SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward
Design
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานช่าง ๑ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔
ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความปลอดภัยใน
งานช่าง
๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
๒.กฎความปลอดภัย
๓.สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน
๔. แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
๕. การป้องกันอุบัติเหตุ
๖. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง
ผัง (Big Idea)
20
ความ
ปลอดภัย
ในงาน
ช่าง
กฎความ
ปลอดภัย
ความปลอดภัยใน
การปฏิบัติงาน
ช่าง
สาเหตุที่ทำาให้เกิด
อันตรายจากการ
ทำางาน
แนวทางในการ
ปฏิบัติงานเพื่อให้
เกิดความ
ปลอดภัย
การป้องกัน
อุบัติเหตุ
หลักความ
ปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง
การปฐมพยาบาล
เบื้องต้นในงาน
ช่าง
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. เป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความเข้าใจที่คงทน
ความปลอดภัยในงานช่างถือได้ว่าเป็นหัวใจสำาคัญของการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งถ้าหากว่าผู้ปฏิบัติงาน
มีความประมาทเลินเล่อ อาจทำาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้
อาจทำาให้ผู้ร่วมงานเกิดความเดือดร้อน
ได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ที่ทำางานเกี่ยวกับงานช่างจำาเป็นต้องเป็นคนที่มีระเบียบ
วินัย มีความรับผิดชอบ เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นหลัก ก็จะได้ชื่อว่า
เป็นช่างมืออาชีพโดยแท้จริง และช่างมืออาชีพก็จะไม่ทำาในสิ่งที่ยาก
แต่จะทำางานด้วยความง่ายและมีหลักการที่ถูกต้อง
๒.จิตพิสัย
๑)การมีความสุขในการเรียนรู้
๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
๑)ความสามารถในการสื่อสาร
๒)ความสามารถในการคิด
๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
21
๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒)ซื่อสัตย์สุจริต
๓)มีวินัย
๔)ใฝ่เรียนรู้
๕)อยู่อย่างพอเพียง
๖)มุ่งมั่นในการทำางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘)มีจิตสาธารณะ
๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
๑)รู้และเข้าใจความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
๒)บอกกฎความปลอดภัยได้ถูกต้อง
๓)อธิบายสาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางานได้
๔)เลือกวิธีปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยได้
๕)ป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานได้
๖)บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานได้
๗) ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับเศษผงหรือสารแปลกปลอมเข้าตาได้
๘)ช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟไหม้หรือนำ้าร้อนลวกได้
๙) ช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้าดูดได้
๑๐) บอกวิธีการผายปอดแบบกดหลังยกแขนได้
๑๑) บอกวิธีการห้ามเลือดได้
๑๒) ปฐมพยาบาลเมื่อผู้ป่วยบาดเจ็บที่ร่างกายได้
๖.ทักษะคร่อมวิชา
๑)การเขียนรายงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ช่าง
๒) การนำาเสนอบอกหลักความปลอดภัยใน
การปฏิบัติงานได้
๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม มีกระบวนการ
ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน
22
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
วิชา งานช่าง ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความปลอดภัยในงานช่าง
เวลา ๔ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง กฎความปลอดภัย สาเหตุที่
ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน
แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย การป้องกัน
อุบัติเหตุ หลักความปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง
๒.สาระสำาคัญ
ความปลอดภัยในงานช่างถือได้ว่าเป็นหัวใจสำาคัญของการปฏิบัติ
งาน ซึ่งถ้าหากว่าผู้ปฏิบัติงาน
มีความประมาทเลินเล่อ อาจทำาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้
อาจทำาให้ผู้ร่วมงานเกิดความเดือดร้อน
ได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ที่ทำางานเกี่ยวกับงานช่างจำาเป็นต้องเป็นคนที่มีระเบียบ
วินัย มีความรับผิดชอบ เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นหลัก ก็จะได้ชื่อว่า
เป็นช่างมืออาชีพโดยแท้จริง และช่างมืออาชีพก็จะไม่ทำาในสิ่งที่ยาก
แต่จะทำางานด้วยความง่ายและมีหลักการที่ถูกต้อง
๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
23
๒.กฎความปลอดภัย
๓.สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน
๔. แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
๕. การป้องกันอุบัติเหตุ
๖. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง
๕.จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ ความ
เข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๑.รู้และเข้าใจความ
ปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง
๒.บอกกฎความ
ปลอดภัยได้ถูกต้อง
๓.อธิบายสาเหตุที่
ทำาให้เกิดอันตราย
จากการทำางานได้
๔.เลือกวิธีปฏิบัติงาน
เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยได้
๕.อธิบายวิธีการ
ป้องกันอุบัติเหตุจาก
การปฏิบัติงานได้
๖.บอกหลักความ
ปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน
ได้
๗. อธิบายวิธี
การขั้นตอนการ
ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับ
เศษผงหรือสาร
แปลกปลอมเข้าตา
ได้
๘.อธิบายวิธีการขั้น
ตอนการช่วยเหลือ
ผู้ที่ถูกไฟไหม้หรือ
๑. รู้จักความ
ปลอดภัยในการ
ปฏิบัติงานช่าง
๒. สามารถบอกกฎ
ความปลอดภัยได้ถูก
ต้อง
๓. รู้จักสาเหตุ
ที่ทำาให้เกิดอันตราย
จากการทำางาน
๔.สามารถเลือกวิธี
ปฏิบัติงานเพื่อให้
เกิดความปลอดภัย
ได้
๕.สามารถป้องกัน
อุบัติเหตุจากการ
ปฏิบัติงานได้
๖.สามารถบอกหลัก
ความปลอดภัยใน
การปฏิบัติงานได้
๗. สามารถช่วย
เหลือผู้ที่ได้รับเศษผง
หรือสารแปลกปลอม
เข้าตาได้
๘.สามารถช่วยเหลือผู้ที่
ถูกไฟไหม้หรือนำ้า
ร้อนลวกได้
๙. สามารถช่วย
๑.รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒.ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔.ใฝ่เรียนรู้
๕.อยู่อย่างพอเพียง
๖.มุ่งมั่นในการ
ทำางาน
๗. รัก
ความเป็นไทย
๘.มีจิตสาธารณะ
24
นำ้ำร้อนลวกได้
๙. อธิบำยวิธี
กำรขั้นตอนกำร
ช่วยเหลือผู้ที่ถูก
ไฟฟ้ำดูดได้
๑๐. บอกวิธี
กำรผำยปอดแบบ
กดหลังยกแขนได้
๑๑. บอกวิธี
กำรห้ำมเลือดได้
๑๒.
