SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ไฟฟากระแส 1
สรุปไฟฟากระแส
1. Q
I
t
= มีหนวยเปน C/s = A (แอมแปร)
2. I nevA= n = จํานวน e ใน 1 หนวยปริมาตร
e = ประจุของ e = 1.6 x 10-19
C
A = พื้นที่หนาตัดของตัวนํา
v = ความเร็วลอยเลือน
3. l
R
A
ρ= R = ความตานทาน ( Ω )
ρ = สภาพตานทาน (Ω - m)
= ความยาวของลวด (m)l
A = พื้นที่หนาตัด (m2
)
ในกรณีเปรียบเทียบกัน
3.1 1 1 1
2 2 2
2
1
R l A
R l A
ρ
ρ
=
3.2 1 1
2 2
2
1
R l A
R l A
= (ลวดชนิดเดียวกัน)
3.3
2 2
1 1 2 2
2 2 1 1
4
R l A r
R l A r
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
= = =⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
(ลวดชนิดเดียวกันที่มีปริมาตรเทากัน)
( r = รัศมีของพื้นที่หนาตัด)
4. 1
S
ρ
= = สภาพนําไฟฟา (Ω - m)-1
= semen/m
5. (0 1t )R R tα= + α = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิ - ความตานทาน (0
C)-1
6. กฎของ Ohm V IR=
7. การตอความตานทาน มี 3 แบบ คือ
7.1 ตอแบบอนุกรม Rรวม t iR R= = ∑
7.2 ตอแบบขนาน Rรวม 1
1t
i
R
R
= =
∑
ในกรณีที่ตอขนาน 2 ตัว Rรวม = 1 2
1 2
R R
R R+
7.3 ตอแบบผสม ไมมีสูตรคํานวณ ตองแยกพิจารณา
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 2
8. วงจร Wheatstone Bridge
วงจรนี้เมื่อจัดใหดีจะไมมีกระแสไฟฟา
ไหลผาน R5 (VC = VD)
1 3RR
5R
31
2 4
RR
R R
∴ =2R
4R
9. การเปลี่ยนวงจรจาก ∆ เปนรูป y
1 3
1 2
x
R R
R
3R R R
=
+ +
1 2
1 2 3
y
R R
R
R R R
=
+ +
2 3
1 2
z
R R
R
3R R R
=
+ +
10. การเปลี่ยนวงจรจาก Y เปน ∆
1
yR
1
x Y y z z x
z
R R R R R R
R
R
+ +
=
2
x Y y z z x
x
R R R R R R
R
R
+ +
=
3
x Y y z z x
y
R R R R R R
R
R
+ +
=
11. การตอวงจรไฟฟา
E
I
R r
=
+
12. ความตางศักยระหวางขั้ว Cell คือ จํานวนพลังงานเปนจูล ที่สิ้นไปในการเคลื่อนประจุ 1 C จาก
ขั้วบวกผานลวดความตานทานไปยังขั้วลบของ cell มีคาเทากับความตางศักยระหวางขั้วเซล
(มีหนวยเปน Volt)
13. ความตางศักยภายใน cell คือคาแรงเคลื่อนไฟฟาของ cell นั้น
14. ความตางศักยที่ขั้ว cell เมื่อวงจร "เปด" หมายถึงแรงเคลื่อนไฟฟา E
15. การตอ cell ไฟฟา
R 2R
xR
zR
3R
1
yR
R 2R
xR
zR
3R
r
R
E
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 3
15.1 ตอแบบอนุกรม
nE
I
R nr
=
+
หรือ E
I
R
r
n
=
+
r
E
R
n = จํานวน cell ไฟฟาใน 1 แถว
ในกรณีที่มีการตอวงจรผิด a cell
( )2n a E
I
R nr
−
∴ =
+
15.2 ตอแบบขนาน
E
I
r
R
m
=
+
m = จํานวนแถวที่มี cell ไฟฟาตอขนานกัน
15.3 การตอแบบผสม
E
I
R r
x y
=
+
, x = n, y = m
* ในกรณีที่ตองการใหไดกระแสมากที่สุด max ,
2 2
E E
I
R r
x y
= = เมื่อ R r
x y
=
16. กําลังไฟฟา หมายถึง "พลังงานไฟฟาที่ใชในเวลา 1 หนวยเวลา"
W
P
t
= --------- 16.1
Work = QV --------- 16.2
หรือQ I= t
Q
I
t
= ---------- 16.3
2
2 V
P IV I R
R
∴ = = =
QV I Rt= =
------------- 16.4
17. การคิดคากระแสไฟฟาคิดเปนยูนิต โดยที่
จํานวนยูนิต = จํานวนวัตต x เวลา(ชั่วโมง)/ 103
18. ในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานความรอน
1 cal = 4.185 จูล ( 4.2 จูล)
Work 2
( )
2
4.2 4.2
I Rt Pt
Heat Work cal= = =
การสงกําลังไฟฟาโดยสายสงเดียวกันและสงดวยความตางศักย V และV อัตราสวนของพลัง1 2
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 4
งานที่สูญเสียไปในสายสง = 1 1
2 2
Pt P
Pt P
=
= P( เสีย 1 ) =1P
2
0
1
P
R
V
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมื่อ คือกําลังของเครื่องสง0P
= P( เสีย 2 ) =2P
2
0
2
P
R
V
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมื่อ คือกําลังของเครื่องสง0P
2
1 2
2 1
P V
P V
⎛ ⎞
= ⎜ ⎟
⎝ ⎠
19. การตอเครื่องใชไฟฟาในบาน
19.1 ตอแบบอนุกรม Pรวม =
1 2 3
1
1 1 1
....
