทา นิติกรรม ม. 181) หรือมีการให้สัตยาบัน 
(ม.179) โดยบุคคลที่กฎหมายกาหนดนิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์ตลอดไป
สัญญา 
สาระสาคัญของสัญญา 
1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป 
2. ต้องมีการแสดงเจตนาต้องตรงกัน (คาเสนอ+คาสนองตรงกัน) 
“คาเสนอ”เป็นคาแสดงเจตนาขอทาสัญญา คาเสนอต้องมีความชัดเจน แน่นอน ถ้าไม่มีความชัดเจนแน่นอน เป็นแต่เพียงคาเชิญชวน 
“คาสนอง”คือ การแสดงเจตนาของผู้สนองตบอผู้เสนอ ตกลงรับทา สัญญาตามคาเสนอ คาสนองต้องมีความชัดเจน แน่นอน ปราศจากข้อแก้ไข ข้อจากัด หรือข้อเพิ่มเติมใดๆ 
3. ต้องมีวัตถุประสงค์ในการทาสัญญา
ประเภทของสัญญา 
1. สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน 
“สัญญาต่างตอบแทน” ได้แก่ สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและ กัน(ม. 369) กล่าวคือ คู่สัญญาต่างมีหนี้หรือหน่าที่จะต่องชาระให้แก่กันเป็นการตอบแทน 
“สัญญาไม่ต่างตอบแทน” คือ สัญญาที่ก่อหนี้ฝ่ายเดียว เช่น สัญญายืม (ม.640, 650) 
2. สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน 
3.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ 
“สัญญาประธาน” หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพัง ไม่ขึ้นอยู่กับสัญญาอื่น 
4สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก โดยคู่สัญญาตกลงว่าจะชาระหนี้ให้แก่บุคคลภายนอกโดย ที่บุคคลภายนอกนั้นไม่ได่เข้ามาเป็นคู่สัญญาด้วย เช่น สัญญาประกันชีวิต 
5. เอกเทศสัญญาตาม ป.พ.พ. บรรพ 3 กับสัญญาไม่มีชื่อ
สิทธิในการบอกเลิกสัญญา 
1. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย 
1.1 เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะกาหนดระยะเวลาพอสมควร แล้ว บอกกล่าวให้ฝ่ายนั้นชาระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได้ ถ้าฝ่ายนั้นไม่ชาระหนี้ภายในระยะที่ กาหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.387) 
1.2 เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้ซึ่งโดยสภาพหรือโดยเจตนาที่คู่สัญญาได้แสดงไว้ วัตถุประสงค์แห่งสัญญาจะเป็นผลสาเร็จได้ก็แต่ด้วยการชาระหนี้ ณ เวลาที่กาหนดหรือภายใน ระยะเวลาซึ่งกาหนดไว้ เจ้าหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ทันทีโดยไม่จาเป็นต้องบอกกล่าว กาหนดระยะเวลาชาระหนี้ก่อน(ม.388) 
1.3 เมื่อการชาระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนกลายป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอัน จะโทษลูกหนี้ได้ เจ้าหนี้จะเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.389) 
2. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยข้อสัญญา หมายความว่า คู่สัญญาได้ตกลงกันกาหนดสิทธิในการเลิก สัญญาไว้ล่วงหน้า ถ้ามีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กาหนดไว้เกิดขึ้น ก็ให้สิทธิบอกเลิก สัญญาแก่คู่กรณี
ผลของการเลิกสัญญา 
1. คู่สัญญาแต่ละฝ่ายต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งกลับคืนสู่ฐานะเดิม (ม.391 วรรคหนึ่ง) เช่น 
-ทรัพย์สินที่ได้ส่งมอบหรือโอนให้แก่กันไปตามสัญญา ก็ต้องคืนทรัพย์สินนั้นในสภาพที่เป็นอยู่เดิม ขณะมีการส่งมอบหรือโอนไปตามสัญญา และถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่จะคืนได้ทั้งหมดหรือบางส่วน ก็ ต้องชดใช้ค่าเสียหายแทน 
-หากทรัพย์สินที่จาต้องส่งคืนนั้นเป็นเงินตรา กฎหมายกาหนดให้บวกดอกเบี้ย คิดตั้งแต่เวลาที่ได้รับ เงินไปด้วย 
(ม.391 วรรคสอง) อัตราดอกเบี้ยนั้น ถ้ามิได้กาหนดเอาไว้ ให้ใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี (ม.7) 
-อย่างไรก็ตาม การเลิกสัญญาอันมีผลทาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิมนี้ จะเป็นสาเหตุทาให้ บุคคลภายนอกเสื่อมเสียสิทธิไม่ได้ 
2. การเลิกสัญญาไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเรียกค่าเสียหาย (มาตรา 391 วรรคท้าย)
สัญญาจ้างแรงงาน 
คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทางานให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกว่า นายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทางานให้ (ม.575) การจ้างแรงงานนี้รวมถึง การใช้ความรู้ ความสามารถด้วย เช่น จ้างครูมาสอนหนังสือ เป็นต้น 
สัญญาจ้างแรงงานมีลักษณะดังนี้ 
1. ต้องมีการตกลงเป็นนายจ้างและลูกจ้างกัน 
2. เป็นสัญญาต่างตอบแทน 
3. สาระสาคัญอยู่ที่คู่สัญญา นายจ้างจะโอนสิทธิของตนให้แก่บุคคลภายนอกได้ก็ต่อเมื่อลูกจ้าง ยินยอมพร้อมใจด้วย ทานองเดียวกัน ลูกจ้างจะให้บุคคลภายนอกทางานแทนตนไม่ได้ถ้านายจ้าง ไม่ยินยอมด้วย ถ้าคู่สัญญาฝ่ายใดทาการ 
ฝ่าฝืนความยินยอมนี้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.577) 
4. เป็นสัญญาไม่มีแบบ เพียงตกลงด้วยวาจาก็ใช้ได้แล้ว 
ตัวอย่างสัญญา
หน้าที่ของลูกจ้าง 
1. ต้องทางานด้วยตนเอง จะให้คนอื่นทางานแทนไม่ได้ ถ้านายจ้างไม่ยินยอมด้วย (ม.577) 
2. ต้องทาการให้ได้ตามที่ตนรับรองไว้ เมื่อได้แสดงออกโดยชัดแจ้ง หรือโดยปริยายว่าเป็นผู้มีฝีมือ พิเศษ(ม. 578) 
3. ต้องปฏิบัติตามและเชื่อฟังคาสั่งของนายจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย และต้องปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต รักษาความลับในการงานของนายจ้าง 
หน้าที่ของนายจ้าง 
1. ต้องให้สินจ้างแก่ลูกจ้าง แม้ว่าจะมิได้ตกลงกันไว้ว่ามีสินจ้างหรือไม่ถ้าตามพฤติการณ์ไม่อาจ คาดหมายได้ว่างานนั้นจะพึงทาให้เปล่า ต้องถือว่า มีคามั่นว่าจะให้สินจ้าง (ม. 576) 
2. ต้องออกหนังสือรับรองผลงานและระยะเวลาที่ทางานให้แก่ลูกจ้าง (ม.585) 
3. ถ้าลูกจ้างมาจากต่างถิ่น ซึ่งนายจ้างได้ออกค่าเดินทางมาให้ เมื่อการจ้างสิ้นสุดลงนายจ้างพึงออกค่า เดินทางกลับให้ด้วย เว้นแต่การเลิกจ้างนั้น เนื่องมาจากการกระทาหรือความผิดของลูกจ้าง (ม.586) 
ถ้านายจ้างไม่ทาตามหน้าที่ ลูกจ้างชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได้ และถ้าเกิดความ เสียหายอย่างใดๆ ลูกจ้างย่อมเรียก ค่าเสียหายได้ (ม. 215)
สัญญากู้ยืมเงิน 
มีหลักดังนี้(ม.653) คือ ในการยืมเงินที่มีจานวนเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปนั้น ต้องมีหลักฐานเป็น หนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ 
สัญญากู้ยืมเงินที่คิดดอกเบี้ย 
ดอกเบี้ยนั้นจะเป็นเงินตราหรือจะเป็นทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ ในการคิดดอกเบี้ยนั้นคู่สัญญา จะคิดดอกเบี้ยเกิน 
กว่าร้อยละ 15 ต่อปี ไม่ได้ ถ้าคู่สัญญาฝ่าฝืนก็จะมีผลทาให้ดอกเบี้ยทั้งหมดตกเป็นโมฆะ แต่ใน ส่วนของต้นเงินนั้นยังคงใช้ได้ เพราะสามารถแยกส่วนต้นเงินซึ่งสมบูรณ์ออกจากส่วนดอกเบี้ยได้ (ม.173) 
หากคู่สัญญากาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้กาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ให้คิดร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)การคิดดอกเบี้ยทบต้น หากคู่สัญญาได้ตกลงกันไว้เป็นหนังสือว่า ให้คิดดอกเบี้ยทบต้นได้ใน กรณีที่ดอกเบี้ยได้ค้างชาระไม่น้อยกว่า 1 ปี แล้ว (ม. 654) กับกรณีมีประเพณีการค้าขายให้คิด ดอกเบี้ยทบต้นได้
หนี้ 
ลักษณะสาคัญของหนี้ต้องประกอบด้วย 
1. การมีนิติสัมพันธ์ (ความผูกพันกันในทางกฎหมาย) 
2. การมีเจ้าหนี้และลูกหนี้ (สิทธิเหนือบุคคล) 
3. ต้องมีวัตถุแห่งหนี้ (การกระทา / งดเว้นกระทาการ / ส่งมอบทรัพย์สิน) 
3.1 ทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งการชาระหนี้ ได้ระบุไว้เป็นประเภทและตามสภาพแห่งนิติกรรม หรือตาม เจตนาของคู่กรณีไม่อาจกาหนดได้ว่า ทรัพย์นั้น จะพึงเป็นชนิดอย่างไรแล้ว กฎหมายกาหนดให้ ลูกหนี้ต้องส่งมอบชนิดปานกลาง (ม.195 วรรคหนึ่ง 
3.2 วัตถุแห่งการชาระหนี้เป็นเงินตรา ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ จะส่งใช้เป็นเงิน ไทยก็ได้ การแลกเปลี่ยนเงินนี้ให้คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใช้เงิน (ม.196) 
3.3 กรณีวัตถุแห่งการชาระหนี้มีหลายอย่าง โดยหลักกฎหมาย ให้สิทธิลูกหนี้ที่จะเลือก (ม.198)
บ่อเกิดแห่งหนี้ 
1. นิติกรรม-สัญญา 
2. นิติเหตุ หมายถึง เหตุที่มิได้เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาเข้าผูกพันตนเพื่อก่อหนี้แต่ กฎหมายเป็นกาหนดซึ่งอาจเป็นเหตุธรรมชาติหรือ อาจเป็นเหตุที่ก่อขึ้นโดยการกระทา ของบุคคล โดยเขามิได้มุ่งให้มีผลในกฎหมายแต่กฎหมายก็กาหนดให้ต้องมีหนี้หรือ หน้าที่ต่อบุคคลอื่น ได้แก่ 