ปฐมพยำบำลเมื่อผู้
ป่วยบำดเจ็บที่
ร่ำงกำยได้
เหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้ำดูด
ได้
๑๐. สำมำรถ
ทำำกำรผำยปอด
แบบกดหลังยก
แขนได้
๑๑. สำมำรถ
ทำำกำรห้ำมเลือดได้
๑๒. สำมำรถ
ทำำกำร
ปฐมพยำบำลเมื่อผู้
ป่วยบำดเจ็บที่
ร่ำงกำยได้
๖.กำรวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)แบบทดสอบ
๓)ใบงำน
๔)แบบประเมินพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม
๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.วิธีวัดผล
๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)ตรวจแบบทดสอบ
๓)ตรวจใบงำน
๔)สังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม
๕)สังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓.เกณฑ์กำรวัดและประเมินผล
๑)สำำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่ำน
เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ
คะแนนที่ได้จำกกำรทดสอบหลังเรียน
25
๒)กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผ่ำนเกณฑ์กำรทดสอบ
เกินร้อยละ ๕๐
๓)กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ต้องผ่ำนเกณฑ์กำร
ประเมิน เรื่องควำมรู้ควำมเข้ำใจ
กำรนำำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๔)กำรประเมินผลจำกกำรสังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ต้อง
ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕)กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล เกณฑ์ผ่ำนกำร
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖)กำรประเมินผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น
อยู่กับกำรประเมินตำม
สภำพจริง
๗) กำรประเมินผลกำรสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
กำรประเมินตำมสภำพจริง
๗. หลักฐำน/ผลงำน
๑. ผลกำรทำำแบบทดสอบ
๒. ผลกำรทำำใบงำน
๘.กิจกรรมกำรเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน
๑) ครูทบทวนเรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงำนช่ำงที่ได้เรียนรู้ไป
แล้ว
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบำยเนื้อหำสำระสำำคัญเรื่องควำมปลอดภัยในกำร
ปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุ
ที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำน
เพื่อให้เกิดควำมปลอดภัย
กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง
จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน
งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอมพันธ์
26
๓) ให้นักเรียนซักถำมในเรื่องที่ไม่เข้ำใจ ครูสุ่มถำมคำำถำม
กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้
เรื่องควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง
กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน
แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้
เกิดควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำร
ปฏิบัติงำนช่ำง จำกหนังสือเรียน
รำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี
คุณครูคอยให้คำำแนะนำำ
นำำผลงำนที่ได้มำร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำำ
เสนอหน้ำชั้นเรียน
ขั้นสรุปและกำรประยุกต์
๕)ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ
๖)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ ควำมรู้ เรื่องควำม
ปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง
กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน
แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้เกิด
ควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำร
ปฏิบัติงำนช่ำง เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน
ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
๗) นักเรียนทำำกิจกรรม
หรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้
- ใบงำนที่ ๒.๑ - ใบ
งำนที่ ๒.๓
- ใบงำนที่ ๒.๒ - ใบ
งำนที่ ๒.๔
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน
๘) ครูทบทวนควำมรู้เรื่อง
ควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่
27
ทำำให้เกิด
อันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้เกิด
ควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ
หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง
ขั้นสอน
๙) ครูอธิบำยเรื่อง กำร
ปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำง ได้แก่
๑. กำรช่วยเหลือผู้ได้รับ
เศษวัสดุหรือสำรแปลกปลอมเข้ำตำ
๒. กำรช่วยเหลือผู้บำด
เจ็บถูกไฟไหม้หรือนำ้ำร้อนลวก
๓. กำรช่วยเหลือผู้บำด
เจ็บที่ประสบอันตรำยจำกไฟฟ้ำ
๔. วิธีผำยปอดแบบกด
หลังยกแขน
๕. กำรห้ำมเลือด
๖. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
กระดูกศีรษะแตก
๗. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
กระดูกไหปลำร้ำหัก
๘. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
กระดูกต้นแขนหัก
๙. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
กระดูกซี่โครงหัก
๑๐. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
กระดูกข้อมือหัก
๑๑. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
ขำกรรไกรล่ำงหัก
๑๒. กำรปฐมพยำบำลผู้
บำดเจ็บที่มีภำวะกระดูกหัก
๑๓. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ
