SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
การพัฒนาข้อสอบ
Sriprapai Inchaithep, Ph.D.
แนวคิดการประเมินผล
•เครื่องมือ
•วิธีประเมิน
เกณฑ์การ
ประเมินตัวชี้วัด
•ผ่าน
•ไม่ผ่านแล้วยังไงต่อ
เป้าหมายการประเมิน
1. เพื่อประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของ
ผู้เรียน (Formative Evaluation)
2. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
(Summative Evaluation)
3. เพื่อประเมินการจบการศึกษา
(Exit Examination)
คลังข้อสอบ :
Test Bank, Item Bank
A large of collection of
items measuring one thing.
- The formative item bank
- The summative item bank
ขั้นตอนการจัดทาคลังข้อสอบ
เขียนข้อสอบ
แก้ไข/ปรับปรุง
ใช้ข้อสอบข้อสอบ
Curriculum MapTest Blueprint
Specifications หาคุณภาพก่อนใช้/
วิพากษ์ข้อสอบ
หาคุณภาพหลังใช้/
การวิเคราะห์คุณภาพ
คลังข้อสอบ
Logical Review
Empirical Review
การคัดเลือกข้อสอบเข้าคลัง
1. Logical Review วิพากษ์
1. Validity: ถูกต้องตามหลักวิชาและ สอดคล้องกับ test blueprint
2. Objectivity : ชัดเจนในเรื่องของคาถาม การตรวจ และให้คะแนน
3. Fair: ไม่เปิดโอกาสให้มีการได้เปรียบเสียเปรียบ
4. Exemplary: คาถามยั่วยุ ท้าทายให้อยากคิดอยากทา
5. Definite: ตรงประเด็น ไม่ถามกว้างเกินไป
6. Criticality/Frequency : เกิดบ่อย/จาเป็น
การคัดเลือกข้อสอบเข้าคลัง
2. Empirical Review วิเคราะห์
อิงกลุ่ม
1. Reliability ความเที่ยงทั้งฉบับควรมากกว่า 0.7
2. Difficulty ความยากเหมาะสมคือ 0.2-0.8
3. Discrimination อานาจจาแนกเหมาะสมคือ 0.2 ขึ้นไป
อิงเกณฑ์
1. Sensitivity Index : Si สัดส่วนผู้ตอบถูกก่อนเรียนกับหลัง
เรียน ค่าเหมาะสมคือ 0.4 ขึ้นไป
2. Difficulty ความยากเหมาะสมคือ 0.7-1.0
เป็นค่าแสดงสัดส่วนของผู้ที่ตอบข้อนั้นถูก เขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ p (มีค่าตั้งแต่ 0 - 1.00)
Difficulty Index : ดัชนีความยาก
p ข้อสอบหลายตัวเลือกที่เหมาะสมมีค่า 0.20 ถึง 0.80
p ข้อสอบถูกผิดที่เหมาะสมมีค่า 0.60 ถึง 0.95
p ของตัวลวงที่เหมาะสมมีค่า 0.05 ขึ้นไป
( Nunnally, 1967. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี,2552)
0.81- 1.00 แสดงว่า เป็นข้อสอบง่ายมาก ควรตัดทิ้งหรือปรับปรุง
0.61- 0.80 แสดงว่า เป็นข้อสอบค่อนข้างง่าย (ดี)
0.41- 0.60 แสดงว่า เป็นข้อสอบยากง่ายปานกลาง (ดีมาก)
0.21- 0.40 แสดงว่า เป็นข้อสอบค่อนข้างยาก (ดี)
0.00- 0.20 แสดงว่า เป็นข้อสอบยากมาก ควรตัดทิ้งหรือปรับปรุง
เกณฑ์ในการพิจารณาค่าดัชนีความยาก
ประสิทธิภาพของข้อสอบในการแบ่งผู้สอบออกเป็น
สองกลุ่ม คือกลุ่มที่ได้คะแนนสูงหรือกลุ่มเก่งกับกลุ่มที่
ได้คะแนนต่าหรือกลุ่มอ่อน r มีค่า-1.00 ถึง 1.00
Discrimination power: อานาจจาแนก
r ข้อสอบหลายตัวเลือกที่เหมาะสมมีค่า 0.20 ถึง 1.00
r ของตัวลวงที่เหมาะสมมีค่า 0.05 ขึ้นไป
( Nunnally, 1967. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี,2552)
0.60- 1.00 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่จาแนกได้ดีมาก
0.40- 0.59 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่จาแนกได้ดี
0.20- 0.39 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่จาแนกได้พอใช้
0.10- 0.19 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่จาแนกต่า ควรตัดทิ้งหรือปรับปรุง
-1.00-0.09 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่จาแนกต่ามาก
ควรตัดทิ้งหรือปรับปรุง
เกณฑ์ในการพิจารณาค่าอานาจจาแนก
รูปแบบและโครงสร้างของข้อสอบ
ที่ทาให้ผู้สร้างข้อสอบสามารถเขียนข้อสอบ
ได้ตรงกับจุดประสงค์ที่กาหนด
ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคาถามควรมีลักษณะใด
ตัวเลือกแต่ละตัวควรมีลักษณะใด
และจะใช้วัดพฤติกรรมใด
Item specifications
ลักษณะเฉพาะของข้อสอบ
ขอบเขต/เนื้อหา
รายวิชา
ระดับของ
การวัด
•รูปแบบข้อสอบ
•โครงสร้างข้อสอบ