2.1 ละเมิด (ม.420) 
2.2 จัดการงานนอกสั่ง (ม.395, 401) 
2.3ลาภมิควรได้ (ม.406) 
2.4 ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เช่น บุตรจาต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา (ม.1563)
การบังคับชาระหนี้ 
1. กาหนดชาระหนี้ถ้าเป็นกรณีที่คู่กรณีไม่ได้ตกลงกาหนดเวลาชาระหนี้ไว้แน่นอน แล้ว กฎหมาย ถือว่า หนี้นั้นถึงกาหนดชาระโดยพลัน (ม. 203) 
2. การผิดนัดของลูกหนี้ 
2.1 เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระแล้ว และภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ได้ให้คาเตือนลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ชาระหนี้ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด เพราะเขาเตือนแล้ว (ม. 204 วรรคหนึ่ง) 
2.2 เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระตามวันแห่งปฏิทินแล้ว และลูกหนี้มิได้ชาระหนี้ตาม กาหนดลูกหนี้ได้ชื่อว่าตกเป็นผู้ผิดนัดแล้ว โดยมิต้องเตือนก่อนเลย (ม. 204) 
2.3 ถ้าเป็นหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดมาแต่เวลาที่ทาละเมิด (ม. 206)
ละเมิด 
องค์ประกอบมีดังนี้ 
1. เป็นการกระทาต่อบุคคลอื่นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 
2. เป็นการกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ 
3. การกระทานั้นเป็นเหตุให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหาย 
ข้อสังเกต 
การยอมให้บุคคลอื่นกระทาต่อตนด้วยความสมัครใจกล่าวคือ ปราศจากการข่มขู่กล ฉ้อฉลหรือสาคัญผิดและความยินยอมที่ให้นี้จะต้องมีอยู่ตลอดเวลาในที่ทาละเมิดด้วย 
ม. 420 
ความรับผิดเนื่องจากการแสดงความเท็จ 
ผู้ใดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง โดยรู้ว่าข้อความนั้น ไม่จริง หรือควรจะรู้ได้ว่าข้อความนั้นไม่จริง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียงหรือ เกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเป็นที่เสียหายแก่ทางทามาหาได้ ผู้นั้นจะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่เขาเพื่อความเสียหายอย่างใดๆ อันเกิดแต่การนั้น (ม.423) 
ข้อยกเว้นคือ หากผู้กล่าวหรือผู้รับข้อความนั้นมีทางได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว (ม. 423 วรรคสอง) การกล่าวในลักษณะหมิ่นประมาทดังกล่าวย่อมไม่เป็นละเมิด
ความรับผิดในการทาละเมิดของบุคคลอื่น 
1. ความรับผิดในการทาละเมิดของลูกจ้างหลักนายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่ง ละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทาไปในทางการที่จ้างนั้น (ม.425) นายจ้างและลูกจ้างต้องมีความสัมพันธ์ กันตามสัญญาจ้างแรงงาน 
2. ความรับผิดในการทาละเมิดของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตกฎหมายสันนิษฐานให้บิดามารดา ผู้ อนุบาลหรือผู้ที่รับดูแลผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตอยู่ต้องรับผิดร่วมด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลนั้นแล้ว (ม.429 , 430) 
3. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือทรัพย์อันตราย เป็นของเกิดอันตราย ได้โดยสภาพ หรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ บุคคลนั้นต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายอันเกิดจาก ยานพาหนะหรือทรัพย์นั้นๆ (ม.437) ผู้ครอบครองจะหลุดพ้นจากความรับผิดดังกล่าวได้ต่อเมื่อ พิสูจน์ได้ว่า ความเสียหายนั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือเกิดจากความผิดของผู้เสียหายเอง
ค่าสินไหมทดแทน 
ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด(ม.438) คือ 
1. กรณีทาทรัพย์สินเสียหาย ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ การคืนทรัพย์สิน ที่เสียไป ถ้าคืนไม่ได้ก็ให้ใช้ ราค่าทรัพย์นั้น รวมถึงค่าเสียหายอื่นๆ 
2. กรณีเกี่ยวกับชีวิตร่างกาย 
2.1 ถ้าถึงตาย (ม.443) ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ ค่าปลงศพ / ค่าขาดไร้อุปการะ 
2.2 ถ้าไม่ถึงตาย ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล รวมตลอดทั้ง ค่าเสียหายที่ต้องขาด ประโยชน์ทามาหาได้ เพราะไม่สามารถประกอบการงานนั้น ทั้งในปัจจุบันและในอนาคตด้วย 
นิรโทษกรรม(ม. 438) 
ถ้าการทาละเมิดดังกล่าว ผู้กระทาได้ทาไปเพื่อป้องกันก็ดี เพราะมีเหตุจาเป็นก็ดี หรือเพื่อ บาบัดปัดป้องภยันตรายสาธารณะซึ่งมีมาโดยฉุกเฉินก็ดี ผู้กระทาละเมิดโดยเหตุดังกล่าวนั้นไม่จาต้อง ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ครอบครัว 
การหมั้น 
1.ชายและหญิงคู่หมั้นต้องมีอายุ17 ปีบริบูรณ์ (ม.1435) ถ้าการหมั้นกระทาโดยฝ่าฝืนมาตรา 1435 ผลคือ การหมั้นตกเป็นโมฆะ (ม.1435 ว.2) 
2. ผู้เยาว์ทาการหมั้นจะต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครองด้วย (มาตรา 1436)ถ้าการหมั้นที่ผู้เยาว์ทาโดยปราศจากความยินยอมดังกล่าว การหมั้นนั้นตกเป็นโมฆียะ 
แบบของการหมั้น 
การหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อฝ่ายชายได้ส่งหมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้น ให้แก่ หญิง เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น (มาตรา 1437) สัญญาหมั้นเป็นสัญญาพิเศษ ผิดกับสัญญาธรรมดา ฉะนั้น หากมีการหมั้นแต่ฝ่ายชายไม่มีของหมั้นมามอบให้หญิงแล้ว แม้จะ มีการผิดสัญญาหมั้นก็จะฟ้องเรียกค่าทดแทนฐานผิดสัญญาหมั้นไม่ได้
ของหมั้น 
ลักษณะสาคัญของของหมั้นจะต้องเข้าหลักเกณฑ์4 ประการ คือ 
1.ต้องเป็นทรัพย์สิน (สิทธิเรียกร้อง ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่นามาเป็นของหมั้นได้) 
2.ต้องเป็นของที่ฝ่ายชายให้ไว้แก่หญิง 
3.ต้องให้ไว้ในเวลาทาสัญญาและหญิงต้องได้รับไว้แล้ว 
4.ต้องเป็นการให้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้นและต้องให้ไว้ก่อนสมรส ถ้าให้เมื่อ หลังสมรสแล้วทรัพย์นั้นไม่ใช่ของหมั้น 
การรับผิดตามสัญญาหมั้น 
เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิเรียกให้รับผิดใช้ค่า ทดแทน ในกรณีที่ฝ่ายหญิง เป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้นให้คืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชายด้วย (มาตรา 1439) 
สินสอด 
เป็นทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง แล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส (มาตรา 1437 ว.3)
ผลของการหมั้น 
1. สิทธิเรียกค่าทดแทนจากคู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่ง (ม.1440) 
1.1 ค่าทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น 
1.2 ค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดา มารดา หรือบุคคลผู้กระทาการในฐานะบิดา 
มารดา ได้ใช้หรือต้องตกเป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร 
1.3 ค่าทดแทนความเสียหายที่คู่หมั้นไดจัดการทรัพย์สิน หรือการอื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพ หรือทางทามา หาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยคาดหมายว่าจะมีการสมรส 
2. สิทธิเรียกค่าทดแทนจากชายอื่น ถ้าหากชายอื่นมาล่วงเกินหญิงคู่หมั้น 
2.1 การที่ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น โดยหญิงคู่หมั้นยินยอมมีหลัก คือ(ม.1445) 
(1) ชายอื่นร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้น 
(2) ชายอื่นนั้นรู้หรือควรรู้ว่าหญิงได้หมั้นกับชายคู่หมั้นแล้วและรู้ด้วยว่าชายคู่หมั้นเป็นใคร 
(3) ชายคู่หมั้นได้บอกเลิกสัญญาหมั้นแล้ว
2.2 การที่ชายอื่นข่มขืนหรือพยายามข่มขืนกระทาชาเราหญิงคู่หมั้น มีหลัก คือ (ม.1446) 
(1) ชายอื่นจะต้องรู้ว่าหญิงมีคู่หมั้นแล้ว แต่ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าชายคู่หมั้นเป็นใคร 
(2) ชายคู่หมั้นไม่จาเป็นต้องบอกเลิกสัญญาหมั้นก่อน 
ข้อสังเกตหญิงคู่หมั้นไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนจากหญิงอื่นที่มาล่วงเกินชายคู่หมั้นทาง ประเวณี จะนามาตรา1445 และมาตรา 1446 มาอนุโลมใช้บังคับไม่ได้ 
3. สิทธิเกี่ยวกับของหมั้น ทรัพย์สินของหมั้นนั้นยอมตกเป็นสิทธิของหญิงในทันทีแต่มีบาง กรณีฝ่ายหญิงอาจต้องคืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชายก็ได้ 
กรณีที่ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิงโดยไม่ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชายมีดังนี้ 