มีสิ่งแปลกปลอมเข้ำตำ
28
๑๐) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ เรื่อง
กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น
ในงำนช่ำง จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑
เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ
นำำผลงำนที่ได้มำร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้ว
นำำเสนอหน้ำชั้น
ขั้นสรุปและกำรประยุกต์
๑๑) ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ
๑๒) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ เรื่อง กำร
ปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำง เพื่อให้
เข้ำใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑๓) นักเรียนทำำกิจกรรมหรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้
- ใบงำนที่ ๒.๕ - ใบงำนที่
๒.๙
- ใบงำนที่ ๒.๖ - ใบงำนที่
๒.๑๐
- ใบงำนที่ ๒.๗ - ใบ
งำนที่ ๒.๑๑
- ใบงำนที่ ๒.๘
๑๔) ให้นักเรียนทำำแบบ
ทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒
๙. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม
พันธ์
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบกำรณ์ งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม
พันธ์
๑๐. กำรบูรณำกำร
บูรณำกำรกับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ได้แก่ ทักษะกำรเขียน
รำยงำน ทักษะกำรนำำเสนอรำยงำน
29
คำำชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. สำเหตุของกำรเกิดอุบัติเหตุในกำรปฏิบัติงำนช่ำงคืออะไร
๒.จงเขียนกฎควำมปลอดภัยมำอย่ำงน้อย ๕ ข้อ
๓.จงบอกแนวทำงกำรปฏิบัติงำนเพื่อควำมปลอดภัยมำอย่ำงน้อย ๓
ข้อ
๔. จงบอกแนวทำงกำรป้องกันอุบัติเหตุมำอย่ำงน้อย ๓ ข้อ
๕. หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนมีอะไรบ้ำง
๖. กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำงหมำยถึงอะไร
๗. กำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บเมื่อถูกนำ้ำร้อนลวกมีแนวทำงอย่ำงไร
๘.ขั้นตอนกำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บที่ประสบอันตรำยจำกไฟฟ้ำดูดมี
ขั้นตอนอย่ำงไร
๙.ขั้นตอนแรกของวิธีกำรผำยปอดแบบกดหลังยกแขนคืออะไร
30
๑๐. กำรห้ำมเลือดคืออะไรและมีข้อควร
ระวังในกำรห้ำมเลือดอย่ำงไร
๑๑. จุดสำำคัญของกำรปฐมพยำบำลเมื่อกระดูกศีรษะแตกคืออะไร
๑๒. ปฐมพยำบำลเบื้องต้นเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้ำตำมีแนวทำง
อย่ำงไร
๑๓. หลักในกำรดำมกระดูกมีรำยละเอียดอย่ำงไร
๑๔. อำกำรที่แสดงว่ำผู้บำดเจ็บมีภำวะกระดูกหัก มีลักษณะอย่ำงไร
๑๕. อำกำรที่แสดงว่ำผู้บำดเจ็บมีภำวะกระดูกข้อมือหัก มีลักษณะ
อย่ำงไร
คำำชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำำตอบที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดไม่ใช่สำเหตุของกำรเกิดอุบัติเหตุ
ก. เกิดจำกตัวบุคคล
ข. เกิดจำกระบบทำำงำนอำคำรสถำนที่
ค. เกิดจำกเครื่องมือและเครื่องจักร
ง. เกิดจำกเครื่องประดับ เช่น นำฬิกำ
๒.ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบที่เกิดจำกอุบัติเหตุ
ก. ทำำให้เสียทรัพย์สิน ข. ทำำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง
ค. ทำำให้ร่ำงกำยได้รับบำดเจ็บ ง. บริษัทประกันอุบัติเหตุต้องสูญ
เสียเงิน
๓.ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกฎควำมปลอดภัย
ก. หำกเครื่องจักรเกิดชำำรุดต้องเขียนป้ำยบอกไว้
ข. ช่ำงควรใส่แหวน นำฬิกำ และสร้อยคอ
ค. ควรดื่มของมึนเมำในขณะปฏิบัติงำน
ง. หำกนำ้ำมันหกรดลงพื้นไม่ควรที่จะทำำควำมสะอำดทันที
๔. ข้อใดเป็นสำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน
ก. กำรแต่งกำยต้องรัดกุม ข. มีร่ำงกำยแข็งแรง
ค. ผู้ปฏิบัติงำนไม่ควรเกิดควำมเครียด ง. ใ ส่ กำำ ไ ล ข้ อ มื อ
หรือนำฬิกำขณะปฏิบัติงำน
๕. ในกำรป้องกันอุบัติเหตุหำกปฏิบัติงำนใกล้กับวัตถุไวไฟควรมี
อุปกรณ์ใดมำไว้ใกล้ๆ
ก. เข็มขัดนิรภัย ข. ถังบรรจุนำ้ำ
31
ค. ถังดับเพลิง ง. ถังบรรจุทรำย
๖. หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนข้อใดที่ทำำให้ไม่เกิดโรคภัย
เบียดเบียน
ก. สะสำง ข. สุขลักษณะ
ค. สะดวก ง. สร้ำงสรรค์
๗. ข้อใดไม่ใช่กำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บที่มีผงฝุ่นละอองเข้ำตำ
ก. ไม่ควรขยี้ตำ
ข. ผู้บำดเจ็บนอนตะแคงแล้วเอำตำข้ำงที่ถูกสำรพิษลงข้ำงล่ำง
ค. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสะอำดอย่ำงรวดเร็ว
ง. เปิดเปลือกตำผู้ที่บำดเจ็บแล้วเทนำ้ำจำกหัวตำมำทำงหำงตำ
๘.ข้อใดเป็นกำรช่วยเหลือผู้ที่ถูกนำ้ำร้อนลวกอย่ำงถูกวิธี
ก. ใช้ควำมเย็นประคบบำดแผล
ข.ใช้ยำสีฟันประคบบำดแผล
ค. ใส่ยำลงในแผล
ง. ลดระดับบำดแผลให้ตำ่ำเพื่อลดกำรอักเสบของแผล
๙.ข้อใดเป็นกำรช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้ำดูดอย่ำงผิดวิธี
ก. ตัดกระแสไฟฟ้ำออกจำกผู้ป่วย
ข.ใช้ไม้แห้งหรือฉนวนไฟฟ้ำเขี่ยอุปกรณ์ที่ไฟรั่วออกจำกผู้ป่วย
ค. เมื่อผู้ป่วยหมดสติ ให้นอนหงำยแล้วช้อนคอผู้ป่วยให้แหงนขึ้น
ง. ใช้ไม้เปียกเขี่ยอุปกรณ์ที่ไฟรั่วออกจำกผู้ป่วย
๑๐.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวิธีกำรผำยปอดแบบเป่ำปำก
ก. ประกบปำกผู้ป่วยพอสมควร เป่ำลมเข้ำแรงๆ ประมำณ ๑๕
ครั้งต่อนำที
ข. หำกเป่ำปำกไม่ได้ควรเป่ำที่ใบหูแทน
ค. ประกบปำกผู้ป่วยให้สนิท เป่ำลมเข้ำแรงๆ ประมำณ ๑๕ ครั้ง
ต่อนำที
ง. หำกหัวใจผู้ป่วยหยุดเต้น เอำมือกดใต้ลิ้นปี่ของผู้ป่วย
