SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
Student Pilot Handbook 1
By Tutor Ferry
สารบัญ
ความรู้ใช้ในการสอบ
1. ความถนัด (Aptitude)
• Logical Reasoning Skill
• Spatial Orientation Skill
• Scanning Skill
• Basic Calculation Skill
• Memory Skill
2. คณิตศาสตร์ (Mathermatics)
• เซต (Set)
• จํานวนจริง
• ฟังก์ชั่น
• เมทริกซ์
• ฟังก์ชั่นเอ็กโปเนเชียลและลอการิทึม
• จํานวนเชิงซ้อน
• เรขาคณิตวิเคราะห์
• ฟังก์ชั่นตรีโกณมิติ
• เวกเตอร์
• ลําดับและอนุกรม
• แคลคูลัส
• กําหนดการเชิงเส้น
• ตรรกศาสตร์
• ความน่าจะเป็น
• สถิติ
www.tutorferry.com 2 Line : @tutorferry
3. ฟิสิกส์ (Physics)
• บทนํา
• การเคลื่อนที่ในหนึ่งและสองมิติ
• แรงมวลและกฏการเคลื่อนที่
• การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
• งานและพลังงาน
• โมเมนตัม
• การเคลื่อนที่แบบหมุน
• สมดุลกล
• ของไหล
• ความร้อน
• คลื่นกล
• เสียง
• แสง
• ไฟฟ้าสถิต
• ไฟฟ้าแม่เหล็ก
• ไฟฟ้ากระแสสลับ
• ฟิสิกส์อะตอม
• ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. ภาษาอังกฤษ
• Word Order
• Location
• Verb Tenses
• Instructions , Procedures
• Basic Sentence Structure
• Word Endings
• Prefixes, Suffixes
www.tutorferry.com 3 Line : @tutorferry
• Review One
• Physical Characteristics
• Dimensions
• Purpose
• Conjunctions
• Actions
• Possibility, Probability, Necesssity, Conditions
• Review Two
• Comparisons
• Movement
• Active and Passive
• Processes
• Functions
• States, Failures, Damage
• Review Three
• Connections
• Installation
• Units
• False Friends
• Simplified English
• Maintenance Words
• Review Four
• Tips For Further Reading
• Exercise Key
www.tutorferry.com 4 Line : @tutorferry
ความรู้ทั่วไป
ก่อนคิดจะเป็นนักบินพานิชย์
• บุคลิกภาพที่ต้องการของอาชีพนักบินพานิชย์
• การวัดบุคลิกภาพ
• ทัศนคติที่เป็นอันตรายต่ออาชีพนักบิน
• Need to know for aviators
การสอบสัมภาษณ์
พระราชบัญญัติอากาศยาน พ.ศ. 2558
พระราชกําหนดการบินพลเรือน พ.ศ. 2558
www.tutorferry.com 5 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย
วัดความถนัด
Aptitude Test
www.tutorferry.com 6 Line : @tutorferry
ความถนัด (Aptitude)
Logical Reasoning Skill
การทดสอบเหตุผลเชิงตรรกะเป็นการประเมินทักษะความสามารถของผู้ทดสอบ
- Number Siries การตีความรูปแบบตัวเลข
- Picturs Seriesความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
- Verbal Reasoning เหตุผลเชิงนิรนัย
Number Series
ตัวอย่างโจทย์ ชุดที่ 1
www.tutorferry.com 7 Line : @tutorferry
ตัวอย่างโจทย์ ชุดที่ 2
www.tutorferry.com 12 Line : @tutorferry
www.tutorferry.com 19 Line : @tutorferry
www.tutorferry.com 30 Line : @tutorferry
Scan Instruments N1 และ N2
เปรียบเทียบเครื่องวัดถ้าอันไหนตรงกันให้ใส่ X ในช่อง =>
ถ้าไม่ตรงกันให้ปล่อยว่างไว้
N1L N2L
N1L N1R
N1R N2R
N1 N2
N2L N2R
หมายเหตุ
L = Left
R = Right
เฉลย
N1L N1R
N2L N2R
100100
100100
100 100 00
00
00
www.tutorferry.com 77 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย
วิชาคณิตศาสตร
www.tutorferry.com 93 Line : @tutorferry
คณิตศาสตร์
เนื้อหาสรุปสูตรและทฤษฎี
1. เซต เน้นเรื่องเพาเวอร์เซต สับเซต ผลต่างของเซต การหาจํานวนสมาชิกของเซต
2. จํานวนจริง เรื่องอสมการค่าสัมบูรณ์ อสมการพหุนาม สมการพหุนาม สมบัติของโอเปอเรเตอร์ การหา
ค่าโอเปอเรเตอร์ที่กําหนด
3. ฟังก์ชัน เรื่อง โดเมนของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน 1-1 ฟังก์ชันคอมโพสิท อินเวอร์สของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเวียน
เกิด
4. เมทริกซ์ เน้นเรื่องการบวก ลบ คูณ เมตริกซ์ det และอินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 2x2
5. Expo & Log ออกการแก้สมการและอสมการ Expo การแก้สมการและอสมการ Log
6. จํานวนเชิงซ้อน เน้นเรื่องค่าสัมบูรณ์ อินเวอร์สและสังยุคของจํานวนเชิงซ้อน การบวกและคูณจํานวน
เชิงซ้อน
7. เรขาคณิตวิเคราะห์ ออกเรื่องระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ความชันของเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด ระยะ
ระหว่างจุดกับเส้นตรง สมการเส้นตรง เส้นตรงที่ตั้งฉากกัน พื้นที่รูปสามเหลี่ยม
8. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เรื่องเอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ กฎ cosine ผลบวกและผลต่างของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สูตรมุม 2 เท่า สมการตรีโกณมิติ
9. เวกเตอร์ เน้นเรื่องเวกเตอร์ที่ขนานและตั้งฉากกัน ขนาดของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ค่าสัมบูรณ์
ของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ผลคูณแบบ dot
10. ลําดับและอนุกรม เน้นๆเรื่องลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ อนุกรมอนันต์ อนุกรม 1 +
2 + ... + n
11. แคลคูลัส ออกเรื่องลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ อนุพันธ์ฟังก์ชันคอมโพสิท
อินทิเกรต อินทิกรัลจํากัดเขต ภาคตัดกรวย ออกเรื่องวงรี วงกลมไฮเพอร์โบลา พาราโบลา
12. กําหนดการเชิงเส้น เรื่องค่าตํ่าสุดและสูงสุดของฟังก์ชันเป้าหมาย
13. ตรรกศาสตร์ ออกเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ การหาค่าความจริงของตัวบ่งปริมาณ นิเสธของ
ตัวบ่งปริมาณ สัจนิรันดร์ ปัญหาเชิงตรรกะ ออกเกี่ยวกับปัญหาเชาวน์ทางคณิตศาสตร์ การหาค่าตัว
เลขที่หายไป จัตุรัสกล เป็นต้น
14. ความน่าจะเป็น เน้นเรื่องกฎการนับ การจัดหมู่ การเรียงสับเปลี่ยน ยูเนียนของเหตุการณ์
15. สถิติ ออกเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ค่ามาตรฐาน ความ
แปรปรวน สัมประสิทธิ์การแปรผัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ควอร์ไทล์ เปอร์เซ็นไทล์
www.tutorferry.com 94 Line : @tutorferry
 กราฟของจํานวนเชิงซ้อน
จํานวนเชิงซ้อนอยู่ในรูปของคู่อันดับ ( a , b ) โดย a เป็นส่วนจริง และ b เป็นส่วน- จินตภาพ
ซึ่งแทนได้ด้วยจุดบนระนาบในระบบแกนมุมฉาก โดยแกนนอนเรียกว่า แกนจริง แกนตั้งเรียกว่า แกนจินต
ภาพ และระนาบที่เกิดจากแกนทั้ง 2 เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน
ให้ แกน X แทนแกนจริง และแกน Y แทนแกนจินตภาพ จํานวนเชิงซ้อน 1 + 2i แทนได้ด้วย
จุด ( 1 , 2 ) หรือแทนด้วยเวกเตอร์ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็นจุดเริ่มต้น และจุด ( 1 , 2 ) เป็นจุดสิ้นสุด
 ค่าสัมบูรณ์ ( absolute value หรือ modulus ) ของจํานวนเชิงซ้อน
ถ้า z = a + bi ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนเชิงซ้อน z คือจํานวนจริง 2 2
a b+ เขียน
แทนด้วย z หรือ a bi+
2 2
z a bi a b= + = +
ข้อสังเกต a bi+ คือระยะทางจากจุดกําเนิด ( 0 , 0 ) ถึงจุด ( a , b ) ในระนาบเชิงซ้อน
สมบัติของค่าสัมบูรณ์
1. 22
z zz z= =
2. z z z= = −
3.
1 1
z z
= เมื่อ z ≠ ( 0 , 0 )
4. 1 2 1 2z z z z=
5. 11
2 2
zz
z z
= เมื่อ z ≠ ( 0 , 0 )
-1
-1
0
Y
X
1 2 3 4
2
3
.( 1 , 2 )
( 1 , 2 )
www.tutorferry.com 135 Line : @tutorferry
 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ดังนั้น sin
a
A
c
= ( ข้าม – ฉาก )
cos
b
A
c
= ( ชิด – ฉาก )
tan
a
A
b
= ( ข้าม – ชิด )
 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. กราฟของ siny x= เมื่อ 2 2xπ π− ≤ ≤
2 
3