1. เมื่อฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) เช่น ไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับหญิง 
2. เมื่อชายหรือหญิงตายก่อนสมรส (ม.1441) 
3. เมื่อหญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสาคัญเกิดแก่ชาย (ม.1443)
กรณีที่หญิงต้องคืนของหมั้นให้แก่ชายมีดังนี้คือ 
1. เมื่อหญิงผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) 
2. เมื่อชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสาคัญเกิดแก่หญิง (ม.1442)อนึ่ง การหมั้นไม่เป็น เหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ถ้ามีข้อตกลงเรื่องค่าปรับในกรณีผิดสัญญาหมั้น 
ข้อตกลงนั้นเป็นโมฆะ (ม.1438) 
การสิ้นสุดของการหมั้น 
1. กรณีที่คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตายก่อนสมรส 
2. กรณีมีการบอกล้างสัญญาหมั้น 
3. กรณีที่มีการสมรส 
4. การสิ้นสุดโดยการบอกเลิกสัญญา 
5. การสิ้นสุดโดยความยินยอมของทั้งชายและหญิง
การสมรส 
เงื่อนไขการสมรส 
1.การสมรสจะทาได้ในระหว่างชายกับหญิงเท่านั้น และจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อชายและหญิงมี อายุ 17 ปีบริบูรณ์ 
แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอนุญาตให้ทาการสมรสก่อนนั้นได้ (ม.1448) 
2. หากผู้เยาว์จะทาการสมรส ต้องได้รับความยินยอมจากบุคคลตาม มาตรา 1454,1455 เสียก่อน 
3. ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นคนวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ตามมาตรา 1449ถ้าฝ่าฝืนการสมรสตกเป็นโมฆะ ตามมาตรา 1495 
4. ชายและหญิงมิได้เป็นญาติสืบสายโลหิตต่อกันหรือเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาหรือร่วมแต่ บิดา หรือมารดาตามมาตรา 1450 ถ้าฝ่าฝืนการสมรสตกเป็นโมฆะ ตามมาตรา1495 
5.ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้ ตามมาตรา1451แต่กฎหมายมิได้ บัญญัติให้การสมรสที่ฝ่าฝืนเงื่อนไขข้อนี้เป็นโมฆะหรือโมฆียะ
เนื่องจากผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมไม่มีความสัมพันธ์ในทางสายโลหิตกันเลย และมีมาตรา 1598/32 บัญญัติว่า การรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็นอันยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝ่าฝืน มาตรา 1451 จึงทาให้การสมรสที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าวมีผลสมบูรณ์ทุกประการ 
6. ชายหรือหญิงมิได้เป็นคู่สมรสของบุคคลอื่นอยู่ตามมาตรา 1452 การสมรสที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติ ดังกล่าวเป็นโมฆะ ตามมาตรา 1495 
7.หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ได้ต่อ เมื่อขาดจากการสมรสเดิมแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน แต่มี ข้อยกเว้นตามมาตรา 1453 
8. ชายและหญิงยินยอมสมรสกัน (ม. 1458) โดยเปิดเผยต่อหน้านายทะเบียน และให้นายทะเบียน บันทึกความยินยอมนั้นไว้ด้วย 
แบบแห่งการสมรสการสมรสจะมีได้ เฉพาะเมื่อได้จดทะเบียนสมรสแล้ว เท่านั้น ตามมาตรา 1457
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา 
1. สินส่วนตัวตามมาตรา 1471 ได้แก่ ทรัพย์สิน 
1ทรัพย์สินที่ภรรยาหรือสามีมีอยู่ก่อนหน้าที่จะทาการสมรส 2ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัวเครื่องแต่งกายหรือเครื่องประดับกาย แต่ต้องตามสมควรแก่ฐานะหรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ ของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 3ทรัพย์สินที่ภรรยาหรือสามีได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการให้ด้วยเสน่หา 4ทรัพย์สินที่ภรรยาได้รับมาเนื่องจากเป็นของหมั้น 
2. สินสมรสตามมาตรา 1474 มีอยู่3 ชนิดคือ 
1.ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส 2.ทรัพย์สินที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการให้เป็น หนังสือและในพินัยกรรมหรือหนังสือนั้นได้ระบุว่าทรัพย์สินที่ให้เป็นสินสมรสดังนั้นถ้าไม่ ระบุไว้ให้เป็นสินสมรสก็จะเป็นสินส่วนตัวไปโดยปริยาย 3.ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัวเช่นดอกเบี้ยในธนาคารแม้เงินต้นจะเป็นสิน ส่วนตัวแต่ดอกเบี้ยเป็นสินสมรสแน่นอน
การหย่า 
1.การหย่าโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย มีหลักดังนี้ 
1.1 ต้องทาเป็นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่ออย่างน้อย 2 คน และ(ม.1514) 
1.2 การหย่าโดยความยินยอมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนการหย่า (ม.1515) 
2.การหย่าโดยคาพิพากษาของศาล โดยอาศัยเหตุฟ้องหย่าตามมาตรา 1516 
การแบ่งทรัพย์สิน 
เมื่อหย่ากันแล้วให้แบ่งทรัพย์สินโดยให้ใช้และหญิงมีส่วนเท่าๆ กัน (1533) และใน 
กรณีที่มีหนี้ที่จะต้องรับผิดร่วมกันก็ให้แบ่งแยกความรับผิดนั้นออกเป็นส่วนๆ เท่ากัน (ม.1535)
การรับบุตรบุญธรรม 
หลักเกณฑ์ในการรับบุตรบุญธรรม(ม.1598/19) 
1. ผู้ที่จะรับบุตรบุญธรรมนั้นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี 
2. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี 
3. ในการรับบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะเป็นบุตรบุญธรรม จะทาได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอม จากบิดาและมารดาของผู้เยาว์ก่อน ในกรณีที่ผู้เยาว์นั้นถูกทอดทิ้งและอยู่ในความดูแลของสถาน สงเคราะห์เด็ก ให้ขอความยินยอมจากผู้มีอานาจในสถานสงเคราะห์เด็กนั้นแทน 
4. ในกรณีที่ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมมีคู่สมรสแล้ว ในการรับหรือเป็นบุตร บุญธรรมต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน 
5. ผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลหนึ่งอยู่จะเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกใน ขณะเดียวกันไม่ได้เว้นแต่จะเป็นบุตรบุญธรรมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม 
6. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนตามกฎหมาย
สิทธิและหน้าที่ของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรม 
1. มีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น (ม.1598/28) 
2. มีหน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้รับบุตรบุญธรรม ทานองเดียวกับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (ม.1563) 
สิทธิและหน้าที่ของผู้รับบุตรบุญธรรม 
1.มีสิทธิใช้อานาจปกครองบุตรบุญธรรม 
2. ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรม ในฐานะทายาทโดยธรรม อย่างไรก็ตาม ถ้าบุตรบุญธรรมตายก่อนโดยไม่มีคู่สมรสหรือผู้สืบสันดาน ผู้รับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียกร้อง ทรัพย์สินที่ตนได้ให้แก่บุตรบุญธรรม คืนจากกองมรดก เพียงเท่าที่ยังคงเหลืออยู่หรือภายหลังจาก ชาระหนี้กองมรดกแล้ว (ม.1598/29 และ ม.1598/30) 
3. ผู้รับบุตรบุญธรรมมีหน้าที่ต้องอุการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม
มรดก 
การตกทอดแห่งมรดก 
เมื่อบุคคลใดตายมรดกตกทอดแก่ทายาท (มาตรา 1599) และมรดกของผู้ตายได้แก่ ทรัพย์สินทุก ชนิดของผู้ตายตาม มาตรา 1600 และมรดกของผู้ตายนี้ยอมตกทอดแก่ทายาททันทีที่เจ้ามรดกถึงแก่ ความโดยทายาทไม่ต้องแสดงเจตนาสนองรับ 
กองมรดกของผู้ตายได้แก่ 
1. ทรัพย์สินและสิทธิคาว่า “ทรัพย์สิน” มีความหมายตามมาตรา 137 และมาตรา 138 คือวัตถุที่มี รูปร่างรวมทั้งวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ทรัพย์สินและสิทธิต้องเป็นของผู้ตาย ระหว่างมีชีวิต เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายจึงตกทอดเป็นมรดก ถ้าทรัพย์สินนั้นไม่เป็นของผู้ตายแล้ว ก่อนตายย่อมไม่เป็นมรดก 
2.หน้าที่และความรับผิดต่างๆทายาทต้องรับเอาไปทั้งหน้าที่และความรับผิดต่างๆ ด้วย เว้นแต่ ทรัพย์สิน สิทธิหน้าที่และความรับผิดนั้นโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย
ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย 
1. ทายาทโดยธรรมได้แก่บุคคลตามมาตรา 1629 
2. ทายาทโดยพินัยกรรม 
การเป็นทายาท ตามมาตรา 1604 
1.ทายาทที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายนั้น ต้องมีสภาพบุคคล คือ เริ่มแต่เมื่อ คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตายตามมาตรา 15 วรรคแรก เหตุนี้ แม้ก่อนตาย บุคคลใดเป็นทายาท 
แต่บุคคลนั้นตายก่อนเจ้ามรดกก็ย่อมไม่สามารถเป็นทายาท 