๑๑.“ทำำกำรจับผู้ป่วยให้ผู้ป่วยนอนควำ่ำแล้วงอข้อศอกทั้งสองข้ำง จำก
นั้นวำงฝ่ำมือของผู้ป่วยให้ทับกัน”
เป็นกำรปฐมพยำบำลผู้ป่วยด้วยวิธีใด
ก. ผำยปอดแบบเป่ำจมูก ข. ผำยปอดแบบกดหลังยกแขน
ค. ผำยปอดแบบเป่ำปำก ง. ผำยปอดแบบกดแขนยกหลัง
๑๒.ผู้ป่วยที่เสียเลือดภำยในพบว่ำระยะแรกมีลักษณะตรงกับข้อใด
32
ก. ชีพจรเต้นเร็วแรง หำยใจช้ำ ต่อมำชีพจรจะเต้นเบำ
ข. ชีพจรเต้นเร็วเบำ หำยใจเร็ว ต่อมำชีพจรจะเต้นแรง
ค. ชีพจรเต้นเร็วแรง หำยใจช้ำ ต่อมำชีพจรจะเต้นแรง
ง. ชีพจรเต้นแรง หำยใจเร็ว ต่อมำชีพจรจะเต้นเบำ
๑๓.อำกำรของผู้ป่วยเมื่อกระดูกศีรษะแตกตรงกับข้อใด
ก. มีเลือดปนนำ้ำใสออกทำงจมูก ข. ตัวเย็นและคลื่นไส้อำเจียน
ค. ตัวเย็น หน้ำซีด ง. แขนและขำยกขึ้นได้ตำมปกติ
๑๔.อำกำรของผู้ป่วยเมื่อกระดูกไหปลำร้ำหักตรงกับข้อใด
ก. อำเจียนเป็นเลือด ข. จะเอียงคอไปที่กระดูกไหปลำร้ำ
ที่หัก
ค. ตัวเย็น หน้ำซีด ง. แขนและขำยกขึ้นได้ตำมปกติ
๑๕.“ใช้ไม้แบนๆ ขนำดกว้ำง ๒ นิ้ว ยำว ๑ ฟุต ให้ปลำยข้ำงหนึ่งของ
ไม้ทำำเป็นมุมฉำกและหำผ้ำนุ่มรองรับไว้” เป็นกำรปฐมพยำบำลผู้
ป่วยในเรื่องใด
ก. กระดูกข้อมือหัก ข. ขำกรรไกรหัก
ค. กระดูกต้นแขนหัก ง. กระดูกซี่โครงหัก
๑๖.“ใช้ผ้ำแถบยำว ๓ ผืน พันรอบทรวงอก โดยผืนที่ ๑ วำงตรงกลำง
ใต้รำวนมเล็กน้อย” เป็นกำร
ปฐมพยำบำลผู้ป่วยในเรื่องใด
ก. กระดูกข้อมือหัก ข. กระดูกไหปลำร้ำหัก
ค. ขำกรรไกรล่ำงหัก ง. กระดูกซี่โครงหัก
๑๗. ขั้นตอนแรกของกำรปฐมพยำบำลผู้ป่วยเมื่อกระดูกข้อมือหัก
คือข้อใด
ก. ประคบนำ้ำแข็ง ๕ นำที ข. ดำมมือที่หักด้วยแผ่นไม้
ค. ห้อยแขนไว้แล้วไปพบแพทย์ ง. ประคบนำ้ำแข็ง ๑๕ นำที
๑๘. ผู้ป่วยมีอำกำรขำกรรไกรล่ำงหัก เกิดจำกสำเหตุในข้อใด
ก. หกล้มแล้วใช้แขนยันพื้นไว้ ข. หกล้มแล้วใช้มือยันพื้นเอำไว้
ค. ถูกตีหกล้มคำงกระแทกพื้น ง. หกล้มแล้วศีรษะฟำดพื้น
๑๙. ภำวะกระดูกหักข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. หักแบบเปิดคือกระดูกไม่ทะลุออกมำข้ำงนอก อวัยวะของผู้ป่วย
จะยำวกว่ำปกติ
33
ข. หักแบบเปิดคือกระดูกทะลุออกมำทำงผิวหนัง เจ็บมำกเวลำ
ขยับ
ค. มีอำกำรบวมชำ้ำ แต่ไม่เจ็บเวลำที่กด
ง. มีอำกำรผิดรูป เช่น งอ โค้ง เคลื่อนไหวได้ตำมปกติ
๒๐.ขั้นตอนแรกเมื่อสำรเคมีเข้ำตำควรทำำอย่ำงไร
ก. ล้ำงตำทันทีด้วยนำ้ำประปำ ๓๐ นำที ข. ใช้ยำปฏิชีวนะขี้
ผึ้งป้ำยตำ
ค. ล้ำงตำด้วยนำ้ำยำล้ำงตำกันอักเสบ ง. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสบู่
คำำชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำำตัวอักษรหน้ำข้อควำมด้ำนขวำมือ
มำใส่ในช่องว่ำงหน้ำข้อควำมด้ำนซ้ำยมือ
ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน
๑. ................ เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นชนิดคำด
เดำยำก ก. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสะอำดนำนๆ
๒................. สะอำด ข. สะสำง
๓................. ขั้นตอนแรกเมื่อมีสิ่งแปลก
ปลอมเข้ำตำ ค. ขั้นตอนแรกเมื่อผู้ป่วยถูก
ไฟดูด
๔................. อำกำรข้ำงเคียงเมื่อกระดูก
ศีรษะแตก ง. หัวไหล่ผิดปกติ
๕................. สุขลักษณะจ. อุบัติเหตุ
๖. ................ กระดูกไหปลำร้ำหัก ฉ .
ทำำควำมสะอำดอยู่เป็นประจำำ
๗. ................ ใช้ควำมเย็นประคบ ช .
ตัดกระแสไฟฟ้ำโดยยกคัตเอำต์ลง
๘................. กำำจัดสิ่งหมักหมมให้สิ้นซำก
ซ. ม่ำนตำหรี่ลง
๙................. ขั้นตอนแรกเมื่อผู้ป่วยโดน
ไฟฟ้ำดูด ฌ. แขนขำยกไม่ขึ้น
๑๐. ................ กระดูกต้นแขนหัก ญ .
ไม่เกิดโรคภัยเบียดเบียน
34
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
35
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(..................................
.............)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................................
(......................
......................................)
36

More Related Content

What's hot

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
Patcharida Nun'wchph
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
pronprom11
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
teerachon
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
krupeak
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
hackinteach
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wann Rattiya
 

What's hot (20)

รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 

Similar to แผนการเรียนรู้งานช่าง 2

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
NAY Aupara
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
NAY Aupara
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
Aoy Amm Mee
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
pannee
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
Pum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
Pum Pep
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
srkschool
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
juckit009
 

Similar to แผนการเรียนรู้งานช่าง 2 (20)

การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
S9 PPT⎪ Tìm kiếm và phân tích các mối nguy hiểm trong công việc và thiết lập ...