2
 


2


2
 3

2
2
-1
-0.5
0.5
1
A
A C
ac
b
B
a คือ ด้านตรงข้ามมุม A
b คือ ด้านตรงข้ามมุม B
c คือ ด้านตรงข้ามมุม C
www.tutorferry.com 149 Line : @tutorferry
อนุกรมเลขคณิต
เมื่อกําหนด 1 1 1 1, , 2 ,..., ( 1)a a d a d a n d+ + + − เป็นลําดับเลขคณิต
ดังนั้น 1 1 1 1( ) ( 2 ) ... [ ( 1) ]a a d a d a n d+ + + + + + + − เป็นอนุกรมเลขคณิต
เขียนแทนด้วย nS
[ ]12 ( 1)
2
n
n
S a n d= + −
หรือ 1( )
2
n n
n
S a a= +
อนุกรมเรขาคณิต
เมื่อกําหนด 2 1
1 1 1 1, , ,..., n
a a r a r a r −
เป็นลําดับเรขาคณิต
ดังนั้น 2 1
1 1 1 1... n
a a r a r a r −
+ + + + เป็นอนุกรมเรขาคณิต
เขียนแทนด้วย nS
1(1 )
, 1
1
n
n
a r
S r
r
−
= ≠
−
หรือ 1
, 1
1
n
n
a a r
S r
r
−
= ≠
−
ข้อสังเกต
อนุกรมเลขคณิต มาจาก ผลบวกของลําดับเลขคณิต
อนุกรมเรขาคณิต มาจาก ผลบวกของลําดับเรขาคณิต
 ลําดับอนันต์ คือ ลําดับที่มีโดเมนเป็นเซตอนันต์
ให้ 1 2 3, , ,..., ,...na a a a เป็นลําดับอนันต์ ถ้า n มีค่ามากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด และทําให้ na มีค่าเข้าใกล้
หรือ
เท่ากับจํานวนจริงเพียงจํานวนเดียว เรียกจํานวนจริงนั้นว่า ลิมิตของลําดับ
lim n
n
a L
→∞
=
ลําดับลู่เข้า หรือลําดับคอนเวอร์เจนต์ คือ ลําดับอนันต์ที่มีลิมิต
ลําดับลู่ออก หรือลําดับไดเวอร์เจนต์ คือ ลําดับอนันต์ที่ไม่มีลิมิต
หมายเหตุ ลําดับแกว่งกวัด คือ ลําดับไดเวอร์เจนต์ ตัวอย่างเช่น ( )1
n
na = −
มีลักษณะของกราฟที่ขึ้นและลงสลับกัน โดยไม่เข้าใกล้จํานวนใดจํานวนหนึ่ง
www.tutorferry.com 163 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย
วิชาฟสิกส
www.tutorferry.com 210 Line : @tutorferry
tan
g
r
rg
v
g
a 22
c 

หรือคาบ T = 2
g
h
2. การแกว่งแบบรูปกรวย
ปัญหาพื้นฐานที่สาคัญปัญหาหนึ่ง สาหรับการเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัวก็คือ การแกว่ง
แบบรูปกรวย (conical pendulum) ซึ่งเป็นลักษณะของเชือกเบาผูกลูกตุ้มแล้วแกว่งให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่เป็น
วงกลมในแนวระดับโดยไม่มีพื้นรองรับ ซึ่งจะทาให้การแกว่งเป็นดังรูป 14.8
รูป 14.8
เมื่อวิเคราะห์ปัญหาต่อไปพบว่า วัตถุถูกแรงสองแรงกระทาคือ แรงดึงเชือก T

และน้าหนัก mg

เมื่อ
ทาการแตกแรงเข้าสู่แนวรัศมีเพื่อหาแรงสู่ศูนย์กลาง จะได้ว่าในกรณีที่ลูกตุ้มรักษาระดับการเคลื่อนที่เดิม
ตลอดเวลา ( คงตัว) จะได้แรงลัพธ์แนวดิ่งเป็นศูนย์ คือ
T cos  = mg
ส่วน T sin  จะทาหน้าที่เป็นขนาดแรงสู่ศูนย์กลาง นั่นคือ
T sin  = mac
จากสมการทั้งสองจะได้
แต่ tan  = h
r
เมื่อ คือความยาวเชือก จึงทาให้ได้ว่า
 =
h
g
แสดงว่าคาบไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม สังเกตด้วยว่า T sin  ก็คือ ขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุซึ่งคงตัว
และมีทิศพุ่งเข้าหาศูนย์กลางตลอดเวลา ดังนั้น การแกว่งแบบรูปกรวยจึงมีอัตราเร็วคงตัว ในกรณีที่เราแกว่ง
เร็วขึ้น  จะมีค่ามากขึ้นด้วยแต่อย่างไรก็ตาม  < 90 เสมอ
Ө
www.tutorferry.com 249 Line : @tutorferry
ตัวอย่างของการสั่นแบบ S.H.M.
1. มวลติดปลาย
- ในแนวราบจุดสมดุล คือจุดของความยาวสปริงของสปริง ที่ไม่มีแรงกระทาต่อวัตถุ
- ในแนวอื่นจุดสมดุล คือจุดที่เมื่อนาวัตถุไปแขวนกับสปริงแล้ว ระบบอยู่ในสภาวะ “สมดุลกล”
- ค่าคงที่ของการสั่นแบบ S.H.M. คือค่านิจของสปริง
Kสั่น = Kสปริง
* ในกรณีเป็นการต่อสปริงมากกว่า 1 อัน K คือค่ารวม หาจาก
- อนุกรม 