Item specifications
ลักษณะเฉพาะของข้อสอบ
วัตถุประสงค์
การเรียนรู้
Item specification
1. วิชา 2. หัวข้อเนื้อหา
3. วัตถุประสงค์การเรียนรู้
4. ระดับพฤติกรรม
5. ขอบเขตเนื้อหา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ทีประเมิน
6. ประเภท/รูปแบบข้อสอบ
7. ลักษณะข้อสอบ
7.1 ลักษณะโจทย์ / สิ่งเร้า / คาถาม
7.2 ลักษณะคาตอบ
7.3 ลักษณะตัวลวง
8. ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่าง Item specification
กาหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต
(Item Specifications)
1. หัวข้อเนื้อหา การพยาบาลผู้ปุวยที่มีภาวะสมองเสื่อม
2. วัตถุประสงค์ สามารถระบุกิจกรรมการพยาบาลแก่ผู้ปุวยสมองเสื่อมได้อย่างเหมาะสม
3. ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ วิเคราะห์
4. เนื้อหา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ทีประเมิน
อาการของผู้ปุวย Dementia มี 3 ระยะ และการดูแลจะต้องสอดคล้องกับระยะของการเจ็บปุวย
ระยะเริ่มแรก ความจาระยะสั้นบกพร่อง เริ่มมีปัญหาในการใช้คาพูด สับสนเกี่ยวทิศทาง
การดูแลตนเองประจาวันที่ซับซ้อนเสื่อมถอยลง การดูแลที่สาคัญคือการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อ
คงไว้ซึ่งศักยภาพของผู้ปุวย การส่งเสริมการปรับตัวของญาติ และให้การเคารพให้เกียรติผู้ปุวย
ระยะที่สอง อารมณ์จะผันผวน ความจาจะเลวลงเรื่อยๆ บกพร่องในการดูแลตนเองอย่างเห็นได้
ชัด หลงทางประสาทหลอน และมีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว การดูแลที่สาคัญคือการจัด
สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ การหลีกเลี่ยงการทดสอบหรือทาให้ผู้ปุวยเสีย
คุณค่าในตนเอง ปูองกันการทาร้ายตนเอง
กาหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต
(Item Specifications)
4. เนื้อหา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ทีประเมิน (ต่อ)
ระยะที่สาม ผู้ปุวยจะสับสน หลงผิด หรือเกิดภาพหลอน อาจจะก้าวร้าว ความจาสูญเสียไป ไม่
สามารถดูแลตนเองได้ การดูแลที่สาคัญคือการช่วยเหลือด้านกิจวัตรประจาวัน ระมัดระวังการ
เกิดภาวะแทรกซ้อนทางกาย และดูแลด้านจิตใจของญาติ
5. ประเภท/รูปแบบข้อสอบ ปรนัยหลายตัวเลือก
6. ลักษณะข้อสอบ
6.1 ลักษณะโจทย์ /สิ่งเร้า/ คาถาม
กาหนดสถานการณ์ผู้ปุวยภาวะสมองเสื่อมขณะอยู่ที่บ้าน ประกอบด้วยอายุ อาการ 2-3
อาการสาคัญที่สอดคล้องกับอาการในแต่ละระยะ ถามถึงการพยาบาล/ การดูแลผู้ปุวยหรือญาติ
และถามถึงเหตุผลที่ให้การพยาบาล/ดูแลเช่นนั้น
กาหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต
(Item Specifications)
6. ลักษณะข้อสอบ
6.2 ลักษณะคาตอบ
ระบุกิจกรรมการพยาบาลที่สาคัญ/จาเป็น หรือวิธีการดูแลที่สอดคล้องกับระยะของการ
เจ็บปุวย และระบุเหตุผลของการให้การพยาบาลนั้นอย่างถูกต้อง
6.3 ลักษณะตัวลวง
ตัวลวงมี 2 ลักษณะ คือ
1. ระบุกิจกรรมการพยาบาลหรือวิธีการดูแล ไม่สอดคล้องกับระยะของการเจ็บปุวย และ/
หรือระบุเหตุผลของการให้การพยาบาลนั้นไม่ถูกต้อง
2. ระบุกิจกรรมการพยาบาลหรือวิธีการดูแล สอดคล้องกับระยะของการเจ็บปุวย แต่ระบุ
เหตุผลของการให้การพยาบาลนั้นไม่ถูกต้อง
สถานการณ์ พยาบาลไปเยี่ยมบ้านผู้ปุวยชายอายุ 78 ปี ที่มีอาการหลงลืม ไม่
สามารถทากิจกรรมที่ซับซ้อนได้ ดูแลกิจวัตรประจาวันด้วยตนเองได้แต่ต้อง
กระตุ้นเตือนบ่อยๆ และใช้เวลาในการทากิจวัตรประจาวันนานกว่าในอดีต
ข้อใดเป็นการดูแลและเหตุผลที่เหมาะสมสาหรับผู้ปุวยรายนี้
ก. กระตุ้นให้ผู้ปุวยทากิจกรรมที่ทาได้เอง เพื่อคงไว้ซึ่งความสามารถในระดับสูงสุด
ของผู้ปุวย
ข. ให้ญาติช่วยเหลือกิจกรรมที่ผู้ปุวยใช้เวลาทานาน เพื่อให้ได้รับการตอบสนอง
ความต้องการขั้นพื้นฐาน
ค. กระตุ้นให้ผู้ปุวยทากิจวัตรประจาวันภายในเวลาที่กาหนด เพื่อปูองกันการเสื่อม
ถอยของพฤติกรรม
ง. ทบทวนและฝึกให้ผู้ปุวยทากิจกรรมที่เคยทาได้ในอดีต เพื่อฟื้นฟูความสามารถ
ของผู้ปุวยให้กลับคืน
ตัวอย่างข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