S9 PPT⎪ Tìm kiếm và phân tích các mối nguy hiểm trong công việc và thiết lập ...S9 PPT⎪ Tìm kiếm và phân tích các mối nguy hiểm trong công việc và thiết lập ...
S9 PPT⎪ Tìm kiếm và phân tích các mối nguy hiểm trong công việc và thiết lập ...
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
 
เนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิคเนรัญญา แอโรบิค
เนรัญญา แอโรบิค
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 608
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
 

แผนการเรียนรู้งานช่าง 2

  • 1. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานช่าง ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความปลอดภัยใน งานช่าง ๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง ๒.กฎความปลอดภัย ๓.สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน ๔. แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ๕. การป้องกันอุบัติเหตุ ๖. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง ๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง ผัง (Big Idea) 20 ความ ปลอดภัย ในงาน ช่าง กฎความ ปลอดภัย ความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน ช่าง สาเหตุที่ทำาให้เกิด อันตรายจากการ ทำางาน แนวทางในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้ เกิดความ ปลอดภัย การป้องกัน อุบัติเหตุ หลักความ ปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง การปฐมพยาบาล เบื้องต้นในงาน ช่าง
  • 2. ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความเข้าใจที่คงทน ความปลอดภัยในงานช่างถือได้ว่าเป็นหัวใจสำาคัญของการ ปฏิบัติงาน ซึ่งถ้าหากว่าผู้ปฏิบัติงาน มีความประมาทเลินเล่อ อาจทำาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้ อาจทำาให้ผู้ร่วมงานเกิดความเดือดร้อน ได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ที่ทำางานเกี่ยวกับงานช่างจำาเป็นต้องเป็นคนที่มีระเบียบ วินัย มีความรับผิดชอบ เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นหลัก ก็จะได้ชื่อว่า เป็นช่างมืออาชีพโดยแท้จริง และช่างมืออาชีพก็จะไม่ทำาในสิ่งที่ยาก แต่จะทำางานด้วยความง่ายและมีหลักการที่ถูกต้อง ๒.จิตพิสัย ๑)การมีความสุขในการเรียนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน ๑)ความสามารถในการสื่อสาร ๒)ความสามารถในการคิด ๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 21
  • 3. ๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินัย ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑)รู้และเข้าใจความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง ๒)บอกกฎความปลอดภัยได้ถูกต้อง ๓)อธิบายสาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางานได้ ๔)เลือกวิธีปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยได้ ๕)ป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงานได้ ๖)บอกหลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานได้ ๗) ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับเศษผงหรือสารแปลกปลอมเข้าตาได้ ๘)ช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟไหม้หรือนำ้าร้อนลวกได้ ๙) ช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้าดูดได้ ๑๐) บอกวิธีการผายปอดแบบกดหลังยกแขนได้ ๑๑) บอกวิธีการห้ามเลือดได้ ๑๒) ปฐมพยาบาลเมื่อผู้ป่วยบาดเจ็บที่ร่างกายได้ ๖.ทักษะคร่อมวิชา ๑)การเขียนรายงาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ช่าง ๒) การนำาเสนอบอกหลักความปลอดภัยใน การปฏิบัติงานได้ ๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม มีกระบวนการ ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน 22
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความปลอดภัยในงานช่าง เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง กฎความปลอดภัย สาเหตุที่ ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย การป้องกัน อุบัติเหตุ หลักความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง ๒.สาระสำาคัญ ความปลอดภัยในงานช่างถือได้ว่าเป็นหัวใจสำาคัญของการปฏิบัติ งาน ซึ่งถ้าหากว่าผู้ปฏิบัติงาน มีความประมาทเลินเล่อ อาจทำาให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้ อาจทำาให้ผู้ร่วมงานเกิดความเดือดร้อน ได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ที่ทำางานเกี่ยวกับงานช่างจำาเป็นต้องเป็นคนที่มีระเบียบ วินัย มีความรับผิดชอบ เห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็นหลัก ก็จะได้ชื่อว่า เป็นช่างมืออาชีพโดยแท้จริง และช่างมืออาชีพก็จะไม่ทำาในสิ่งที่ยาก แต่จะทำางานด้วยความง่ายและมีหลักการที่ถูกต้อง ๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง 23