21 K
1
K
1
K
1
- ขนาน   21 KKK
2. การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา
- การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาที่จะจัดเป็นการสั่นแบบ S.H.M. ได้นั้นมุม  ที่กวาดได้ต้องเป็นมุมเล็ก ๆ
- ค่าคงที่ในการสั่น (K สั่น) หาได้จาก
Kสั่น = 
mg
*  คือความยาวของเส้นเชือกจนถึงจุดศูนย์กลางมวล (แต่ถือว่ามวลมีขนาดเล็ก  = ความยาวเส้นเชือก)
รวม
รวม
A
สมดุล
A


m
m
k
ปลาย ปลาย
สมดุล
m
k
สมดุล
m
K
w 
K
m
2T 
m
K
2
1
f


www.tutorferry.com 259 Line : @tutorferry
บทวิเคราะห์
1) กรณีที่แรงทามุมใดๆ กับการกระจัด งานที่ได้คือ
W = FS cos 
 งานจะเป็นบวก เมื่อ เป็นมุมแหลม ดังรูป
 งานจะมีค่าเป็นลบ เมื่อ เป็นมุมป้าน ดังรูป
2) ในกรณีที่แรงทามุมใดๆ กับการกระจัด เราอาจจะหางานจากการแตกแรงเข้าสู่แนวการกระจัด
W = FS cos  ……………(1)
จากสมการที่ (1)
W = (F cos )  S ……………(2)
เราจะเห็น F cos  คือ แรงที่เราแตกองค์ประกอบลงมาในอยู่ในแนวการกระจัด (อย่ายึดติดว่าต้อง
เป็น cos  อย่างเดียว) ซึ่งในที่นี้จะเรียกว่า “แรงในการกระจัด” ดังนั้นเราจะได้ว่า
W = (แรงในแนวการกระจัด)  S ……………(3)
 งานจะเป็นบวก เมื่อ “แรงในแนวการกระจัด” ทิศเดียวกับการกระจัด ดังรูป
W =  (F cos)  S จูล
 งานจะเป็นลบ เมื่อ “แรงในแนวการกระจัด” ทิศตรงข้ามกับการกระจัด ดังรูป
F

S


F

S


F

S

 F cos 
F sin 
F

S

 F cos 
F sin 
F

S


F cos 
F sin 
W = -(F cosγ)·S จูล
www.tutorferry.com 262 Line : @tutorferry
2
2
221
2
11
2
1
2
1
ghvPghvP  
10 หลักของแบร์นูลลี
เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว  v ความดัน  P และระดับความสูงจาก
ต้าแหน่งอ้างอิง  h ของของไหล ที่ก้าลังไหลในท่อหรือในบริเวณหนึ่งได้ ถ้าเป็นการไหลอย่างสม่้าเสมอ
และเป็นแบบอุดมคติ ดังรูป 16
รูป 16
ตามรูป แรงดัน 11 AP (เป็นบวก) และ 22 AP (เป็นลบ) จะท้างานต่อของเหลวในท่องานรวม จะ
ท้าให้ของไหลที่มีมวล m มีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์สูงขึ้น จากทฤษฎีเรื่องงานและพลังงาน คือ
kpext EEW  จะได้
    12
2
1
2
2222111
2
1
2
1
ghmghmmvmvlAPlAP 
แต่

m
lAlA

 2211
เมื่อ  เป็นความหนาแน่น สุดท้ายจึงได้
สมการนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P , v และ h เรียกว่า สมการของแบร์นูลลี (Bernoulli’s
equation) ซึ่งแสดงว่า ผลบวกของ P , 2
2
1
v และ gh ต้องมีค่าคงตัวเสมอ
เราสามารถวิเคราะห์ผลที่น่าสนใจจากสมการนี้ได้ดังนี้
1. ความหมายของ P , 2
2
1
v และ gh อาจหมายถึง งานที่ท้าต่อปริมาตร พลังงานจลน์ต่อ
ปริมาตร และพลังงานศักย์ต่อปริมาตร ตามล้าดับ
www.tutorferry.com 316 Line : @tutorferry
ไฟฟ้าสถิต
1. ประจุไฟฟ้า
 อานาจทางไฟฟ้าเกิดจากสิ่งที่เรียกว่า ประจุ ซึ่งประจุมี 2 ชนิด คือ ประจุบวก และ ประจุลบ
 อานาจของประจุบวกเกิดจากโปรตอน (p
) อานาจของประจุลบเป็นของอิเล็กตรอน (e
)
 โปรตอนหนึ่งตัวมีประจุเป็น + e คูลอมป์ อิเล็กตรอนหนึ่งตัวมีประจุ – e คูลอมป์
 วัตถุใดมีประจุบวก หมายถึง มีโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน วัตถุใดมีประจุลบ หมายถึง วัตถุ
นั้นมีอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน
 การทาให้เกิดประจุวัตถุทาได้โดยการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน โดยประจุที่เกิดขึ้นบนวัตถุต้องเป็น
จานวนเต็มเท่าของ e106.1 19

Q =  ne ; n = จานวนของ e
ที่มาก (น้อย) กว่า p
2. กฏของคูลอมป์ (Coulomb’s low)
 จะศึกษาเฉพาะจุดประจุ (point charge) เท่านั้น
 สรุปได้ว่า ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุชนิดตรงข้ามกันจะดูดกัน โดยแรงผลักหรือดูด
จะอยู่ในแนวของเส้นตรงที่ลากผ่านจุดประจุทั้งสอง
หมายเหตุ 1F

เป็นแรงที่ประจุ 1Q ผลักหรือดูด 2Q
2F

เป็นแรงที่ประจุ 1Q ผลักหรือดูด 2Q
 จะได้ว่า แรง 1F

และ 2F

เป็นแรง action และ reaction ซึ่งกันและกัน คือเป็นแรงที่มีขนาด
เท่ากันแต่ทิศตรงข้ามกัน
 ขนาดของแรงแปรผันโดยตรงกับผลคูณของขนาดประจุ และแปรผันกับกาลังสองของระยะห่าง
ระหว่างประจุ
2
21
r
QkQ
F  ; 9
109k  , 1Q และ 2Q แทนเฉพาะขนาด
2F