แนวใหม่
หลักการใช้ข้อสอบแนวใหม่
ในการวัดผลในสถานศึกษา
1. แบบทดสอบมีลักษณะแบบอิงเกณฑ์
( Criteria reference test)
2. แบบทดสอบจะต้องมีความเป็นปรนัยสูง
3. การบูรณาการตัวชี้วัดหลายตัวโดยใช้ข้อสอบ ที่มีเน้น
กระบวนการคิดทาให้จานวนข้อสอบน้อยลง
4. ออกแบบหรือคัดเลือกลักษณะของข้อสอบให้สอดคล้องกับ
ระดับพฤติกรรมของตัวชี้วัดหรือมาตรฐาน
5. เกณฑ์ในการคะแนนในแต่ละวิชาควรมีความเสมอภาคกัน
รูปแบบข้อสอบเลือกตอบ(แนวใหม่)
1. แบบคำตอบเดียว
(Multiple choice: MC)
2. แบบหลำยคำตอบ
(Multiple Response:
MS)
3. แบบเชิงซ้อน
(complex multiple
choice: CM)
4. แบบกลุ่มคำตอบ
สัมพันธ์(Responses
related: RR)
เลือกตอบ
1. Multiple Choice
โจทย์ กาหนดสถานการณ์ / คาถามประเด็นเดียว
ตัวเลือก มีหลายตัวเลือก มีข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
การให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน
ตอบผิด ได้ 0 คะแนน
2. Multiple Response
โจทย์ กาหนดสถานการณ์ /ข้อสอบเลือกตอบ
ที่มีข้อคาถามเอื้อให้คิดคาตอบได้หลากหลายคาตอบ
ตัวเลือก มีหลายตัวเลือก คาตอบถูกมากกว่า 1 คาตอบ
การให้คะแนน ตอบถูกทั้งหมด ได้ 1 คะแนน
ตอบผิดข้อใดข้อหนึ่ง ได้ 0 คะแนน
หรือ ให้คะแนนตามจานวนข้อที่ตอบถูก
ตัวอย่าง
สถานการณ์ ผู้ปุวยชาย ถูกนาส่งโรงพยาบาลด้วยอาการกระสับกระส่าย มือสั่น
ตัวสั่น พูดคุยสับสน เดินไปเดินมาตลอดเวลา และมีท่าทางหวาดกลัว ญาติให้
ข้อมูลว่าผู้ปุวยติดสุรามา 10 ปีและหยุดดื่ม เมื่อ 2 วันก่อนมา
ข้อใดเป็นการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับผู้ปุวยรายนี้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ก. จัดให้อยู่ในห้องแยกที่เงียบสงบตามลาพังเพื่อลดสิ่งกระตุ้น
ข. ให้นอนใกล้โต๊ะทางานของพยาบาลเพื่อจะได้ส่งเกตอาการได้อย่างใกล้ชิด
ค. ให้นอนในห้องที่เงียบและมีแสงสว่างเพียงพอเพื่อลดการรับรู้ที่คลาดเคลื่อน
ง. ผูกยึดผู้ปุวยบนเตียงที่แข็งแรงเพื่อปูองกันการเกิดอันตรายต่อตัวเองและผู้อื่น
ตอบ ข้อ ค และ ง
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกทั้ง 2 ข้อได้ 2 คะแนน / ตอบถูก 1 ข้อ ได้ 1 คะแนน
ตัวอย่างข้อสอบ
3. Complex Multiple Choice
โจทย์ เป็นลักษณะข้อสอบที่มีข้อคาถามย่อยรวมอยู่ใน
ข้อเดียวกัน โดยข้อคาถามแต่ละข้อจะถามข้อคิดเห็นหรือ
ข้อเท็จจริงจากสถานการณ์ที่กาหนด
ตัวเลือก แต่ละข้อย่อย จะมี 2 ตัวเลือก
การให้คะแนน ตอบถูกทั้งหมด ได้ 1 คะแนน
ตอบผิดข้อใดข้อหนึ่ง ได้ 0 คะแนน
หรือ ให้คะแนนตามจานวนข้อที่ตอบถูก
ตัวอย่าง
สถานการณ์ ชุมชนแห่งหนึ่งมีกลุ่มชายวันทางานติดสุราจานวนหนึ่งซึ่งมีปัญหา
ทะเลาะเบาะแว้งกันประจา จากการเก็บข้อมูลในปีที่ผ่านมาพบว่ามีจานวนเด็ก
และวัยรุ่นสุราเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และดื่มในอายุน้อยลงเมื่อเปรียบเทียบกับสถิติ
ในปีที่ก่อนๆ พยาบาลจิตเวชใน รพสต.แห่งหนึ่งวางแผนจัดกิจกรรมเพื่อปูองกัน
และแก้ไขปัญหาดังกล่าว กิจกรรมใดมีความเหมาะสมและไม่เหมาะสม
ตัวอย่างข้อสอบ
4. Response Related
โจทย์ เป็นข้อสอบเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ ที่มีเงื่อนไข
ให้คิดที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน โดยคาตอบในข้อที่แรก
จะต้องเป็นข้อมูลที่ใช้ในการตอบข้อคาถามต่อไป
ตัวเลือก แต่ละข้อย่อย จะมีหลายตัวเลือกที่สัมพันธ์กัน
โดยมีข้อย่อยที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
การให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน
ตอบผิด ได้ 0 คะแนน
ตัวอย่าง
สถานการณ์ ชายไทย อายุ 30 ปี รูปร่างผอม ท่าทางอิดโรย มีอาการเอะอะ อาละวาด ใช้
ไม้ไล่ตีผู้คน พูดคนเดียวและบอกว่ามีคนจะมาทาร้าย ซักประวัติจากญาติ ได้ข้อมูลว่าผู้ปุวย
ใช้ยาบ้ามา 2 ปี ไม่ทราบระยะเวลาและปริมาณที่ใช้
คาถาม 1) ผู้ปุวยอยู่ในภาวะใด 2) ข้อมูลใดที่บ่งบอกถึงภาวะนั้น 3) ปัญหาที่สาคัญของผู้ปุวย
ตัวอย่างข้อสอบ
Workshop ^^