  • 5. ๒.กฎความปลอดภัย ๓.สาเหตุที่ทำาให้เกิดอันตรายจากการทำางาน ๔. แนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ๕. การป้องกันอุบัติเหตุ ๖. หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง ๗. การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง ๕.จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ ความ เข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๑.รู้และเข้าใจความ ปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง ๒.บอกกฎความ ปลอดภัยได้ถูกต้อง ๓.อธิบายสาเหตุที่ ทำาให้เกิดอันตราย จากการทำางานได้ ๔.เลือกวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยได้ ๕.อธิบายวิธีการ ป้องกันอุบัติเหตุจาก การปฏิบัติงานได้ ๖.บอกหลักความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน ได้ ๗. อธิบายวิธี การขั้นตอนการ ช่วยเหลือผู้ที่ได้รับ เศษผงหรือสาร แปลกปลอมเข้าตา ได้ ๘.อธิบายวิธีการขั้น ตอนการช่วยเหลือ ผู้ที่ถูกไฟไหม้หรือ ๑. รู้จักความ ปลอดภัยในการ ปฏิบัติงานช่าง ๒. สามารถบอกกฎ ความปลอดภัยได้ถูก ต้อง ๓. รู้จักสาเหตุ ที่ทำาให้เกิดอันตราย จากการทำางาน ๔.สามารถเลือกวิธี ปฏิบัติงานเพื่อให้ เกิดความปลอดภัย ได้ ๕.สามารถป้องกัน อุบัติเหตุจากการ ปฏิบัติงานได้ ๖.สามารถบอกหลัก ความปลอดภัยใน การปฏิบัติงานได้ ๗. สามารถช่วย เหลือผู้ที่ได้รับเศษผง หรือสารแปลกปลอม เข้าตาได้ ๘.สามารถช่วยเหลือผู้ที่ ถูกไฟไหม้หรือนำ้า ร้อนลวกได้ ๙. สามารถช่วย ๑.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔.ใฝ่เรียนรู้ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๖.มุ่งมั่นในการ ทำางาน ๗. รัก ความเป็นไทย ๘.มีจิตสาธารณะ 24
  • 6. นำ้ำร้อนลวกได้ ๙. อธิบำยวิธี กำรขั้นตอนกำร ช่วยเหลือผู้ที่ถูก ไฟฟ้ำดูดได้ ๑๐. บอกวิธี กำรผำยปอดแบบ กดหลังยกแขนได้ ๑๑. บอกวิธี กำรห้ำมเลือดได้ ๑๒. ปฐมพยำบำลเมื่อผู้ ป่วยบำดเจ็บที่ ร่ำงกำยได้ เหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้ำดูด ได้ ๑๐. สำมำรถ ทำำกำรผำยปอด แบบกดหลังยก แขนได้ ๑๑. สำมำรถ ทำำกำรห้ำมเลือดได้ ๑๒. สำมำรถ ทำำกำร ปฐมพยำบำลเมื่อผู้ ป่วยบำดเจ็บที่ ร่ำงกำยได้ ๖.กำรวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)แบบทดสอบ ๓)ใบงำน ๔)แบบประเมินพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล ๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.วิธีวัดผล ๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)ตรวจแบบทดสอบ ๓)ตรวจใบงำน ๔)สังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ๕)สังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล ๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓.เกณฑ์กำรวัดและประเมินผล ๑)สำำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่ำน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ คะแนนที่ได้จำกกำรทดสอบหลังเรียน 25
  • 7. ๒)กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผ่ำนเกณฑ์กำรทดสอบ เกินร้อยละ ๕๐ ๓)กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ต้องผ่ำนเกณฑ์กำร ประเมิน เรื่องควำมรู้ควำมเข้ำใจ กำรนำำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔)กำรประเมินผลจำกกำรสังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ต้อง ผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕)กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล เกณฑ์ผ่ำนกำร ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖)กำรประเมินผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น อยู่กับกำรประเมินตำม สภำพจริง ๗) กำรประเมินผลกำรสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ กำรประเมินตำมสภำพจริง ๗. หลักฐำน/ผลงำน ๑. ผลกำรทำำแบบทดสอบ ๒. ผลกำรทำำใบงำน ๘.กิจกรรมกำรเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน ๑) ครูทบทวนเรื่อง ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงำนช่ำงที่ได้เรียนรู้ไป แล้ว ขั้นสอน ๒) ครูอธิบำยเนื้อหำสำระสำำคัญเรื่องควำมปลอดภัยในกำร ปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุ ที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำน เพื่อให้เกิดควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอมพันธ์ 26
  • 8. ๓) ให้นักเรียนซักถำมในเรื่องที่ไม่เข้ำใจ ครูสุ่มถำมคำำถำม กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ ๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ เรื่องควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้ เกิดควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำร ปฏิบัติงำนช่ำง จำกหนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี คุณครูคอยให้คำำแนะนำำ นำำผลงำนที่ได้มำร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำำ เสนอหน้ำชั้นเรียน ขั้นสรุปและกำรประยุกต์ ๕)ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ ๖)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ ควำมรู้ เรื่องควำม ปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้เกิด ควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำร ปฏิบัติงำนช่ำง เพื่อให้เข้ำใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๗) นักเรียนทำำกิจกรรม หรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้ - ใบงำนที่ ๒.๑ - ใบ งำนที่ ๒.๓ - ใบงำนที่ ๒.๒ - ใบ งำนที่ ๒.๔ ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนำำเข้ำสู่บทเรียน ๘) ครูทบทวนควำมรู้เรื่อง ควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง กฎควำมปลอดภัย สำเหตุที่ 27