+Q 1 +Q 2 1F

2F

– Q 1 – Q 2 1F

+Q 1 2F

1F

– Q 2
Q 1 F
Q 2F

r
www.tutorferry.com 408 Line : @tutorferry
วิชาภาษาอังกฤษ
www.tutorferry.com 509 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย
ภาษาอังกฤษ
Word Order
www.tutorferry.com 510 Line : @tutorferry
Word Endings
www.tutorferry.com 536 Line : @tutorferry
Physical Characteristics
www.tutorferry.com 553 Line : @tutorferry
Installation
www.tutorferry.com 654 Line : @tutorferry
ความรูทั่วไป
www.tutorferry.com 713 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย
ความรู้ทั่วไป
บุคลิกภาพที่ต้องการของอาชีพนักบินพานิชย์
1. ชอบสังคมเป็นกันเอง ระดับ 4
2. ฉลาดเฉียบแหลม ระดับ 8
3. อารมณ์มั่นคง ระดับ 8
4. จริงจัง ระดับ 5
5. มีมโนธรรม ระดับ 7
6. ชอบผจญภัย ใจกล้า ระดับ 7
7. ใจแข็ง ระดับ 3 (หวั่นไหวง่าย)
8. ไว้ใจได้ ระดับ 5
9. ปฏิบัติได้จริง ระดับ 3
10.มีปฏิพานไหวพริบ ระดับ 6
11.มั่นใจในตนเอง ระดับ 3
12.พึ่งตนเอง ระดับ 6
13.ชอบทดลอง ระดับ 3
14.มีวินัย ระดับ 8.5
15.ผ่อนคลาย ไม่เครียด ระดับ 3
การวัดบุคลิกภาพ สามารถวัดได้7 ประการ
1. ทางกาย เช่น รูปร่าง หน้าตา การแต่งกาย
2. อารมณ์ เช่น การแสดงออก สดชื่น อารมณ์ขัน ร่าเริง หงุดหงิดง่าย
3. สติปัญญา เช่น ความจํา สังเกต ขีดความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสนใจ/ค่านิยม เช่น งานอดิเรก สิ่งที่นิยม ศรัทธา เลื่อมใส
5. เจตคติ (Attitude) เช่น ความรู้สึกต่อสังคม บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทางที่ดี/ไม่ดี
6. แรงจูงใจ เช่น อยากทําอะไรมาก ร่วมกับผู้อื่น
7. สังคม เช่น มนุษย์สัมพันธ์
ทัศนคติที่เป็นอันตรายต่อการเป็น นบ.พานิชย์
1. ต่อต้านกฎและระเบียบ (Anit-authority) มีทัศนคติที่เห็นว่ากฎและระเบียบต่าง ๆ ไม่มีความสําคัญและไม่ควร
ยึดถือ
2. ไม่มีความรอบคอบ (Impulsivity) ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ โดยทันทีตามสิ่งแรกที่นึกได้โดยไม่ตริตรองหาแนวทาง
ปฏิบัติที่ดีที่สุด
www.tutorferry.com 714 Line : @tutorferry
การสอบสัมภาษณ์
ในขั้นตอนนี้เป็นการสัมภาษณ์กับกัปตันของการบินไทย ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญ เพราะ
หากผ่านขั้นตอนนี้ไปแล้วล่ะก็ ถ้าเกิดเราพลาดท่าตกรอบใดรอบหนึ่งหลังจากนี้จะถูกพักไม่ให้สอบเป็นเวลา 3 ปีเลย
ครับ (ปี 2012 ขั้นตอนการสอบสัมภาษณ์อยู่หลังจากขั้นตอนการตรวจร่างกาย) ผมจะเล่าให้ฟังถึงประสบการณ์ที่ผม
ได้ไปพบมานะครับ ในวันสัมภาษณ์ผมไปถึงที่โรงแรมเจ้าพระยาปาร์คประมาณ 11.30 น. ซึ่งลาดับการเข้าสอบของ
ผมอยู่ที่ช่วง 14.00 น. ผมก็ไปนั่งคุยกับเพื่อนๆ พี่ๆ ผู้สมัครที่ Lobby ของโรงแรม ช่วงเวลาที่เรามาถึงก่อนเวลา
สัมภาษณ์ ขอให้สังเกตข้อมูลของสิ่งรอบตัวที่อยู่บริเวณโรงแรมบ้างครับ เช่น โรงแรมอยู่ติดกับคลองอะไร โรงแรมนี้มี
กี่ชั้น ถนนหน้าโรงแรมคือถนนอะไร เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้บางครั้งอาจจะดูว่ามันไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับการบินเท่าไรนัก
แต่มันก็แสดงให้เห็นถึงความช่างสังเกตของเราได้เหมือนกันครับ
เมื่อถึงเวลาใกล้สอบผมกับเพื่อนประมาณ 5 คน จะขึ้นไปรอที่ชั้น 16 หรือ 17 โดยประมาณ ซึ่งเราจะไปนั่ง
รอเรียกเพื่อเข้าไปสัมภาษณ์สักประมาณ 15 นาที ซึ่งตอนที่รอนี้ก็เป็นอีกช่วงเวลาที่ตื่นเต้นพอสมควรเหมือนกันเมื่อได้
เห็นเพื่อนๆ บางคนเดินออกมาด้วยสีหน้าที่ไม่ค่อยสู้ดีนัก มันก็ทาให้เราประหม่าได้เหมือนกันครับ ดังนั้นช่วงเวลานี้
เราควรจะตั้งสติให้ดีและพยายามให้กาลังใจตัวเองไปเลยครับว่า “เราจะพยายามทามันให้ดีที่สุด”
เมื่อถึงเวลาผมเดินไปที่ห้องและเคาะประตูห้อง 3 ครั้ง (ป๊ อก ป๊ อก ป๊ อก) หลังจากนั้นได้ยินเสียงกัปตันบอก
ว่า “เชิญครับ” ผมจึงเข้าไปในห้อง ผมขอแทรกนิดนึงครับว่า เรื่องการเข้าห้องนี่เป็นสิ่งแรกที่กัปตันจะได้เห็นว่าเรามี
ลักษณะท่าทางอย่างไร มันอาจจะดูไม่สาคัญมาก แต่บางครั้งอาจจะทาให้เกิดความผิดพลาดกับใครต่อใครห ลายๆ
คนมาแล้ว ผมยกตัวอย่างกรณีที่ผมเคยได้ยินมาว่า ผู้สมัครคนหนึ่งเข้าไปในห้องสัมภาษณ์โดยที่ไม่เคาะประตูและ
โดนกัปตันไล่ออกมาจากห้อง ซึ่งหากเราต้องเจอกับสถานการณ์แบบนี้เชื่อว่า เราอาจจะไม่มีสมาธิที่จะสัมภาษณ์ให้ดี
ได้ ผมจึงอยากให้ระวังตั้งแต่จุดก่อนที่จะเริ่มต้นการสัมภาษณ์เลยครับ หลังจากที่เข้าห้องไปแล้วผมพยายามมองให้
ทั่วว่าให้ห้องมีอะไรอยู่บ้าง อะไรวางอยู่ตรงไหน พอให้รู้คร๊าวๆ ครับ โดยห้องสัมภาษณ์นั้นจะมีโต๊ะทางาน 1 ตัว ที่เรา
จะใช้ในการสัมภาษณ์ กัปตัน 2 ท่านจะนั่งหันหน้าหาเราและจะมีเก้าอี้ให้เรานั่ง 1 ตัว โดยเมื่อเข้ามาแล้วผมเดินเข้า
ไปที่หลังเก้าอี้แล้วสวัสดีกัปตัน 1 ครั้ง ก่อนที่กัปตันจะเชิญให้ผมนั่งลงได้ หลังจากนั้นกัปตันให้ผมเริ่มต้นจากการ
แนะนาตัวเองว่าชื่ออะไร มาจากไหน เรียนอะไรมา ซึ่งระหว่างที่เราแนะนาตัวเองนั้นกัปตันก็จะถามคาถาม ต่อไปโดย
ใช้ข้อมูลจากสิ่งที่เราบอก เช่น เราบอกว่าเราชื่ออะไร กัปตันก็อาจจะถามว่าชื่อคุณเนี่ยมันหมายความว่าอะไร เป็นต้น
ผมแนะนาว่าอะไรที่เกี่ยวข้องกับตัวเรา เช่น เรื่องครอบครัว เราก็ควรที่เตรียมข้อมูลไว้เพื่อตอบคาถามด้วยนะครับ
หลังจากแนะนาตัวเสร็จกัปตันท่านก็เริ่มต้นจากคาถามคลาสสิกที่ผมคิดว่าถึงแม้ว่าจะไม่ถูกถามพวกเราทุกคนก็ควร
จะเตรียมคาตอบให้กับตัวเองไว้นะครับ คาถามก็คือว่า “ทาไมเราถึงอยากเป็นนักบิน ” นอกจากนี้ก็จะมีคาถามที่
ค่อนข้างตอบยากเช่น ข้อดีข้อเสียของตัวเราคืออะไร อะไรที่ทาให้เราคิดว่าเราจะเป็นนักบินที่ดีได้ และนักบินที่ดีควร
จะมีลักษณะอย่างไร คาถามเหล่านี้ไม่เพียงแต่จะทาให้กัปตันเข้าใจเรามากขึ้น แต่ยังจะทาให้เรารู้ตัวเองมากขึ้นด้วย
www.tutorferry.com 718 Line : @tutorferry
หน้า ๒๘
เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
พระราชบัญญัติ
ว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ
พ.ศ. ๒๕๕๘
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ
ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการ
ต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๒๑
(๒) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๘
มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่อากาศยานที่ใช้ในบริการทางทหาร ตํารวจ
หรือศุลกากรของรัฐต่างประเทศ
มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้
“อากาศยาน” หมายความว่า อากาศยานตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ
www.tutorferry.com 721 Line : @tutorferry
หน้า ๑
เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๙๕ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘
พระราชกําหนด
การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกําหนดขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชกําหนดนี้เรียกว่า “พระราชกําหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘”
มาตรา ๒ พระราชกําหนดนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ในพระราชกําหนดนี้
“คณะกรรมการการบินพลเรือน” หมายความว่า คณะกรรมการการบินพลเรือนตามกฎหมาย
ว่าด้วยการเดินอากาศ
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกํากับสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
“ผู้อํานวยการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย
“มาตรฐานสากล” หมายความว่า มาตรฐานที่กําหนดตามอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน
ระหว่างประเทศซึ่งทําขึ้นที่เมืองชิคาโกเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกําหนดนี้
www.tutorferry.com 733 Line : @tutorferry
สนใจหนังสือฉบับเต็ม คลิกเลย