2.ทารกในครรภมารดาขณะที่บิดาตาย แม้จะยังไม่คลอดยังไม่มีสภาพบุคคลก็มีสิทธิรับมรดก บิดาได้ ถ้าคลอดมาแล้วอยู่รอด
พินัยกรรม 
พินัยกรรม เป็นนิติกรรมที่บุคคลหนึ่งได้แสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายในเรื่อง ทรัพย์สินของตนเองหรือในการต่างๆ อันจะเกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย (ม.1646) 
ความสามรถของผู้ทาพินัยกรรมกฎหมายกาหนดว่า ผู้เยาว์จะทาพินัยกรรมได้ ต่อเมื่อมีอายุครบ 15 ปีบริบูรณ์(ม.25) มิฉะนั้นตกเป็นโมฆะ (ม.1703) นอกจากนี้ บุคคลที่ถูกศาล สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ก็ไม่สามารถทาพินัยกรรมได้ หากฝ่าฝืนทาลง พินัยกรรมนั้นจะตก เป็นโมฆะ (ม.17)
แบบของพินัยกรรม(ม.1648) มีด้วยกัน 5 ประเภท คือ 
1. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (ม.1657) 
2. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.1656) 
3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง (ม.1658) 
4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ (ม.1660) 
5. พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา (ม.1663) 
อนึ่ง การทาพินัยกรรมนั้น แม้ไม่สมบูรณ์ตามแบบหนึ่ง อาจสมบูรณ์ตามแบบอื่นได้ 
ผู้ที่ไม่อาจเป็นผู้รับพินัยกรรม(ม.1653) 
1. ผู้เขียนพินัยกรรม 
2. ผู้ที่เป็นพยานในพินัยกรรม 
3. คู่สมรสของผู้เขียนหรือคู่สมรสของผู้เป็นพยานในพินัยกรรม 
นิติบุคคลอาจเป็นผู้รับพินัยกรรมได้ แต่ทั้งนี้จะต้องไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์ในข้อบังคับหรือตรา สารจัดตั้งนิติบุคคลนั้นๆ
โดย 
ครูพัชราภรณ์เหมือนรุ่ง 
รายวิชา กฎหมายทั่วไป

More Related Content

Similar to สื่อกฎหมายทั่วไป (8)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
คู่ความ
คู่ความคู่ความ
คู่ความ
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
มรดก
มรดกมรดก
มรดก
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สื่อกฎหมายทั่วไป

  • 1. บุคคล ทรัพย์ นิติกรรม สัญญา หนี้ ละเมิด ครอบครัว มรดก
  • 2. สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดการคลอดนั้น หมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภ์ มารดาหมดทั้งตัวแล้วแม้จะยังไม่ตัดสายสะดือ และต้องรอดอยู่ด้วยแม้เพียงชั่วระยะเวลานิดเดียวก็มี สิทธิต่างๆ ในทรัพย์สินย้อนไปตั้งแต่วันแรกที่ปฎิสนธิในครรภ์มารดา เช่น อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตาย ก่อนเด็กคลอดได้ เป็นต้น (มาตรา 15) ภูมิลาเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี้ 1.ภูมิลาเนาของบุคคลธรรมดา ได้แก่ ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยู่เป็นหลักแห่งสาคัญ(ม.37) 2.ถ้าบุคคลมีถิ่นที่อยู่หลายแห่งสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหล่งที่ทามาหากินเป็นปกติหลายแห่ง ก็ได้ถือเอา แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นภูมิลาเนาของบุคคลนั้น (ม.38) 3. ถ้าภูมิลาเนาไม่ปรากฏ ให้ถือว่าถิ่นที่อยู่เป็นภูมิลาเนา(ม.39) 4. ถ้าไม่มีถิ่นที่อยู่เป็นปกติ หรือไม่มีที่ทาการงานเป็นหลักแหล่ง ถ้าพบตัวในถิ่นไหนก็ให้ถือว่าถิ่นนั้น เป็น ภูมิลาเนา(ม. 40) 5. บุคคลอาจแสดงเจตนากาหนดภูมิลาเนา ณ ถิ่นใดเพื่อกระทาการใด ก็ถือว่าถิ่นนั้นเป็นภูมิลาเนาเฉพาะ การนั้น(ม. 42) บุคคลธรรมดา
  • 3. ความสามารถของบุคคล 1. ผู้เยาว์บรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ม. 19) ทาการสมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย(ม.20) สมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ17ปีบริบูรณ์ หรือ เมื่อศาลอนุญาตให้ทาการ สมรส(ม. 1448) จาไว้ว่า “บรรลุแล้วบรรลุเลย” ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของ “ผู้แทนโดยชอบธรรม” ก่อน มิฉะนั้น นิติกรรมนั้นๆเป็นโมฆียะคืออาจถูกบอกล้างได้ในภายหลัง(ม.21) ผู้เยาว์อาจทานิติกรรมที่สมบูรณ์ได้เอง โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม คือ 1. ทาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ 15 ปีบริบูรณ์ (ม.25) 2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว(ม. 22)เช่น รับการให้โดยไม่มีข้อผูกพัน 3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว(ม. 23)เช่น การรับรองบุตร กรณีตาม มาตรา 1548 4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป และเป็นการจาเป็นในการดารงชีพตามควร(ม.24) 5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรมให้ประกอบการค้า(ม.27) *** การเปลี่ยนภูมิลาเนากระทาได้โดยการแสดงเจตนาว่าจงใจจะเปลี่ยนภูมิลาเนา และย้ายถิ่นที่อยู่ (ม. 41)
  • 4. 2. คนไร้ความสามารถคือ คนวิกลจริตที่คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ของผู้นั้น หรือพนักงาน อัยการได้ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนไร้ความสามารถ(ม. 28)และจัดให้อยู่ใน ความอนุบาล นิติกรรมที่คนไร้ความสามรถกระทาลงย่อมตกเป็นโมฆียะทั้งสิ้น แม้จะได้รับ ความยินยอมจาก “ผู้อนุบาล” ก็ไม่ได้ (ม. 29) ส่วนคนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หากไปทานิติกรรม ย่อม ต้องถือว่ามีผลสมบูรณ์ เว้นแต่ว่าได้กระทาในขณะจริตวิกล+คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้อยู่แล้ว นิติกรรมนั้นจึงตกเป็น โมฆียะ (ม.30) 3. คนเสมือนไร้ความสามารถคือบุคคลที่ปรากฏว่า ไม่สามารถจัดทาการงานของตนเองได้ เพราะมีกายพิการ จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ แต่ไม่ถึงขนาดวิกลจริต ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ ติดสุรายาเมา เมื่อคู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน หรือพนักงานอัยการร้องขอ ต่อศาล ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ โดยให้อยู่ใน “ความพิทักษ์” ก็ ได้(ม. 32)
  • 5. การสิ้นสภาพบุคคล 1ตาย (ม. 15) 2. สาบสูญ(โดยผลของกฎหมาย) ได้แก่ 2.1 บุคคลไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่โดยไม่มีใครทราบว่าเป็นตายร้ายดี อย่างไรตลอดระยะเวลา 5ปี (61 ม. วรรคแรก) 2.2 บุคคลไปทาการรบหรือสงคราม หรือตกไปอยู่ในเรือเมื่ออับปราง หรือตกไปในฐานะที่จะเป็นภยันตรายแก่ ชีวิตประการอื่นใด หากนับ แต่เมื่อภยันตราย ประการ อื่นๆ ได้ผ่านพ้นไปแล้วนับได้เวลาถึง 2 ปี ยังไม่มีใครทราบว่าบุคคล นั้นเป็นตายร้ายดีอย่างไร(ม.61 วรรคสอง)
  • 6. นิติบุคคล เกิดขึ้นตามกฎหมาย เช่น 1. ทบวงการเมือง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล เทศบาลและสุขาภิบาลทั้งหลาย กรม ตารวจกองทัพบก/ เรือ/อากาศ แต่กรมในกองทัพนั้นไม่เป็นนิติบุคคล 2. วัดวาอาราม เฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา ที่เรียกกันว่าเป็นวัดที่ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาส่วนถ้าเป็นมัสยิดหรือวัดของศาสนาคริสต์ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจึงจะเป็น เจ้าของที่ดินได 3. ห้างหุ่นส่วนที่จดทะเบียนแล้ว / บริษัทจากัด/ สมาคม และมูลนิธิ ส่วนสาขาของนิติบุคคล ต่างประเทศที่เข้ามาประกอบการในประเทศไทยก็เป็นนิติบุคคล เช่นเดียวกับนิติบุคคลในประเทศ นั้น แม้นิติบุคคลในต่างประเทศนั้นจะมิได้มาจดทะเบียนในประเทศไทยก็ตาม เมื่อนิติบุคคล ดังกล่าวได้เป็นนิติบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายของประเทศนั้นๆแล้ว
  • 7. ทรัพย์ ความหมาย “ทรัพย์” หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง(ม.137) “ทรัพย์สิน” หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและ ถือเอาได้(ม. 138) ประเภทของทรัพย์ 1.อสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น 1.1 ที่ดิน หมายถึง พื้นแผ่นดิน รวมตลอดถึง ภูเขา เกาะ และที่ชายทะเลด้วย 1.2 ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร 1.3 ทรัพย์ ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน 1.4 สิทธิอันเกี่ยวกับ 1.1, 1.2 และ 1.3 อันได้แก่ สิทธิในกรรมสิทธิ์(ม.1336), สิทธิครอบครอง (ม.1367), สิทธิจานอง, สิทธิเก็บกิน (ม.1417) ภาระจายอม (ม.1387) เป็นต้น