  • 9. ทำำให้เกิด อันตรำยจำกกำรทำำงำน แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนเพื่อให้เกิด ควำมปลอดภัย กำรป้องกันอุบัติเหตุ หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนช่ำง ขั้นสอน ๙) ครูอธิบำยเรื่อง กำร ปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำง ได้แก่ ๑. กำรช่วยเหลือผู้ได้รับ เศษวัสดุหรือสำรแปลกปลอมเข้ำตำ ๒. กำรช่วยเหลือผู้บำด เจ็บถูกไฟไหม้หรือนำ้ำร้อนลวก ๓. กำรช่วยเหลือผู้บำด เจ็บที่ประสบอันตรำยจำกไฟฟ้ำ ๔. วิธีผำยปอดแบบกด หลังยกแขน ๕. กำรห้ำมเลือด ๖. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ กระดูกศีรษะแตก ๗. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ กระดูกไหปลำร้ำหัก ๘. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ กระดูกต้นแขนหัก ๙. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ กระดูกซี่โครงหัก ๑๐. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ กระดูกข้อมือหัก ๑๑. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ ขำกรรไกรล่ำงหัก ๑๒. กำรปฐมพยำบำลผู้ บำดเจ็บที่มีภำวะกระดูกหัก ๑๓. กำรปฐมพยำบำลเมื่อ มีสิ่งแปลกปลอมเข้ำตำ 28
  • 10. ๑๐) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ศึกษำค้นคว้ำหำควำมรู้ เรื่อง กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้น ในงำนช่ำง จำกหนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ เอกสำร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ นำำผลงำนที่ได้มำร่วมกันอภิปรำยวิเครำะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้ว นำำเสนอหน้ำชั้น ขั้นสรุปและกำรประยุกต์ ๑๑) ครูแนะนำำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงำนที่นักเรียนนำำเสนอ ๑๒) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำำคัญ เรื่อง กำร ปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำง เพื่อให้ เข้ำใจร่วมกัน ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๓) นักเรียนทำำกิจกรรมหรือใบงำนตำมที่ครูแนะนำำดังนี้ - ใบงำนที่ ๒.๕ - ใบงำนที่ ๒.๙ - ใบงำนที่ ๒.๖ - ใบงำนที่ ๒.๑๐ - ใบงำนที่ ๒.๗ - ใบ งำนที่ ๒.๑๑ - ใบงำนที่ ๒.๘ ๑๔) ให้นักเรียนทำำแบบ ทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ๙. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม พันธ์ ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบกำรณ์ งำนช่ำง ๑ ของสำำนักพิมพ์เอม พันธ์ ๑๐. กำรบูรณำกำร บูรณำกำรกับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ได้แก่ ทักษะกำรเขียน รำยงำน ทักษะกำรนำำเสนอรำยงำน 29
  • 11. คำำชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำำถำมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. สำเหตุของกำรเกิดอุบัติเหตุในกำรปฏิบัติงำนช่ำงคืออะไร ๒.จงเขียนกฎควำมปลอดภัยมำอย่ำงน้อย ๕ ข้อ ๓.จงบอกแนวทำงกำรปฏิบัติงำนเพื่อควำมปลอดภัยมำอย่ำงน้อย ๓ ข้อ ๔. จงบอกแนวทำงกำรป้องกันอุบัติเหตุมำอย่ำงน้อย ๓ ข้อ ๕. หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนมีอะไรบ้ำง ๖. กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นในงำนช่ำงหมำยถึงอะไร ๗. กำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บเมื่อถูกนำ้ำร้อนลวกมีแนวทำงอย่ำงไร ๘.ขั้นตอนกำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บที่ประสบอันตรำยจำกไฟฟ้ำดูดมี ขั้นตอนอย่ำงไร ๙.ขั้นตอนแรกของวิธีกำรผำยปอดแบบกดหลังยกแขนคืออะไร 30
  • 12. ๑๐. กำรห้ำมเลือดคืออะไรและมีข้อควร ระวังในกำรห้ำมเลือดอย่ำงไร ๑๑. จุดสำำคัญของกำรปฐมพยำบำลเมื่อกระดูกศีรษะแตกคืออะไร ๑๒. ปฐมพยำบำลเบื้องต้นเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้ำตำมีแนวทำง อย่ำงไร ๑๓. หลักในกำรดำมกระดูกมีรำยละเอียดอย่ำงไร ๑๔. อำกำรที่แสดงว่ำผู้บำดเจ็บมีภำวะกระดูกหัก มีลักษณะอย่ำงไร ๑๕. อำกำรที่แสดงว่ำผู้บำดเจ็บมีภำวะกระดูกข้อมือหัก มีลักษณะ อย่ำงไร คำำชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำำตอบที่ถูกต้อง ๑. ข้อใดไม่ใช่สำเหตุของกำรเกิดอุบัติเหตุ ก. เกิดจำกตัวบุคคล ข. เกิดจำกระบบทำำงำนอำคำรสถำนที่ ค. เกิดจำกเครื่องมือและเครื่องจักร ง. เกิดจำกเครื่องประดับ เช่น นำฬิกำ ๒.ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบที่เกิดจำกอุบัติเหตุ ก. ทำำให้เสียทรัพย์สิน ข. ทำำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ค. ทำำให้ร่ำงกำยได้รับบำดเจ็บ ง. บริษัทประกันอุบัติเหตุต้องสูญ เสียเงิน ๓.ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกฎควำมปลอดภัย ก. หำกเครื่องจักรเกิดชำำรุดต้องเขียนป้ำยบอกไว้ ข. ช่ำงควรใส่แหวน นำฬิกำ และสร้อยคอ ค. ควรดื่มของมึนเมำในขณะปฏิบัติงำน ง. หำกนำ้ำมันหกรดลงพื้นไม่ควรที่จะทำำควำมสะอำดทันที ๔. ข้อใดเป็นสำเหตุที่ทำำให้เกิดอันตรำยจำกกำรทำำงำน ก. กำรแต่งกำยต้องรัดกุม ข. มีร่ำงกำยแข็งแรง ค. ผู้ปฏิบัติงำนไม่ควรเกิดควำมเครียด ง. ใ ส่ กำำ ไ ล ข้ อ มื อ หรือนำฬิกำขณะปฏิบัติงำน ๕. ในกำรป้องกันอุบัติเหตุหำกปฏิบัติงำนใกล้กับวัตถุไวไฟควรมี อุปกรณ์ใดมำไว้ใกล้ๆ ก. เข็มขัดนิรภัย ข. ถังบรรจุนำ้ำ 31