More Related Content

Similar to Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)

อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
Nitikan2539
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
Ploy Purr
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
Kanchanid Kanmungmee
 

Similar to Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex) (20)

Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)Sliding mode control (revised march, 2012)
Sliding mode control (revised march, 2012)
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
4339
43394339
4339
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
เครื่องมือ 7 คุณภาพ
เครื่องมือ 7 คุณภาพเครื่องมือ 7 คุณภาพ
เครื่องมือ 7 คุณภาพ
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 

More from Tutor Ferry

More from Tutor Ferry (20)

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_section
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies Test
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 

Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)

  • 1. Student Pilot Handbook 1 By Tutor Ferry
  • 2. สารบัญ ความรู้ใช้ในการสอบ 1. ความถนัด (Aptitude) • Logical Reasoning Skill • Spatial Orientation Skill • Scanning Skill • Basic Calculation Skill • Memory Skill 2. คณิตศาสตร์ (Mathermatics) • เซต (Set) • จํานวนจริง • ฟังก์ชั่น • เมทริกซ์ • ฟังก์ชั่นเอ็กโปเนเชียลและลอการิทึม • จํานวนเชิงซ้อน • เรขาคณิตวิเคราะห์ • ฟังก์ชั่นตรีโกณมิติ • เวกเตอร์ • ลําดับและอนุกรม • แคลคูลัส • กําหนดการเชิงเส้น • ตรรกศาสตร์ • ความน่าจะเป็น • สถิติ www.tutorferry.com 2 Line : @tutorferry
  • 3. 3. ฟิสิกส์ (Physics) • บทนํา • การเคลื่อนที่ในหนึ่งและสองมิติ • แรงมวลและกฏการเคลื่อนที่ • การเคลื่อนที่แบบต่างๆ • งานและพลังงาน • โมเมนตัม • การเคลื่อนที่แบบหมุน • สมดุลกล • ของไหล • ความร้อน • คลื่นกล • เสียง • แสง • ไฟฟ้าสถิต • ไฟฟ้าแม่เหล็ก • ไฟฟ้ากระแสสลับ • ฟิสิกส์อะตอม • ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 4. ภาษาอังกฤษ • Word Order • Location • Verb Tenses • Instructions , Procedures • Basic Sentence Structure • Word Endings • Prefixes, Suffixes www.tutorferry.com 3 Line : @tutorferry
  • 4. • Review One • Physical Characteristics • Dimensions • Purpose • Conjunctions • Actions • Possibility, Probability, Necesssity, Conditions • Review Two • Comparisons • Movement • Active and Passive • Processes • Functions • States, Failures, Damage • Review Three • Connections • Installation • Units • False Friends • Simplified English • Maintenance Words • Review Four • Tips For Further Reading • Exercise Key www.tutorferry.com 4 Line : @tutorferry
  • 5. ความรู้ทั่วไป ก่อนคิดจะเป็นนักบินพานิชย์ • บุคลิกภาพที่ต้องการของอาชีพนักบินพานิชย์ • การวัดบุคลิกภาพ • ทัศนคติที่เป็นอันตรายต่ออาชีพนักบิน • Need to know for aviators การสอบสัมภาษณ์ พระราชบัญญัติอากาศยาน พ.ศ. 2558 พระราชกําหนดการบินพลเรือน พ.ศ. 2558 www.tutorferry.com 5 Line : @tutorferry
  • 8. ความถนัด (Aptitude) Logical Reasoning Skill การทดสอบเหตุผลเชิงตรรกะเป็นการประเมินทักษะความสามารถของผู้ทดสอบ - Number Siries การตีความรูปแบบตัวเลข - Picturs Seriesความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง - Verbal Reasoning เหตุผลเชิงนิรนัย Number Series ตัวอย่างโจทย์ ชุดที่ 1 www.tutorferry.com 7 Line : @tutorferry
  • 10. www.tutorferry.com 19 Line : @tutorferry
  • 11. www.tutorferry.com 30 Line : @tutorferry
  • 12. Scan Instruments N1 และ N2 เปรียบเทียบเครื่องวัดถ้าอันไหนตรงกันให้ใส่ X ในช่อง => ถ้าไม่ตรงกันให้ปล่อยว่างไว้ N1L N2L N1L N1R N1R N2R N1 N2 N2L N2R หมายเหตุ L = Left R = Right เฉลย N1L N1R N2L N2R 100100 100100 100 100 00 00 00 www.tutorferry.com 77 Line : @tutorferry
  • 15. คณิตศาสตร์ เนื้อหาสรุปสูตรและทฤษฎี 1. เซต เน้นเรื่องเพาเวอร์เซต สับเซต ผลต่างของเซต การหาจํานวนสมาชิกของเซต 2. จํานวนจริง เรื่องอสมการค่าสัมบูรณ์ อสมการพหุนาม สมการพหุนาม สมบัติของโอเปอเรเตอร์ การหา ค่าโอเปอเรเตอร์ที่กําหนด 3. ฟังก์ชัน เรื่อง โดเมนของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน 1-1 ฟังก์ชันคอมโพสิท อินเวอร์สของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเวียน เกิด 4. เมทริกซ์ เน้นเรื่องการบวก ลบ คูณ เมตริกซ์ det และอินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 2x2 5. Expo & Log ออกการแก้สมการและอสมการ Expo การแก้สมการและอสมการ Log 6. จํานวนเชิงซ้อน เน้นเรื่องค่าสัมบูรณ์ อินเวอร์สและสังยุคของจํานวนเชิงซ้อน การบวกและคูณจํานวน เชิงซ้อน 7. เรขาคณิตวิเคราะห์ ออกเรื่องระยะห่างระหว่างจุด 2 จุด ความชันของเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด ระยะ ระหว่างจุดกับเส้นตรง สมการเส้นตรง เส้นตรงที่ตั้งฉากกัน พื้นที่รูปสามเหลี่ยม 8. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เรื่องเอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ กฎ cosine ผลบวกและผลต่างของฟังก์ชันตรีโกณมิติ อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สูตรมุม 2 เท่า สมการตรีโกณมิติ 9. เวกเตอร์ เน้นเรื่องเวกเตอร์ที่ขนานและตั้งฉากกัน ขนาดของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ค่าสัมบูรณ์ ของผลบวกและผลต่างของเวกเตอร์ ผลคูณแบบ dot 10. ลําดับและอนุกรม เน้นๆเรื่องลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ อนุกรมอนันต์ อนุกรม 1 + 2 + ... + n 11. แคลคูลัส ออกเรื่องลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ อนุพันธ์ฟังก์ชันคอมโพสิท อินทิเกรต อินทิกรัลจํากัดเขต ภาคตัดกรวย ออกเรื่องวงรี วงกลมไฮเพอร์โบลา พาราโบลา 12. กําหนดการเชิงเส้น เรื่องค่าตํ่าสุดและสูงสุดของฟังก์ชันเป้าหมาย 13. ตรรกศาสตร์ ออกเรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์ การหาค่าความจริงของตัวบ่งปริมาณ นิเสธของ ตัวบ่งปริมาณ สัจนิรันดร์ ปัญหาเชิงตรรกะ ออกเกี่ยวกับปัญหาเชาวน์ทางคณิตศาสตร์ การหาค่าตัว เลขที่หายไป จัตุรัสกล เป็นต้น 14. ความน่าจะเป็น เน้นเรื่องกฎการนับ การจัดหมู่ การเรียงสับเปลี่ยน ยูเนียนของเหตุการณ์ 15. สถิติ ออกเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ค่ามาตรฐาน ความ แปรปรวน สัมประสิทธิ์การแปรผัน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ควอร์ไทล์ เปอร์เซ็นไทล์ www.tutorferry.com 94 Line : @tutorferry
  • 16.  กราฟของจํานวนเชิงซ้อน จํานวนเชิงซ้อนอยู่ในรูปของคู่อันดับ ( a , b ) โดย a เป็นส่วนจริง และ b เป็นส่วน- จินตภาพ ซึ่งแทนได้ด้วยจุดบนระนาบในระบบแกนมุมฉาก โดยแกนนอนเรียกว่า แกนจริง แกนตั้งเรียกว่า แกนจินต ภาพ และระนาบที่เกิดจากแกนทั้ง 2 เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน ให้ แกน X แทนแกนจริง และแกน Y แทนแกนจินตภาพ จํานวนเชิงซ้อน 1 + 2i แทนได้ด้วย จุด ( 1 , 2 ) หรือแทนด้วยเวกเตอร์ที่มีจุด ( 0 , 0 ) เป็นจุดเริ่มต้น และจุด ( 1 , 2 ) เป็นจุดสิ้นสุด  ค่าสัมบูรณ์ ( absolute value หรือ modulus ) ของจํานวนเชิงซ้อน ถ้า z = a + bi ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนเชิงซ้อน z คือจํานวนจริง 2 2 a b+ เขียน แทนด้วย z หรือ a bi+ 2 2 z a bi a b= + = + ข้อสังเกต a bi+ คือระยะทางจากจุดกําเนิด ( 0 , 0 ) ถึงจุด ( a , b ) ในระนาบเชิงซ้อน สมบัติของค่าสัมบูรณ์ 1. 22 z zz z= = 2. z z z= = − 3. 1 1 z z = เมื่อ z ≠ ( 0 , 0 ) 4. 1 2 1 2z z z z= 5. 11 2 2 zz z z = เมื่อ z ≠ ( 0 , 0 ) -1 -1 0 Y X 1 2 3 4 2 3 .( 1 , 2 ) ( 1 , 2 ) www.tutorferry.com 135 Line : @tutorferry
  • 17.  ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนั้น sin a A c = ( ข้าม – ฉาก ) cos b A c = ( ชิด – ฉาก ) tan a A b = ( ข้าม – ชิด )  กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. กราฟของ siny x= เมื่อ 2 2xπ π− ≤ ≤ 2  3  2     2   2  3  2 2 -1 -0.5 0.5 1 A A C ac b B a คือ ด้านตรงข้ามมุม A b คือ ด้านตรงข้ามมุม B c คือ ด้านตรงข้ามมุม C www.tutorferry.com 149 Line : @tutorferry
  • 18. อนุกรมเลขคณิต เมื่อกําหนด 1 1 1 1, , 2 ,..., ( 1)a a d a d a n d+ + + − เป็นลําดับเลขคณิต ดังนั้น 1 1 1 1( ) ( 2 ) ... [ ( 1) ]a a d a d a n d+ + + + + + + − เป็นอนุกรมเลขคณิต เขียนแทนด้วย nS [ ]12 ( 1) 2 n n S a n d= + − หรือ 1( ) 2 n n n S a a= + อนุกรมเรขาคณิต เมื่อกําหนด 2 1 1 1 1 1, , ,..., n a a r a r a r − เป็นลําดับเรขาคณิต ดังนั้น 2 1 1 1 1 1... n a a r a r a r − + + + + เป็นอนุกรมเรขาคณิต เขียนแทนด้วย nS 1(1 ) , 1 1 n n a r S r r − = ≠ − หรือ 1 , 1 1 n n a a r S r r − = ≠ − ข้อสังเกต อนุกรมเลขคณิต มาจาก ผลบวกของลําดับเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต มาจาก ผลบวกของลําดับเรขาคณิต  ลําดับอนันต์ คือ ลําดับที่มีโดเมนเป็นเซตอนันต์ ให้ 1 2 3, , ,..., ,...na a a a เป็นลําดับอนันต์ ถ้า n มีค่ามากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด และทําให้ na มีค่าเข้าใกล้ หรือ เท่ากับจํานวนจริงเพียงจํานวนเดียว เรียกจํานวนจริงนั้นว่า ลิมิตของลําดับ lim n n a L →∞ = ลําดับลู่เข้า หรือลําดับคอนเวอร์เจนต์ คือ ลําดับอนันต์ที่มีลิมิต ลําดับลู่ออก หรือลําดับไดเวอร์เจนต์ คือ ลําดับอนันต์ที่ไม่มีลิมิต หมายเหตุ ลําดับแกว่งกวัด คือ ลําดับไดเวอร์เจนต์ ตัวอย่างเช่น ( )1 n na = − มีลักษณะของกราฟที่ขึ้นและลงสลับกัน โดยไม่เข้าใกล้จํานวนใดจํานวนหนึ่ง www.tutorferry.com 163 Line : @tutorferry
  • 21. tan g r rg v g a 22 c   หรือคาบ T = 2 g h 2. การแกว่งแบบรูปกรวย ปัญหาพื้นฐานที่สาคัญปัญหาหนึ่ง สาหรับการเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัวก็คือ การแกว่ง แบบรูปกรวย (conical pendulum) ซึ่งเป็นลักษณะของเชือกเบาผูกลูกตุ้มแล้วแกว่งให้ลูกตุ้มเคลื่อนที่เป็น วงกลมในแนวระดับโดยไม่มีพื้นรองรับ ซึ่งจะทาให้การแกว่งเป็นดังรูป 14.8 รูป 14.8 เมื่อวิเคราะห์ปัญหาต่อไปพบว่า วัตถุถูกแรงสองแรงกระทาคือ แรงดึงเชือก T  และน้าหนัก mg  เมื่อ ทาการแตกแรงเข้าสู่แนวรัศมีเพื่อหาแรงสู่ศูนย์กลาง จะได้ว่าในกรณีที่ลูกตุ้มรักษาระดับการเคลื่อนที่เดิม ตลอดเวลา ( คงตัว) จะได้แรงลัพธ์แนวดิ่งเป็นศูนย์ คือ T cos  = mg ส่วน T sin  จะทาหน้าที่เป็นขนาดแรงสู่ศูนย์กลาง นั่นคือ T sin  = mac จากสมการทั้งสองจะได้ แต่ tan  = h r เมื่อ คือความยาวเชือก จึงทาให้ได้ว่า  = h g แสดงว่าคาบไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม สังเกตด้วยว่า T sin  ก็คือ ขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุซึ่งคงตัว และมีทิศพุ่งเข้าหาศูนย์กลางตลอดเวลา ดังนั้น การแกว่งแบบรูปกรวยจึงมีอัตราเร็วคงตัว ในกรณีที่เราแกว่ง เร็วขึ้น  จะมีค่ามากขึ้นด้วยแต่อย่างไรก็ตาม  < 90 เสมอ Ө www.tutorferry.com 249 Line : @tutorferry