More Related Content

What's hot

ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551guestd0314d
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายattakowit
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2kessara61977
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคkrupeem
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...Jon Molomby
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2Manas Panjai
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศTanong Sirisommai
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมPrincess Mind
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 

What's hot (20)

ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
ใบงานอนามัยเจริญพันธุ์
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551
โปรแกรมการแข่งขันกีฬาสี ปี 2551
 
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย
 
โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...
เรียนคณิตด้วยจีโอบอร์ด สำหรับคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมต้น คำอธิบายโดยสรุปสำหรั...
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 2
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
แบบทดสอบก่อนเรียน ม.3 งานธุรกิจ
แบบทดสอบก่อนเรียน ม.3 งานธุรกิจแบบทดสอบก่อนเรียน ม.3 งานธุรกิจ
แบบทดสอบก่อนเรียน ม.3 งานธุรกิจ
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศโครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
โครงการออกแบบก่อสร้าง บริหารงาน หอพักนศ
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

Reviews week1
Reviews week1Reviews week1
Reviews week1
 
Presentation3 aangepast
Presentation3 aangepastPresentation3 aangepast
Presentation3 aangepast
 
design rules bolts_grounding
design rules bolts_grounding design rules bolts_grounding
design rules bolts_grounding
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
SPSS statistics - how to use SPSS
SPSS statistics - how to use SPSSSPSS statistics - how to use SPSS
SPSS statistics - how to use SPSS
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
 
Data analysis using spss
Data analysis using spssData analysis using spss
Data analysis using spss
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Similar to การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ

แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2Utsani Yotwilai
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 

Similar to การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ (20)

นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Scriven
ScrivenScriven
Scriven
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 

การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