  • 13. ค. ถังดับเพลิง ง. ถังบรรจุทรำย ๖. หลักควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำนข้อใดที่ทำำให้ไม่เกิดโรคภัย เบียดเบียน ก. สะสำง ข. สุขลักษณะ ค. สะดวก ง. สร้ำงสรรค์ ๗. ข้อใดไม่ใช่กำรช่วยเหลือผู้บำดเจ็บที่มีผงฝุ่นละอองเข้ำตำ ก. ไม่ควรขยี้ตำ ข. ผู้บำดเจ็บนอนตะแคงแล้วเอำตำข้ำงที่ถูกสำรพิษลงข้ำงล่ำง ค. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสะอำดอย่ำงรวดเร็ว ง. เปิดเปลือกตำผู้ที่บำดเจ็บแล้วเทนำ้ำจำกหัวตำมำทำงหำงตำ ๘.ข้อใดเป็นกำรช่วยเหลือผู้ที่ถูกนำ้ำร้อนลวกอย่ำงถูกวิธี ก. ใช้ควำมเย็นประคบบำดแผล ข.ใช้ยำสีฟันประคบบำดแผล ค. ใส่ยำลงในแผล ง. ลดระดับบำดแผลให้ตำ่ำเพื่อลดกำรอักเสบของแผล ๙.ข้อใดเป็นกำรช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้ำดูดอย่ำงผิดวิธี ก. ตัดกระแสไฟฟ้ำออกจำกผู้ป่วย ข.ใช้ไม้แห้งหรือฉนวนไฟฟ้ำเขี่ยอุปกรณ์ที่ไฟรั่วออกจำกผู้ป่วย ค. เมื่อผู้ป่วยหมดสติ ให้นอนหงำยแล้วช้อนคอผู้ป่วยให้แหงนขึ้น ง. ใช้ไม้เปียกเขี่ยอุปกรณ์ที่ไฟรั่วออกจำกผู้ป่วย ๑๐.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับวิธีกำรผำยปอดแบบเป่ำปำก ก. ประกบปำกผู้ป่วยพอสมควร เป่ำลมเข้ำแรงๆ ประมำณ ๑๕ ครั้งต่อนำที ข. หำกเป่ำปำกไม่ได้ควรเป่ำที่ใบหูแทน ค. ประกบปำกผู้ป่วยให้สนิท เป่ำลมเข้ำแรงๆ ประมำณ ๑๕ ครั้ง ต่อนำที ง. หำกหัวใจผู้ป่วยหยุดเต้น เอำมือกดใต้ลิ้นปี่ของผู้ป่วย ๑๑.“ทำำกำรจับผู้ป่วยให้ผู้ป่วยนอนควำ่ำแล้วงอข้อศอกทั้งสองข้ำง จำก นั้นวำงฝ่ำมือของผู้ป่วยให้ทับกัน” เป็นกำรปฐมพยำบำลผู้ป่วยด้วยวิธีใด ก. ผำยปอดแบบเป่ำจมูก ข. ผำยปอดแบบกดหลังยกแขน ค. ผำยปอดแบบเป่ำปำก ง. ผำยปอดแบบกดแขนยกหลัง ๑๒.ผู้ป่วยที่เสียเลือดภำยในพบว่ำระยะแรกมีลักษณะตรงกับข้อใด 32
  • 14. ก. ชีพจรเต้นเร็วแรง หำยใจช้ำ ต่อมำชีพจรจะเต้นเบำ ข. ชีพจรเต้นเร็วเบำ หำยใจเร็ว ต่อมำชีพจรจะเต้นแรง ค. ชีพจรเต้นเร็วแรง หำยใจช้ำ ต่อมำชีพจรจะเต้นแรง ง. ชีพจรเต้นแรง หำยใจเร็ว ต่อมำชีพจรจะเต้นเบำ ๑๓.อำกำรของผู้ป่วยเมื่อกระดูกศีรษะแตกตรงกับข้อใด ก. มีเลือดปนนำ้ำใสออกทำงจมูก ข. ตัวเย็นและคลื่นไส้อำเจียน ค. ตัวเย็น หน้ำซีด ง. แขนและขำยกขึ้นได้ตำมปกติ ๑๔.อำกำรของผู้ป่วยเมื่อกระดูกไหปลำร้ำหักตรงกับข้อใด ก. อำเจียนเป็นเลือด ข. จะเอียงคอไปที่กระดูกไหปลำร้ำ ที่หัก ค. ตัวเย็น หน้ำซีด ง. แขนและขำยกขึ้นได้ตำมปกติ ๑๕.“ใช้ไม้แบนๆ ขนำดกว้ำง ๒ นิ้ว ยำว ๑ ฟุต ให้ปลำยข้ำงหนึ่งของ ไม้ทำำเป็นมุมฉำกและหำผ้ำนุ่มรองรับไว้” เป็นกำรปฐมพยำบำลผู้ ป่วยในเรื่องใด ก. กระดูกข้อมือหัก ข. ขำกรรไกรหัก ค. กระดูกต้นแขนหัก ง. กระดูกซี่โครงหัก ๑๖.“ใช้ผ้ำแถบยำว ๓ ผืน พันรอบทรวงอก โดยผืนที่ ๑ วำงตรงกลำง ใต้รำวนมเล็กน้อย” เป็นกำร ปฐมพยำบำลผู้ป่วยในเรื่องใด ก. กระดูกข้อมือหัก ข. กระดูกไหปลำร้ำหัก ค. ขำกรรไกรล่ำงหัก ง. กระดูกซี่โครงหัก ๑๗. ขั้นตอนแรกของกำรปฐมพยำบำลผู้ป่วยเมื่อกระดูกข้อมือหัก คือข้อใด ก. ประคบนำ้ำแข็ง ๕ นำที ข. ดำมมือที่หักด้วยแผ่นไม้ ค. ห้อยแขนไว้แล้วไปพบแพทย์ ง. ประคบนำ้ำแข็ง ๑๕ นำที ๑๘. ผู้ป่วยมีอำกำรขำกรรไกรล่ำงหัก เกิดจำกสำเหตุในข้อใด ก. หกล้มแล้วใช้แขนยันพื้นไว้ ข. หกล้มแล้วใช้มือยันพื้นเอำไว้ ค. ถูกตีหกล้มคำงกระแทกพื้น ง. หกล้มแล้วศีรษะฟำดพื้น ๑๙. ภำวะกระดูกหักข้อใดกล่ำวถูกต้อง ก. หักแบบเปิดคือกระดูกไม่ทะลุออกมำข้ำงนอก อวัยวะของผู้ป่วย จะยำวกว่ำปกติ 33
  • 15. ข. หักแบบเปิดคือกระดูกทะลุออกมำทำงผิวหนัง เจ็บมำกเวลำ ขยับ ค. มีอำกำรบวมชำ้ำ แต่ไม่เจ็บเวลำที่กด ง. มีอำกำรผิดรูป เช่น งอ โค้ง เคลื่อนไหวได้ตำมปกติ ๒๐.ขั้นตอนแรกเมื่อสำรเคมีเข้ำตำควรทำำอย่ำงไร ก. ล้ำงตำทันทีด้วยนำ้ำประปำ ๓๐ นำที ข. ใช้ยำปฏิชีวนะขี้ ผึ้งป้ำยตำ ค. ล้ำงตำด้วยนำ้ำยำล้ำงตำกันอักเสบ ง. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสบู่ คำำชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำำตัวอักษรหน้ำข้อควำมด้ำนขวำมือ มำใส่ในช่องว่ำงหน้ำข้อควำมด้ำนซ้ำยมือ ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน ๑. ................ เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นชนิดคำด เดำยำก ก. ล้ำงตำด้วยนำ้ำสะอำดนำนๆ ๒................. สะอำด ข. สะสำง ๓................. ขั้นตอนแรกเมื่อมีสิ่งแปลก ปลอมเข้ำตำ ค. ขั้นตอนแรกเมื่อผู้ป่วยถูก ไฟดูด ๔................. อำกำรข้ำงเคียงเมื่อกระดูก ศีรษะแตก ง. หัวไหล่ผิดปกติ ๕................. สุขลักษณะจ. อุบัติเหตุ ๖. ................ กระดูกไหปลำร้ำหัก ฉ . ทำำควำมสะอำดอยู่เป็นประจำำ ๗. ................ ใช้ควำมเย็นประคบ ช . ตัดกระแสไฟฟ้ำโดยยกคัตเอำต์ลง ๘................. กำำจัดสิ่งหมักหมมให้สิ้นซำก ซ. ม่ำนตำหรี่ลง ๙................. ขั้นตอนแรกเมื่อผู้ป่วยโดน ไฟฟ้ำดูด ฌ. แขนขำยกไม่ขึ้น ๑๐. ................ กระดูกต้นแขนหัก ญ . ไม่เกิดโรคภัยเบียดเบียน 34
  • 16. บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. 35
  • 17. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.................................. .............) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ หมาย ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ............................................................... (...................... ......................................) 36