  • 8. 2. สังหาริมทรัพย์ ได่แก่ 2.1 ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ 2.2 สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ เช่น สิทธิจานอง สิทธิยึดหน่วง เป็นต้น 3. ทรัพย์แบ่งได้ (ม.141) ได้แก่ ทรัพย์อันอาจแยกออกจากกันเป็นส่วนๆ ได้ โดยยังคงสภาพ เดิมอยู่ 4. ทรัพย์แบ่งไม่ได้ (ม.142) ได้แก่ 4.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้โดยสภาพ เช่น บ้าน โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น 4.2 ทรัพย์ที่กฎหมายถือว่าแบ่งไม่ได้ เช่น หุ้นของบริษัท ส่วนควบของทรัพย์ เป็นต้น 5. ทรัพย์นอกพาณิชย์(ม.143)ได้แก่ 5.1 ทรัพย์ที่ไม่อาจถือเอาได้ เช่น ก้อนเมฆ ดวงอาทิตย์ เป็นต้น 5.2 ทรัพย์ที่ไม่อาจโอนกันได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ที่ดินธรณีสงฆ์ ยาเสพติด เป็น ต้น
  • 9. ส่วนประกอบของทรัพย์ 1. ส่วนควบ(ม.144) ได้แก่ ส่วนซึ่งว่าโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น เป็น สาระสาคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้นและไม่อาจจะแยกจากกันได้ นอกจากทาลายทาให้บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลรูปทรงหรือสภาพไป ข้อยกเว้นในเรื่องส่วนควบมีดังนี้ (ม.145, 146) 1.1 ไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ 1.2 ทรัพย์อันติดกับ ที่ดิน หรือโรงเรือนชั่วคราว 1.3 โรงเรือนหรือการปลูกสร้างอย่างอื่น ซึ่งผู้มีสิทธิในที่ดินของผู้อื่นได้ใช้สิทธิปลูกทาลงไว้ 2. อุปกรณ์ (ม.147) ได้แก่ สิ่งที่ใช้บารุงดูแลรักษาทรัพย์ประธาน และสามารถแยกออกจากทรัพย์ ประธานได้โดยไม่ทาให้เปลี่ยนแปลงรูปทรง ต่างจากการเป็นส่วนควบ 3. ดอกผลคือ ผลประโยชน์ที่ได้งอกเงยจากทรัพย์สิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นเองโดยสม่ำเสมอแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (ม.148) 3.1 ดอกผลธรรมดาคือ สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งได้มาจากตัวทรัพย์โดยการมี หรือใช้ทรัพย์นั้นตามปกตินิยม เช่น ผลไม้ น้ำนมขนสัตว์ และลูกของสัตว์ เป็นต้น 3.2 ดอกผลนิตินัยซึ่งเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย เช่น ดอกเบี้ย กาไรค่าเช่า ค่าปันผล ฯ
  • 10. บุคคลสิทธิและทรัพย์สิทธิ “บุคคลสิทธิ”คือ สิทธิหรือบุคคลที่จะบังคับให้กระทาการ งดเว้นกระทาการหรือส่งมอบ ทรัพย์สินให้ ได้แก่สิทธิต่างๆ ที่เจ้าหนี้จะบังคับเอาได้จากลูกหนี้นั่นเอง “ทรัพย์สิทธิ”คือ สิทธิเหนือทรัพย์สิน สามารถบังคับได้โดยตรงเอากับตัวทรัพย์สินได้ ทรัพย์ สิทธิเกิดขึ้นได้ก็แต่อาศัยอานาจของกฎหมายเท่านั้น ได้แก่ กรรมสิทธิ์สิทธิอาศัย ภาระจายอม สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน และภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ (ม.1387-1434) เป็นต้น การได้มาซึ่งทรัพย์สิทธิ 1. ผลของนิติกรรม เช่น สัญญาซื้อขาย เป็นต้น 2. ผลของกฎหมาย ได้แก่ การครอบครองปรปักษ์/ การได้รับมรดก / การรับรองลิขสิทธิ์เป็น ต้น
  • 11. นิติกรรม หลักเกณฑ์สาคัญของนิติกรรม (ม.149) 1)ต้องมีการแสดงเจตนา 2) ต้องกระทาโดยใจสมัคร 3) มุ่งให้มีผลผูกพันทางกฎหมาย4) เป็นการทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และ 5) ผู้ที่ทานิติกรรมต้องมี“ความสามารถ” ในการทานิติกรรมด้วย ประเภทของนิติกรรม 1. นิติกรรมฝ่ายเดียวเช่น การทาพินัยกรรม / การปลดหนี้ (ม.340) / การบอกเลิกสัญญา (ม.386) / โฆษณาจะให้รางวัล (ม.362 และ 365) เป็นต้น นิติกรรมฝ่ายเดียวนี้ มีผลตาม กฎหมายแล้ว แม้จะยังไม่มีผู้รับก็ตาม 2. นิติกรรมหลายฝ่ายคือ มีฝ่ายที่ทาคาเสนอและอีกฝ่ายทาคาสนอง เมื่อคาเสนอและคาสนอง ตรงกัน ก็เกิดสัญญา เช่น สัญญาซื้อขาย / สัญญาเช่า / สัญญาค้าประกัน เป็นต้น
  • 12. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม 1. ความสามารถในการทานิติกรรมกล่าวคือ ถ้านิติกรรมได้กระทาลงโดยผู้หย่อน ความสามารถ คือ 1.1) ผู้เยาว์ 1.2) คนไร้ความสามารถ 1.3) คนเสมือนไร้ความสามารถ เป็นโมฆียะ(ม.153) 2. วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม 2.1) เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย 2.2) เป็นการพ้นวิสัย 2.3) เป็นการขัดความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เป็นโมฆะ (ม.150)
  • 13. 3. แบบแห่งนิติกรรม 3.1) การทาเป็นหนังสือ เช่น การโอนหนี้ (ม.306) / สัญญาเช่าซื้อ (ม.572) / สัญญา ตัวแทนบางประเภท (ม.798) ถ้าตกลงเพียงวาจา สัญญานั้นเป็นโมฆะ 3.2) การทาเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เช่น การคัดค้านตั๋วแลกเงิน (ม.961) / การ ทาพินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง (ม.1658) เป็นต้น ถ้าไม่ได้ทาเป็นหนังสือต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ย่อมใช้บังคับไม่ได้ 3.3) การทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น สัญญาซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์(ม.456) / สัญญาขายฝาก (ม.491) / สัญญาจานอง(ม.714) เป็นต้น ถ้าไม่ทา ตามแบบเป็นโมฆะ 4. การแสดงเจตนา 4.1 เจตนาอย่างหนึ่งแต่แสดงออกอีกอย่างหนึ่งนิติกรรมนั้นมีผลใช้บังคับได้เว้นแต่อีก ฝ่ายหนึ่งจะได้รู้ถึงเจตนาที่แท้จริง (ม.154) หรือ การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่าย หนึ่ง (ม.155) หรือนิติกรรมอาพราง (ม.155 วสอง) เป็นโมฆะ
  • 14. 4.2 การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิด (1) สาคัญผิดในสาระสาคัญของนิติกรรม -สาคัญผิดในประเภทของนิติกรรม -สาคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่สัญญา -สาคัญผิดในวัตถุแห่งนิติกรรม (2) สาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์ ถ้าคุณสมบัติดังกล่าว เป็นสาระสาคัญของนิติ กรรม กล่าวคือ ถ้ารู้ว่า บุคคลหรือทรัพย์ไม่ได้คุณสมบัติที่ต้องการ ก็คงไม่ทานิติกรรมด้วย นิติ กรรมนั้นเป็นโมฆียะ(ม. 157)เป็นโมฆะ(ม.156) (3) สาคัญผิดเพราะกลฉ้อฉล ได้แก่ การที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งใช้อุบายหลอกลวง ให้เขาหลงเชื่อแล้วเขา ทานิติกรรม ซึ่งถ้ามิได้ใช้อุบายหลอก เช่นว่านั้น เขาคงไม่ทานิติกรรมด้วยนิติกรรมนั้นเป็น โมฆียะ (ม. 159) (4) การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขูมนิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ (ม. 164) ถ้าการข่มขูมนั้นถึงขนาดที่ทาให้ผู้ถูกขู่กลัวจริงๆ แต่การขูมว่าจะใช้สิทธิตามปกตินิยมก็ดี หรือความกลัวเพราะนับถือยาเกรงก็ดีไม่ถือว่าเป็นการขูม(ม.165)
  • 15. ผลแห่งความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม “โมฆะ”หมายถึง นิติกรรมนั้นเสียเปล่ามาตั้งแต่ต้น ไม่มีผลบังคับ ตามกฎหมาย คือ เสมือนว่าไม่มีการทา นิติกรรมนั้นๆ เลย จะฟ้องร้องบังคับกันไม่ได้จะให้สัตยาบันก็ไม่ได้ (ม.172) “โมฆียะ”หมายถึง นิติกรรมที่สมบูรณ์ตามกฎหมายจนกว่าจะมีการ บอกล้าง (ม.176) ถ้าไม่มีการบอกล้าง ภายในระยะเวลา ( 1 ปีนับแต่เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้ หรือ 10 ปีนับแต่ได้ทา นิติกรรม ม. 181) หรือมีการให้สัตยาบัน (ม.179) โดยบุคคลที่กฎหมายกาหนดนิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์ตลอดไป
  • 16. สัญญา สาระสาคัญของสัญญา 1. ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป 2. ต้องมีการแสดงเจตนาต้องตรงกัน (คาเสนอ+คาสนองตรงกัน) “คาเสนอ”เป็นคาแสดงเจตนาขอทาสัญญา คาเสนอต้องมีความชัดเจน แน่นอน ถ้าไม่มีความชัดเจนแน่นอน เป็นแต่เพียงคาเชิญชวน “คาสนอง”คือ การแสดงเจตนาของผู้สนองตบอผู้เสนอ ตกลงรับทา สัญญาตามคาเสนอ คาสนองต้องมีความชัดเจน แน่นอน ปราศจากข้อแก้ไข ข้อจากัด หรือข้อเพิ่มเติมใดๆ 3. ต้องมีวัตถุประสงค์ในการทาสัญญา
  • 17. ประเภทของสัญญา 1. สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน “สัญญาต่างตอบแทน” ได้แก่ สัญญาที่ทาให้คู่สัญญาต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและ กัน(ม. 369) กล่าวคือ คู่สัญญาต่างมีหนี้หรือหน่าที่จะต่องชาระให้แก่กันเป็นการตอบแทน “สัญญาไม่ต่างตอบแทน” คือ สัญญาที่ก่อหนี้ฝ่ายเดียว เช่น สัญญายืม (ม.640, 650) 2. สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน 3.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์ “สัญญาประธาน” หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเป็นอยู่ได้โดยลาพัง ไม่ขึ้นอยู่กับสัญญาอื่น 4สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก โดยคู่สัญญาตกลงว่าจะชาระหนี้ให้แก่บุคคลภายนอกโดย ที่บุคคลภายนอกนั้นไม่ได่เข้ามาเป็นคู่สัญญาด้วย เช่น สัญญาประกันชีวิต 5. เอกเทศสัญญาตาม ป.พ.พ. บรรพ 3 กับสัญญาไม่มีชื่อ