  • 22. ตัวอย่างของการสั่นแบบ S.H.M. 1. มวลติดปลาย - ในแนวราบจุดสมดุล คือจุดของความยาวสปริงของสปริง ที่ไม่มีแรงกระทาต่อวัตถุ - ในแนวอื่นจุดสมดุล คือจุดที่เมื่อนาวัตถุไปแขวนกับสปริงแล้ว ระบบอยู่ในสภาวะ “สมดุลกล” - ค่าคงที่ของการสั่นแบบ S.H.M. คือค่านิจของสปริง Kสั่น = Kสปริง * ในกรณีเป็นการต่อสปริงมากกว่า 1 อัน K คือค่ารวม หาจาก - อนุกรม   21 K 1 K 1 K 1 - ขนาน   21 KKK 2. การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา - การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาที่จะจัดเป็นการสั่นแบบ S.H.M. ได้นั้นมุม  ที่กวาดได้ต้องเป็นมุมเล็ก ๆ - ค่าคงที่ในการสั่น (K สั่น) หาได้จาก Kสั่น =  mg *  คือความยาวของเส้นเชือกจนถึงจุดศูนย์กลางมวล (แต่ถือว่ามวลมีขนาดเล็ก  = ความยาวเส้นเชือก) รวม รวม A สมดุล A   m m k ปลาย ปลาย สมดุล m k สมดุล m K w  K m 2T  m K 2 1 f   www.tutorferry.com 259 Line : @tutorferry
  • 23. บทวิเคราะห์ 1) กรณีที่แรงทามุมใดๆ กับการกระจัด งานที่ได้คือ W = FS cos   งานจะเป็นบวก เมื่อ เป็นมุมแหลม ดังรูป  งานจะมีค่าเป็นลบ เมื่อ เป็นมุมป้าน ดังรูป 2) ในกรณีที่แรงทามุมใดๆ กับการกระจัด เราอาจจะหางานจากการแตกแรงเข้าสู่แนวการกระจัด W = FS cos  ……………(1) จากสมการที่ (1) W = (F cos )  S ……………(2) เราจะเห็น F cos  คือ แรงที่เราแตกองค์ประกอบลงมาในอยู่ในแนวการกระจัด (อย่ายึดติดว่าต้อง เป็น cos  อย่างเดียว) ซึ่งในที่นี้จะเรียกว่า “แรงในการกระจัด” ดังนั้นเราจะได้ว่า W = (แรงในแนวการกระจัด)  S ……………(3)  งานจะเป็นบวก เมื่อ “แรงในแนวการกระจัด” ทิศเดียวกับการกระจัด ดังรูป W =  (F cos)  S จูล  งานจะเป็นลบ เมื่อ “แรงในแนวการกระจัด” ทิศตรงข้ามกับการกระจัด ดังรูป F  S   F  S   F  S   F cos  F sin  F  S   F cos  F sin  F  S   F cos  F sin  W = -(F cosγ)·S จูล www.tutorferry.com 262 Line : @tutorferry
  • 24. 2 2 221 2 11 2 1 2 1 ghvPghvP   10 หลักของแบร์นูลลี เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว  v ความดัน  P และระดับความสูงจาก ต้าแหน่งอ้างอิง  h ของของไหล ที่ก้าลังไหลในท่อหรือในบริเวณหนึ่งได้ ถ้าเป็นการไหลอย่างสม่้าเสมอ และเป็นแบบอุดมคติ ดังรูป 16 รูป 16 ตามรูป แรงดัน 11 AP (เป็นบวก) และ 22 AP (เป็นลบ) จะท้างานต่อของเหลวในท่องานรวม จะ ท้าให้ของไหลที่มีมวล m มีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์สูงขึ้น จากทฤษฎีเรื่องงานและพลังงาน คือ kpext EEW  จะได้     12 2 1 2 2222111 2 1 2 1 ghmghmmvmvlAPlAP  แต่  m lAlA   2211 เมื่อ  เป็นความหนาแน่น สุดท้ายจึงได้ สมการนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P , v และ h เรียกว่า สมการของแบร์นูลลี (Bernoulli’s equation) ซึ่งแสดงว่า ผลบวกของ P , 2 2 1 v และ gh ต้องมีค่าคงตัวเสมอ เราสามารถวิเคราะห์ผลที่น่าสนใจจากสมการนี้ได้ดังนี้ 1. ความหมายของ P , 2 2 1 v และ gh อาจหมายถึง งานที่ท้าต่อปริมาตร พลังงานจลน์ต่อ ปริมาตร และพลังงานศักย์ต่อปริมาตร ตามล้าดับ www.tutorferry.com 316 Line : @tutorferry
  • 25. ไฟฟ้าสถิต 1. ประจุไฟฟ้า  อานาจทางไฟฟ้าเกิดจากสิ่งที่เรียกว่า ประจุ ซึ่งประจุมี 2 ชนิด คือ ประจุบวก และ ประจุลบ  อานาจของประจุบวกเกิดจากโปรตอน (p ) อานาจของประจุลบเป็นของอิเล็กตรอน (e )  โปรตอนหนึ่งตัวมีประจุเป็น + e คูลอมป์ อิเล็กตรอนหนึ่งตัวมีประจุ – e คูลอมป์  วัตถุใดมีประจุบวก หมายถึง มีโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน วัตถุใดมีประจุลบ หมายถึง วัตถุ นั้นมีอิเล็กตรอนมากกว่าโปรตอน  การทาให้เกิดประจุวัตถุทาได้โดยการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอน โดยประจุที่เกิดขึ้นบนวัตถุต้องเป็น จานวนเต็มเท่าของ e106.1 19  Q =  ne ; n = จานวนของ e ที่มาก (น้อย) กว่า p 2. กฏของคูลอมป์ (Coulomb’s low)  จะศึกษาเฉพาะจุดประจุ (point charge) เท่านั้น  สรุปได้ว่า ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุชนิดตรงข้ามกันจะดูดกัน โดยแรงผลักหรือดูด จะอยู่ในแนวของเส้นตรงที่ลากผ่านจุดประจุทั้งสอง หมายเหตุ 1F  เป็นแรงที่ประจุ 1Q ผลักหรือดูด 2Q 2F  เป็นแรงที่ประจุ 1Q ผลักหรือดูด 2Q  จะได้ว่า แรง 1F  และ 2F  เป็นแรง action และ reaction ซึ่งกันและกัน คือเป็นแรงที่มีขนาด เท่ากันแต่ทิศตรงข้ามกัน  ขนาดของแรงแปรผันโดยตรงกับผลคูณของขนาดประจุ และแปรผันกับกาลังสองของระยะห่าง ระหว่างประจุ 2 21 r QkQ F  ; 9 109k  , 1Q และ 2Q แทนเฉพาะขนาด 2F  +Q 1 +Q 2 1F  2F  – Q 1 – Q 2 1F  +Q 1 2F  1F  – Q 2 Q 1 F Q 2F  r www.tutorferry.com 408 Line : @tutorferry
  • 34. ความรู้ทั่วไป บุคลิกภาพที่ต้องการของอาชีพนักบินพานิชย์ 1. ชอบสังคมเป็นกันเอง ระดับ 4 2. ฉลาดเฉียบแหลม ระดับ 8 3. อารมณ์มั่นคง ระดับ 8 4. จริงจัง ระดับ 5 5. มีมโนธรรม ระดับ 7 6. ชอบผจญภัย ใจกล้า ระดับ 7 7. ใจแข็ง ระดับ 3 (หวั่นไหวง่าย) 8. ไว้ใจได้ ระดับ 5 9. ปฏิบัติได้จริง ระดับ 3 10.มีปฏิพานไหวพริบ ระดับ 6 11.มั่นใจในตนเอง ระดับ 3 12.พึ่งตนเอง ระดับ 6 13.ชอบทดลอง ระดับ 3 14.มีวินัย ระดับ 8.5 15.ผ่อนคลาย ไม่เครียด ระดับ 3 การวัดบุคลิกภาพ สามารถวัดได้7 ประการ 1. ทางกาย เช่น รูปร่าง หน้าตา การแต่งกาย 2. อารมณ์ เช่น การแสดงออก สดชื่น อารมณ์ขัน ร่าเริง หงุดหงิดง่าย 3. สติปัญญา เช่น ความจํา สังเกต ขีดความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสนใจ/ค่านิยม เช่น งานอดิเรก สิ่งที่นิยม ศรัทธา เลื่อมใส 5. เจตคติ (Attitude) เช่น ความรู้สึกต่อสังคม บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทางที่ดี/ไม่ดี 6. แรงจูงใจ เช่น อยากทําอะไรมาก ร่วมกับผู้อื่น 7. สังคม เช่น มนุษย์สัมพันธ์ ทัศนคติที่เป็นอันตรายต่อการเป็น นบ.พานิชย์ 1. ต่อต้านกฎและระเบียบ (Anit-authority) มีทัศนคติที่เห็นว่ากฎและระเบียบต่าง ๆ ไม่มีความสําคัญและไม่ควร ยึดถือ 2. ไม่มีความรอบคอบ (Impulsivity) ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ โดยทันทีตามสิ่งแรกที่นึกได้โดยไม่ตริตรองหาแนวทาง ปฏิบัติที่ดีที่สุด www.tutorferry.com 714 Line : @tutorferry