  • 18. สิทธิในการบอกเลิกสัญญา 1. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย 1.1 เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะกาหนดระยะเวลาพอสมควร แล้ว บอกกล่าวให้ฝ่ายนั้นชาระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได้ ถ้าฝ่ายนั้นไม่ชาระหนี้ภายในระยะที่ กาหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งจะเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.387) 1.2 เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชาระหนี้ซึ่งโดยสภาพหรือโดยเจตนาที่คู่สัญญาได้แสดงไว้ วัตถุประสงค์แห่งสัญญาจะเป็นผลสาเร็จได้ก็แต่ด้วยการชาระหนี้ ณ เวลาที่กาหนดหรือภายใน ระยะเวลาซึ่งกาหนดไว้ เจ้าหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ทันทีโดยไม่จาเป็นต้องบอกกล่าว กาหนดระยะเวลาชาระหนี้ก่อน(ม.388) 1.3 เมื่อการชาระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนกลายป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอัน จะโทษลูกหนี้ได้ เจ้าหนี้จะเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.389) 2. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยข้อสัญญา หมายความว่า คู่สัญญาได้ตกลงกันกาหนดสิทธิในการเลิก สัญญาไว้ล่วงหน้า ถ้ามีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กาหนดไว้เกิดขึ้น ก็ให้สิทธิบอกเลิก สัญญาแก่คู่กรณี
  • 19. ผลของการเลิกสัญญา 1. คู่สัญญาแต่ละฝ่ายต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งกลับคืนสู่ฐานะเดิม (ม.391 วรรคหนึ่ง) เช่น -ทรัพย์สินที่ได้ส่งมอบหรือโอนให้แก่กันไปตามสัญญา ก็ต้องคืนทรัพย์สินนั้นในสภาพที่เป็นอยู่เดิม ขณะมีการส่งมอบหรือโอนไปตามสัญญา และถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่จะคืนได้ทั้งหมดหรือบางส่วน ก็ ต้องชดใช้ค่าเสียหายแทน -หากทรัพย์สินที่จาต้องส่งคืนนั้นเป็นเงินตรา กฎหมายกาหนดให้บวกดอกเบี้ย คิดตั้งแต่เวลาที่ได้รับ เงินไปด้วย (ม.391 วรรคสอง) อัตราดอกเบี้ยนั้น ถ้ามิได้กาหนดเอาไว้ ให้ใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี (ม.7) -อย่างไรก็ตาม การเลิกสัญญาอันมีผลทาให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิมนี้ จะเป็นสาเหตุทาให้ บุคคลภายนอกเสื่อมเสียสิทธิไม่ได้ 2. การเลิกสัญญาไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเรียกค่าเสียหาย (มาตรา 391 วรรคท้าย)
  • 20. สัญญาจ้างแรงงาน คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทางานให้แก่บุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกว่า นายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทางานให้ (ม.575) การจ้างแรงงานนี้รวมถึง การใช้ความรู้ ความสามารถด้วย เช่น จ้างครูมาสอนหนังสือ เป็นต้น สัญญาจ้างแรงงานมีลักษณะดังนี้ 1. ต้องมีการตกลงเป็นนายจ้างและลูกจ้างกัน 2. เป็นสัญญาต่างตอบแทน 3. สาระสาคัญอยู่ที่คู่สัญญา นายจ้างจะโอนสิทธิของตนให้แก่บุคคลภายนอกได้ก็ต่อเมื่อลูกจ้าง ยินยอมพร้อมใจด้วย ทานองเดียวกัน ลูกจ้างจะให้บุคคลภายนอกทางานแทนตนไม่ได้ถ้านายจ้าง ไม่ยินยอมด้วย ถ้าคู่สัญญาฝ่ายใดทาการ ฝ่าฝืนความยินยอมนี้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ (ม.577) 4. เป็นสัญญาไม่มีแบบ เพียงตกลงด้วยวาจาก็ใช้ได้แล้ว ตัวอย่างสัญญา
  • 21. หน้าที่ของลูกจ้าง 1. ต้องทางานด้วยตนเอง จะให้คนอื่นทางานแทนไม่ได้ ถ้านายจ้างไม่ยินยอมด้วย (ม.577) 2. ต้องทาการให้ได้ตามที่ตนรับรองไว้ เมื่อได้แสดงออกโดยชัดแจ้ง หรือโดยปริยายว่าเป็นผู้มีฝีมือ พิเศษ(ม. 578) 3. ต้องปฏิบัติตามและเชื่อฟังคาสั่งของนายจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย และต้องปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต รักษาความลับในการงานของนายจ้าง หน้าที่ของนายจ้าง 1. ต้องให้สินจ้างแก่ลูกจ้าง แม้ว่าจะมิได้ตกลงกันไว้ว่ามีสินจ้างหรือไม่ถ้าตามพฤติการณ์ไม่อาจ คาดหมายได้ว่างานนั้นจะพึงทาให้เปล่า ต้องถือว่า มีคามั่นว่าจะให้สินจ้าง (ม. 576) 2. ต้องออกหนังสือรับรองผลงานและระยะเวลาที่ทางานให้แก่ลูกจ้าง (ม.585) 3. ถ้าลูกจ้างมาจากต่างถิ่น ซึ่งนายจ้างได้ออกค่าเดินทางมาให้ เมื่อการจ้างสิ้นสุดลงนายจ้างพึงออกค่า เดินทางกลับให้ด้วย เว้นแต่การเลิกจ้างนั้น เนื่องมาจากการกระทาหรือความผิดของลูกจ้าง (ม.586) ถ้านายจ้างไม่ทาตามหน้าที่ ลูกจ้างชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได้ และถ้าเกิดความ เสียหายอย่างใดๆ ลูกจ้างย่อมเรียก ค่าเสียหายได้ (ม. 215)
  • 22. สัญญากู้ยืมเงิน มีหลักดังนี้(ม.653) คือ ในการยืมเงินที่มีจานวนเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปนั้น ต้องมีหลักฐานเป็น หนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ สัญญากู้ยืมเงินที่คิดดอกเบี้ย ดอกเบี้ยนั้นจะเป็นเงินตราหรือจะเป็นทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ ในการคิดดอกเบี้ยนั้นคู่สัญญา จะคิดดอกเบี้ยเกิน กว่าร้อยละ 15 ต่อปี ไม่ได้ ถ้าคู่สัญญาฝ่าฝืนก็จะมีผลทาให้ดอกเบี้ยทั้งหมดตกเป็นโมฆะ แต่ใน ส่วนของต้นเงินนั้นยังคงใช้ได้ เพราะสามารถแยกส่วนต้นเงินซึ่งสมบูรณ์ออกจากส่วนดอกเบี้ยได้ (ม.173) หากคู่สัญญากาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้กาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ให้คิดร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)การคิดดอกเบี้ยทบต้น หากคู่สัญญาได้ตกลงกันไว้เป็นหนังสือว่า ให้คิดดอกเบี้ยทบต้นได้ใน กรณีที่ดอกเบี้ยได้ค้างชาระไม่น้อยกว่า 1 ปี แล้ว (ม. 654) กับกรณีมีประเพณีการค้าขายให้คิด ดอกเบี้ยทบต้นได้
  • 23. หนี้ ลักษณะสาคัญของหนี้ต้องประกอบด้วย 1. การมีนิติสัมพันธ์ (ความผูกพันกันในทางกฎหมาย) 2. การมีเจ้าหนี้และลูกหนี้ (สิทธิเหนือบุคคล) 3. ต้องมีวัตถุแห่งหนี้ (การกระทา / งดเว้นกระทาการ / ส่งมอบทรัพย์สิน) 3.1 ทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งการชาระหนี้ ได้ระบุไว้เป็นประเภทและตามสภาพแห่งนิติกรรม หรือตาม เจตนาของคู่กรณีไม่อาจกาหนดได้ว่า ทรัพย์นั้น จะพึงเป็นชนิดอย่างไรแล้ว กฎหมายกาหนดให้ ลูกหนี้ต้องส่งมอบชนิดปานกลาง (ม.195 วรรคหนึ่ง 3.2 วัตถุแห่งการชาระหนี้เป็นเงินตรา ถ้าหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ จะส่งใช้เป็นเงิน ไทยก็ได้ การแลกเปลี่ยนเงินนี้ให้คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใช้เงิน (ม.196) 3.3 กรณีวัตถุแห่งการชาระหนี้มีหลายอย่าง โดยหลักกฎหมาย ให้สิทธิลูกหนี้ที่จะเลือก (ม.198)
  • 24. บ่อเกิดแห่งหนี้ 1. นิติกรรม-สัญญา 2. นิติเหตุ หมายถึง เหตุที่มิได้เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาเข้าผูกพันตนเพื่อก่อหนี้แต่ กฎหมายเป็นกาหนดซึ่งอาจเป็นเหตุธรรมชาติหรือ อาจเป็นเหตุที่ก่อขึ้นโดยการกระทา ของบุคคล โดยเขามิได้มุ่งให้มีผลในกฎหมายแต่กฎหมายก็กาหนดให้ต้องมีหนี้หรือ หน้าที่ต่อบุคคลอื่น ได้แก่ 2.1 ละเมิด (ม.420) 2.2 จัดการงานนอกสั่ง (ม.395, 401) 2.3ลาภมิควรได้ (ม.406) 2.4 ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เช่น บุตรจาต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา (ม.1563)
  • 25. การบังคับชาระหนี้ 1. กาหนดชาระหนี้ถ้าเป็นกรณีที่คู่กรณีไม่ได้ตกลงกาหนดเวลาชาระหนี้ไว้แน่นอน แล้ว กฎหมาย ถือว่า หนี้นั้นถึงกาหนดชาระโดยพลัน (ม. 203) 2. การผิดนัดของลูกหนี้ 2.1 เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระแล้ว และภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ได้ให้คาเตือนลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ชาระหนี้ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด เพราะเขาเตือนแล้ว (ม. 204 วรรคหนึ่ง) 2.2 เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระตามวันแห่งปฏิทินแล้ว และลูกหนี้มิได้ชาระหนี้ตาม กาหนดลูกหนี้ได้ชื่อว่าตกเป็นผู้ผิดนัดแล้ว โดยมิต้องเตือนก่อนเลย (ม. 204) 2.3 ถ้าเป็นหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดมาแต่เวลาที่ทาละเมิด (ม. 206)
  • 26. ละเมิด องค์ประกอบมีดังนี้ 1. เป็นการกระทาต่อบุคคลอื่นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 2. เป็นการกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ 3. การกระทานั้นเป็นเหตุให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหาย ข้อสังเกต การยอมให้บุคคลอื่นกระทาต่อตนด้วยความสมัครใจกล่าวคือ ปราศจากการข่มขู่กล ฉ้อฉลหรือสาคัญผิดและความยินยอมที่ให้นี้จะต้องมีอยู่ตลอดเวลาในที่ทาละเมิดด้วย ม. 420 ความรับผิดเนื่องจากการแสดงความเท็จ ผู้ใดกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความจริง โดยรู้ว่าข้อความนั้น ไม่จริง หรือควรจะรู้ได้ว่าข้อความนั้นไม่จริง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียงหรือ เกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเป็นที่เสียหายแก่ทางทามาหาได้ ผู้นั้นจะต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่เขาเพื่อความเสียหายอย่างใดๆ อันเกิดแต่การนั้น (ม.423) ข้อยกเว้นคือ หากผู้กล่าวหรือผู้รับข้อความนั้นมีทางได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว (ม. 423 วรรคสอง) การกล่าวในลักษณะหมิ่นประมาทดังกล่าวย่อมไม่เป็นละเมิด
  • 27. ความรับผิดในการทาละเมิดของบุคคลอื่น 1. ความรับผิดในการทาละเมิดของลูกจ้างหลักนายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่ง ละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทาไปในทางการที่จ้างนั้น (ม.425) นายจ้างและลูกจ้างต้องมีความสัมพันธ์ กันตามสัญญาจ้างแรงงาน 2. ความรับผิดในการทาละเมิดของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตกฎหมายสันนิษฐานให้บิดามารดา ผู้ อนุบาลหรือผู้ที่รับดูแลผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตอยู่ต้องรับผิดร่วมด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลนั้นแล้ว (ม.429 , 430) 3. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือทรัพย์อันตราย เป็นของเกิดอันตราย ได้โดยสภาพ หรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ บุคคลนั้นต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายอันเกิดจาก ยานพาหนะหรือทรัพย์นั้นๆ (ม.437) ผู้ครอบครองจะหลุดพ้นจากความรับผิดดังกล่าวได้ต่อเมื่อ พิสูจน์ได้ว่า ความเสียหายนั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือเกิดจากความผิดของผู้เสียหายเอง
  • 28. ค่าสินไหมทดแทน ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด(ม.438) คือ 1. กรณีทาทรัพย์สินเสียหาย ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ การคืนทรัพย์สิน ที่เสียไป ถ้าคืนไม่ได้ก็ให้ใช้ ราค่าทรัพย์นั้น รวมถึงค่าเสียหายอื่นๆ 2. กรณีเกี่ยวกับชีวิตร่างกาย 2.1 ถ้าถึงตาย (ม.443) ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ ค่าปลงศพ / ค่าขาดไร้อุปการะ 2.2 ถ้าไม่ถึงตาย ค่าสินไหมทดแทน ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล รวมตลอดทั้ง ค่าเสียหายที่ต้องขาด ประโยชน์ทามาหาได้ เพราะไม่สามารถประกอบการงานนั้น ทั้งในปัจจุบันและในอนาคตด้วย นิรโทษกรรม(ม. 438) ถ้าการทาละเมิดดังกล่าว ผู้กระทาได้ทาไปเพื่อป้องกันก็ดี เพราะมีเหตุจาเป็นก็ดี หรือเพื่อ บาบัดปัดป้องภยันตรายสาธารณะซึ่งมีมาโดยฉุกเฉินก็ดี ผู้กระทาละเมิดโดยเหตุดังกล่าวนั้นไม่จาต้อง ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
  • 29. ครอบครัว การหมั้น 1.ชายและหญิงคู่หมั้นต้องมีอายุ17 ปีบริบูรณ์ (ม.1435) ถ้าการหมั้นกระทาโดยฝ่าฝืนมาตรา 1435 ผลคือ การหมั้นตกเป็นโมฆะ (ม.1435 ว.2) 2. ผู้เยาว์ทาการหมั้นจะต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครองด้วย (มาตรา 1436)ถ้าการหมั้นที่ผู้เยาว์ทาโดยปราศจากความยินยอมดังกล่าว การหมั้นนั้นตกเป็นโมฆียะ แบบของการหมั้น การหมั้นจะสมบูรณ์เมื่อฝ่ายชายได้ส่งหมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้น ให้แก่ หญิง เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น (มาตรา 1437) สัญญาหมั้นเป็นสัญญาพิเศษ ผิดกับสัญญาธรรมดา ฉะนั้น หากมีการหมั้นแต่ฝ่ายชายไม่มีของหมั้นมามอบให้หญิงแล้ว แม้จะ มีการผิดสัญญาหมั้นก็จะฟ้องเรียกค่าทดแทนฐานผิดสัญญาหมั้นไม่ได้
  • 30. ของหมั้น ลักษณะสาคัญของของหมั้นจะต้องเข้าหลักเกณฑ์4 ประการ คือ 1.ต้องเป็นทรัพย์สิน (สิทธิเรียกร้อง ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่นามาเป็นของหมั้นได้) 2.ต้องเป็นของที่ฝ่ายชายให้ไว้แก่หญิง 3.ต้องให้ไว้ในเวลาทาสัญญาและหญิงต้องได้รับไว้แล้ว 4.ต้องเป็นการให้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้นและต้องให้ไว้ก่อนสมรส ถ้าให้เมื่อ หลังสมรสแล้วทรัพย์นั้นไม่ใช่ของหมั้น การรับผิดตามสัญญาหมั้น เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิเรียกให้รับผิดใช้ค่า ทดแทน ในกรณีที่ฝ่ายหญิง เป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้นให้คืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชายด้วย (มาตรา 1439) สินสอด เป็นทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง แล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส (มาตรา 1437 ว.3)
  • 31. ผลของการหมั้น 1. สิทธิเรียกค่าทดแทนจากคู่หมั้นอีกฝ่ายหนึ่ง (ม.1440) 1.1 ค่าทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแห่งชายหรือหญิงนั้น 1.2 ค่าทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดา มารดา หรือบุคคลผู้กระทาการในฐานะบิดา มารดา ได้ใช้หรือต้องตกเป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร 1.3 ค่าทดแทนความเสียหายที่คู่หมั้นไดจัดการทรัพย์สิน หรือการอื่นอันเกี่ยวแก่อาชีพ หรือทางทามา หาได้ของตนไปโดยสมควร ด้วยคาดหมายว่าจะมีการสมรส 2. สิทธิเรียกค่าทดแทนจากชายอื่น ถ้าหากชายอื่นมาล่วงเกินหญิงคู่หมั้น 2.1 การที่ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น โดยหญิงคู่หมั้นยินยอมมีหลัก คือ(ม.1445) (1) ชายอื่นร่วมประเวณีกับหญิงคู่หมั้น (2) ชายอื่นนั้นรู้หรือควรรู้ว่าหญิงได้หมั้นกับชายคู่หมั้นแล้วและรู้ด้วยว่าชายคู่หมั้นเป็นใคร (3) ชายคู่หมั้นได้บอกเลิกสัญญาหมั้นแล้ว
  • 32. 2.2 การที่ชายอื่นข่มขืนหรือพยายามข่มขืนกระทาชาเราหญิงคู่หมั้น มีหลัก คือ (ม.1446) (1) ชายอื่นจะต้องรู้ว่าหญิงมีคู่หมั้นแล้ว แต่ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าชายคู่หมั้นเป็นใคร (2) ชายคู่หมั้นไม่จาเป็นต้องบอกเลิกสัญญาหมั้นก่อน ข้อสังเกตหญิงคู่หมั้นไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนจากหญิงอื่นที่มาล่วงเกินชายคู่หมั้นทาง ประเวณี จะนามาตรา1445 และมาตรา 1446 มาอนุโลมใช้บังคับไม่ได้ 3. สิทธิเกี่ยวกับของหมั้น ทรัพย์สินของหมั้นนั้นยอมตกเป็นสิทธิของหญิงในทันทีแต่มีบาง กรณีฝ่ายหญิงอาจต้องคืนของหมั้นให้แก่ฝ่ายชายก็ได้ กรณีที่ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิงโดยไม่ต้องคืนให้แก่ฝ่ายชายมีดังนี้ 1. เมื่อฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) เช่น ไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสกับหญิง 2. เมื่อชายหรือหญิงตายก่อนสมรส (ม.1441) 3. เมื่อหญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสาคัญเกิดแก่ชาย (ม.1443)
  • 33. กรณีที่หญิงต้องคืนของหมั้นให้แก่ชายมีดังนี้คือ 1. เมื่อหญิงผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) 2. เมื่อชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสาคัญเกิดแก่หญิง (ม.1442)อนึ่ง การหมั้นไม่เป็น เหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้ถ้ามีข้อตกลงเรื่องค่าปรับในกรณีผิดสัญญาหมั้น ข้อตกลงนั้นเป็นโมฆะ (ม.1438) การสิ้นสุดของการหมั้น 1. กรณีที่คู่หมั้นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตายก่อนสมรส 2. กรณีมีการบอกล้างสัญญาหมั้น 3. กรณีที่มีการสมรส 4. การสิ้นสุดโดยการบอกเลิกสัญญา 5. การสิ้นสุดโดยความยินยอมของทั้งชายและหญิง
  • 34. การสมรส เงื่อนไขการสมรส 1.การสมรสจะทาได้ในระหว่างชายกับหญิงเท่านั้น และจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อชายและหญิงมี อายุ 17 ปีบริบูรณ์ แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอนุญาตให้ทาการสมรสก่อนนั้นได้ (ม.1448) 2. หากผู้เยาว์จะทาการสมรส ต้องได้รับความยินยอมจากบุคคลตาม มาตรา 1454,1455 เสียก่อน 3. ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นคนวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ตามมาตรา 1449ถ้าฝ่าฝืนการสมรสตกเป็นโมฆะ ตามมาตรา 1495 4. ชายและหญิงมิได้เป็นญาติสืบสายโลหิตต่อกันหรือเป็นพี่น้องร่วมบิดามารดาหรือร่วมแต่ บิดา หรือมารดาตามมาตรา 1450 ถ้าฝ่าฝืนการสมรสตกเป็นโมฆะ ตามมาตรา1495 5.ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้ ตามมาตรา1451แต่กฎหมายมิได้ บัญญัติให้การสมรสที่ฝ่าฝืนเงื่อนไขข้อนี้เป็นโมฆะหรือโมฆียะ