  • 35. การสอบสัมภาษณ์ ในขั้นตอนนี้เป็นการสัมภาษณ์กับกัปตันของการบินไทย ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญ เพราะ หากผ่านขั้นตอนนี้ไปแล้วล่ะก็ ถ้าเกิดเราพลาดท่าตกรอบใดรอบหนึ่งหลังจากนี้จะถูกพักไม่ให้สอบเป็นเวลา 3 ปีเลย ครับ (ปี 2012 ขั้นตอนการสอบสัมภาษณ์อยู่หลังจากขั้นตอนการตรวจร่างกาย) ผมจะเล่าให้ฟังถึงประสบการณ์ที่ผม ได้ไปพบมานะครับ ในวันสัมภาษณ์ผมไปถึงที่โรงแรมเจ้าพระยาปาร์คประมาณ 11.30 น. ซึ่งลาดับการเข้าสอบของ ผมอยู่ที่ช่วง 14.00 น. ผมก็ไปนั่งคุยกับเพื่อนๆ พี่ๆ ผู้สมัครที่ Lobby ของโรงแรม ช่วงเวลาที่เรามาถึงก่อนเวลา สัมภาษณ์ ขอให้สังเกตข้อมูลของสิ่งรอบตัวที่อยู่บริเวณโรงแรมบ้างครับ เช่น โรงแรมอยู่ติดกับคลองอะไร โรงแรมนี้มี กี่ชั้น ถนนหน้าโรงแรมคือถนนอะไร เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้บางครั้งอาจจะดูว่ามันไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับการบินเท่าไรนัก แต่มันก็แสดงให้เห็นถึงความช่างสังเกตของเราได้เหมือนกันครับ เมื่อถึงเวลาใกล้สอบผมกับเพื่อนประมาณ 5 คน จะขึ้นไปรอที่ชั้น 16 หรือ 17 โดยประมาณ ซึ่งเราจะไปนั่ง รอเรียกเพื่อเข้าไปสัมภาษณ์สักประมาณ 15 นาที ซึ่งตอนที่รอนี้ก็เป็นอีกช่วงเวลาที่ตื่นเต้นพอสมควรเหมือนกันเมื่อได้ เห็นเพื่อนๆ บางคนเดินออกมาด้วยสีหน้าที่ไม่ค่อยสู้ดีนัก มันก็ทาให้เราประหม่าได้เหมือนกันครับ ดังนั้นช่วงเวลานี้ เราควรจะตั้งสติให้ดีและพยายามให้กาลังใจตัวเองไปเลยครับว่า “เราจะพยายามทามันให้ดีที่สุด” เมื่อถึงเวลาผมเดินไปที่ห้องและเคาะประตูห้อง 3 ครั้ง (ป๊ อก ป๊ อก ป๊ อก) หลังจากนั้นได้ยินเสียงกัปตันบอก ว่า “เชิญครับ” ผมจึงเข้าไปในห้อง ผมขอแทรกนิดนึงครับว่า เรื่องการเข้าห้องนี่เป็นสิ่งแรกที่กัปตันจะได้เห็นว่าเรามี ลักษณะท่าทางอย่างไร มันอาจจะดูไม่สาคัญมาก แต่บางครั้งอาจจะทาให้เกิดความผิดพลาดกับใครต่อใครห ลายๆ คนมาแล้ว ผมยกตัวอย่างกรณีที่ผมเคยได้ยินมาว่า ผู้สมัครคนหนึ่งเข้าไปในห้องสัมภาษณ์โดยที่ไม่เคาะประตูและ โดนกัปตันไล่ออกมาจากห้อง ซึ่งหากเราต้องเจอกับสถานการณ์แบบนี้เชื่อว่า เราอาจจะไม่มีสมาธิที่จะสัมภาษณ์ให้ดี ได้ ผมจึงอยากให้ระวังตั้งแต่จุดก่อนที่จะเริ่มต้นการสัมภาษณ์เลยครับ หลังจากที่เข้าห้องไปแล้วผมพยายามมองให้ ทั่วว่าให้ห้องมีอะไรอยู่บ้าง อะไรวางอยู่ตรงไหน พอให้รู้คร๊าวๆ ครับ โดยห้องสัมภาษณ์นั้นจะมีโต๊ะทางาน 1 ตัว ที่เรา จะใช้ในการสัมภาษณ์ กัปตัน 2 ท่านจะนั่งหันหน้าหาเราและจะมีเก้าอี้ให้เรานั่ง 1 ตัว โดยเมื่อเข้ามาแล้วผมเดินเข้า ไปที่หลังเก้าอี้แล้วสวัสดีกัปตัน 1 ครั้ง ก่อนที่กัปตันจะเชิญให้ผมนั่งลงได้ หลังจากนั้นกัปตันให้ผมเริ่มต้นจากการ แนะนาตัวเองว่าชื่ออะไร มาจากไหน เรียนอะไรมา ซึ่งระหว่างที่เราแนะนาตัวเองนั้นกัปตันก็จะถามคาถาม ต่อไปโดย ใช้ข้อมูลจากสิ่งที่เราบอก เช่น เราบอกว่าเราชื่ออะไร กัปตันก็อาจจะถามว่าชื่อคุณเนี่ยมันหมายความว่าอะไร เป็นต้น ผมแนะนาว่าอะไรที่เกี่ยวข้องกับตัวเรา เช่น เรื่องครอบครัว เราก็ควรที่เตรียมข้อมูลไว้เพื่อตอบคาถามด้วยนะครับ หลังจากแนะนาตัวเสร็จกัปตันท่านก็เริ่มต้นจากคาถามคลาสสิกที่ผมคิดว่าถึงแม้ว่าจะไม่ถูกถามพวกเราทุกคนก็ควร จะเตรียมคาตอบให้กับตัวเองไว้นะครับ คาถามก็คือว่า “ทาไมเราถึงอยากเป็นนักบิน ” นอกจากนี้ก็จะมีคาถามที่ ค่อนข้างตอบยากเช่น ข้อดีข้อเสียของตัวเราคืออะไร อะไรที่ทาให้เราคิดว่าเราจะเป็นนักบินที่ดีได้ และนักบินที่ดีควร จะมีลักษณะอย่างไร คาถามเหล่านี้ไม่เพียงแต่จะทาให้กัปตันเข้าใจเรามากขึ้น แต่ยังจะทาให้เรารู้ตัวเองมากขึ้นด้วย www.tutorferry.com 718 Line : @tutorferry
  • 36. หน้า ๒๘ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการ ต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๕๒๑ (๒) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๘ มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่อากาศยานที่ใช้ในบริการทางทหาร ตํารวจ หรือศุลกากรของรัฐต่างประเทศ มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้ “อากาศยาน” หมายความว่า อากาศยานตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ www.tutorferry.com 721 Line : @tutorferry
  • 37. หน้า ๑ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๙๕ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ พระราชกําหนด การบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกําหนดขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกําหนดนี้เรียกว่า “พระราชกําหนดการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชกําหนดนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชกําหนดนี้ “คณะกรรมการการบินพลเรือน” หมายความว่า คณะกรรมการการบินพลเรือนตามกฎหมาย ว่าด้วยการเดินอากาศ “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกํากับสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย “ผู้อํานวยการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย “มาตรฐานสากล” หมายความว่า มาตรฐานที่กําหนดตามอนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ระหว่างประเทศซึ่งทําขึ้นที่เมืองชิคาโกเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกําหนดนี้ www.tutorferry.com 733 Line : @tutorferry