  • 35. เนื่องจากผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมไม่มีความสัมพันธ์ในทางสายโลหิตกันเลย และมีมาตรา 1598/32 บัญญัติว่า การรับบุตรบุญธรรมย่อมเป็นอันยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝ่าฝืน มาตรา 1451 จึงทาให้การสมรสที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าวมีผลสมบูรณ์ทุกประการ 6. ชายหรือหญิงมิได้เป็นคู่สมรสของบุคคลอื่นอยู่ตามมาตรา 1452 การสมรสที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติ ดังกล่าวเป็นโมฆะ ตามมาตรา 1495 7.หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ได้ต่อ เมื่อขาดจากการสมรสเดิมแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน แต่มี ข้อยกเว้นตามมาตรา 1453 8. ชายและหญิงยินยอมสมรสกัน (ม. 1458) โดยเปิดเผยต่อหน้านายทะเบียน และให้นายทะเบียน บันทึกความยินยอมนั้นไว้ด้วย แบบแห่งการสมรสการสมรสจะมีได้ เฉพาะเมื่อได้จดทะเบียนสมรสแล้ว เท่านั้น ตามมาตรา 1457
  • 36. ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา 1. สินส่วนตัวตามมาตรา 1471 ได้แก่ ทรัพย์สิน 1ทรัพย์สินที่ภรรยาหรือสามีมีอยู่ก่อนหน้าที่จะทาการสมรส 2ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัวเครื่องแต่งกายหรือเครื่องประดับกาย แต่ต้องตามสมควรแก่ฐานะหรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ ของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 3ทรัพย์สินที่ภรรยาหรือสามีได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดกหรือโดยการให้ด้วยเสน่หา 4ทรัพย์สินที่ภรรยาได้รับมาเนื่องจากเป็นของหมั้น 2. สินสมรสตามมาตรา 1474 มีอยู่3 ชนิดคือ 1.ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส 2.ทรัพย์สินที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรมหรือโดยการให้เป็น หนังสือและในพินัยกรรมหรือหนังสือนั้นได้ระบุว่าทรัพย์สินที่ให้เป็นสินสมรสดังนั้นถ้าไม่ ระบุไว้ให้เป็นสินสมรสก็จะเป็นสินส่วนตัวไปโดยปริยาย 3.ทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัวเช่นดอกเบี้ยในธนาคารแม้เงินต้นจะเป็นสิน ส่วนตัวแต่ดอกเบี้ยเป็นสินสมรสแน่นอน
  • 37. การหย่า 1.การหย่าโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย มีหลักดังนี้ 1.1 ต้องทาเป็นหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่ออย่างน้อย 2 คน และ(ม.1514) 1.2 การหย่าโดยความยินยอมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนการหย่า (ม.1515) 2.การหย่าโดยคาพิพากษาของศาล โดยอาศัยเหตุฟ้องหย่าตามมาตรา 1516 การแบ่งทรัพย์สิน เมื่อหย่ากันแล้วให้แบ่งทรัพย์สินโดยให้ใช้และหญิงมีส่วนเท่าๆ กัน (1533) และใน กรณีที่มีหนี้ที่จะต้องรับผิดร่วมกันก็ให้แบ่งแยกความรับผิดนั้นออกเป็นส่วนๆ เท่ากัน (ม.1535)
  • 38. การรับบุตรบุญธรรม หลักเกณฑ์ในการรับบุตรบุญธรรม(ม.1598/19) 1. ผู้ที่จะรับบุตรบุญธรรมนั้นต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี 2. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี 3. ในการรับบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะเป็นบุตรบุญธรรม จะทาได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอม จากบิดาและมารดาของผู้เยาว์ก่อน ในกรณีที่ผู้เยาว์นั้นถูกทอดทิ้งและอยู่ในความดูแลของสถาน สงเคราะห์เด็ก ให้ขอความยินยอมจากผู้มีอานาจในสถานสงเคราะห์เด็กนั้นแทน 4. ในกรณีที่ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมมีคู่สมรสแล้ว ในการรับหรือเป็นบุตร บุญธรรมต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน 5. ผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลหนึ่งอยู่จะเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกใน ขณะเดียวกันไม่ได้เว้นแต่จะเป็นบุตรบุญธรรมของคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรม 6. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเมื่อได้จดทะเบียนตามกฎหมาย
  • 39. สิทธิและหน้าที่ของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรม 1. มีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น (ม.1598/28) 2. มีหน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูผู้รับบุตรบุญธรรม ทานองเดียวกับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (ม.1563) สิทธิและหน้าที่ของผู้รับบุตรบุญธรรม 1.มีสิทธิใช้อานาจปกครองบุตรบุญธรรม 2. ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรม ในฐานะทายาทโดยธรรม อย่างไรก็ตาม ถ้าบุตรบุญธรรมตายก่อนโดยไม่มีคู่สมรสหรือผู้สืบสันดาน ผู้รับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียกร้อง ทรัพย์สินที่ตนได้ให้แก่บุตรบุญธรรม คืนจากกองมรดก เพียงเท่าที่ยังคงเหลืออยู่หรือภายหลังจาก ชาระหนี้กองมรดกแล้ว (ม.1598/29 และ ม.1598/30) 3. ผู้รับบุตรบุญธรรมมีหน้าที่ต้องอุการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม
  • 40. มรดก การตกทอดแห่งมรดก เมื่อบุคคลใดตายมรดกตกทอดแก่ทายาท (มาตรา 1599) และมรดกของผู้ตายได้แก่ ทรัพย์สินทุก ชนิดของผู้ตายตาม มาตรา 1600 และมรดกของผู้ตายนี้ยอมตกทอดแก่ทายาททันทีที่เจ้ามรดกถึงแก่ ความโดยทายาทไม่ต้องแสดงเจตนาสนองรับ กองมรดกของผู้ตายได้แก่ 1. ทรัพย์สินและสิทธิคาว่า “ทรัพย์สิน” มีความหมายตามมาตรา 137 และมาตรา 138 คือวัตถุที่มี รูปร่างรวมทั้งวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ทรัพย์สินและสิทธิต้องเป็นของผู้ตาย ระหว่างมีชีวิต เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายจึงตกทอดเป็นมรดก ถ้าทรัพย์สินนั้นไม่เป็นของผู้ตายแล้ว ก่อนตายย่อมไม่เป็นมรดก 2.หน้าที่และความรับผิดต่างๆทายาทต้องรับเอาไปทั้งหน้าที่และความรับผิดต่างๆ ด้วย เว้นแต่ ทรัพย์สิน สิทธิหน้าที่และความรับผิดนั้นโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย
  • 41. ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย 1. ทายาทโดยธรรมได้แก่บุคคลตามมาตรา 1629 2. ทายาทโดยพินัยกรรม การเป็นทายาท ตามมาตรา 1604 1.ทายาทที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายนั้น ต้องมีสภาพบุคคล คือ เริ่มแต่เมื่อ คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตายตามมาตรา 15 วรรคแรก เหตุนี้ แม้ก่อนตาย บุคคลใดเป็นทายาท แต่บุคคลนั้นตายก่อนเจ้ามรดกก็ย่อมไม่สามารถเป็นทายาท 2.ทารกในครรภมารดาขณะที่บิดาตาย แม้จะยังไม่คลอดยังไม่มีสภาพบุคคลก็มีสิทธิรับมรดก บิดาได้ ถ้าคลอดมาแล้วอยู่รอด
  • 42. พินัยกรรม พินัยกรรม เป็นนิติกรรมที่บุคคลหนึ่งได้แสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายในเรื่อง ทรัพย์สินของตนเองหรือในการต่างๆ อันจะเกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย (ม.1646) ความสามรถของผู้ทาพินัยกรรมกฎหมายกาหนดว่า ผู้เยาว์จะทาพินัยกรรมได้ ต่อเมื่อมีอายุครบ 15 ปีบริบูรณ์(ม.25) มิฉะนั้นตกเป็นโมฆะ (ม.1703) นอกจากนี้ บุคคลที่ถูกศาล สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ก็ไม่สามารถทาพินัยกรรมได้ หากฝ่าฝืนทาลง พินัยกรรมนั้นจะตก เป็นโมฆะ (ม.17)
  • 43. แบบของพินัยกรรม(ม.1648) มีด้วยกัน 5 ประเภท คือ 1. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (ม.1657) 2. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.1656) 3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง (ม.1658) 4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ (ม.1660) 5. พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา (ม.1663) อนึ่ง การทาพินัยกรรมนั้น แม้ไม่สมบูรณ์ตามแบบหนึ่ง อาจสมบูรณ์ตามแบบอื่นได้ ผู้ที่ไม่อาจเป็นผู้รับพินัยกรรม(ม.1653) 1. ผู้เขียนพินัยกรรม 2. ผู้ที่เป็นพยานในพินัยกรรม 3. คู่สมรสของผู้เขียนหรือคู่สมรสของผู้เป็นพยานในพินัยกรรม นิติบุคคลอาจเป็นผู้รับพินัยกรรมได้ แต่ทั้งนี้จะต้องไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์ในข้อบังคับหรือตรา สารจัดตั้งนิติบุคคลนั้นๆ