tP
P P P
=
+ + +
Pรวม = 1
1
iP
∑
19.2 ตอแบบขนาน Pรวม = 1 2 3 ....tP P P P= + + +
Pรวม = iP∑
20. Diode ผลึก หมายถึง สารประกอบที่ทําขึ้นเพื่อบังคับทิศทางของกระแสไฟฟา ซึ่งประกอบดวย
สารเยอรมาเนียมผสมกับธาตุโบรอน จัดเปนวัตถุกึ่งตัวนํา
P-type (ซึ่งอิเล็กตรอนขาดหายไป 1 ตัว) จึงมีประจุบวก
มากกวาประจุลบ
สวน N-type ประกอบดวยสารเยอรมาเนียมผสมกับสารหนู
ทําใหมีอิเล็กตรอนเกินมา ดังนั้นเมื่อประกอบ P และ N เขา
ดวยกัน จะทําใหกระแส I ไหลผาน P ไป N ได
I
P N
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 5
ไฟฟากระแส
1. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดผิด
1. เมื่อนําแทงโลหะตอเขากับความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาที่ไหลผานแทงโลหะเกิดจากการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ
2. กระแสไฟฟาในสารอิเล็กโตรไลตเกิดจากการเคลื่อนที่ของทั้งประจุบวกและประจุลบ
3. กระแสไฟฟาในหลอดนีออนหรือหลอดไฟโฆษณาสีตาง ๆ เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
อิสระเทานั้น
4. ในการใชงานของหลอดไดโอด ถาตอขั้วแอโนดกับขั้วลบ และแคโทดกับขั้วบวกของแบตเตอรี่
จะไมมีกระแสไฟฟาไหลผานหลอดไดโอด
2. เมื่อทําใหปลายทั้งสองของแทงโลหะมีความตางศักยไฟฟา จะมี
1. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระในแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มีศักย
ไฟฟา ต่ํา
2. การถายเทประจุไฟฟาผานพื้นที่หนาตัดของแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มี
ศักยไฟฟาต่ํา
3. กระแสไฟฟาไหลผานแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มีศักยไฟฟาต่ํา
4. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาบวกไปยังขั้วลบและประจุไฟฟาลบไปยังขั้วบวก
3. ตัวนํามีพื้นที่ภาคตัดขวางเทากับ 3 ตารางเมตร ถามีประจุไฟฟา +600 และ -200 คูลอมบ เคลื่อนที่
ผานพื้นที่นี้ในลักษณะสวนทางกันโดยใชเวลา 4 วินาที แสดงวามีกระแสไฟฟาผานตัวนําเทากับ
1. 50 A 2. 100 A 3. 150 A 4. 200 A
4. ลวดเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีอิเล็กตรอนอิสระ 2 x 1022
ตัว ถามีกระแสไฟฟาไหลผานลวดเสนนี้
1.6 แอมแปร ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนในเสนลวดนี้จะเปนเทาไร ถาประจุของอิเล็กตรอน
1 ตัวเทากับ 1.6 x 10-19
คูลอมบ
1. 250 เมตร/วินาที 2. 4 x 10-3
เมตร/วินาที
3. 2.5 เมตร/วินาที 4. 2 x 10-3
เมตร/วินาที
5. กระแสไฟฟาไหลผานตัวนําตัวหนึ่งไปมีคาเปลี่ยนแปลงกับเวลาดังกราฟที่กําหนดให อยากทราบวา
เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ประจุไฟฟาจะไหลผานตัวนําไปเทาไร
( )I A
15
20
25
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 6
1. 80 คูลอมบ
2. 60 คูลอมบ
3. 40 คูลอมบ
4. 5 คูลอมบ
6. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 3 เทาของเสนที่สอง ถา
ความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพื้นที่หนาตัดของเสนที่หนึ่งตอเสนที่สองคือ
1. 1 : 3 2. 2 : 1 3. 3 : 1 4. 3 : 2
7. ลวดตัวนําเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด A ยาว l ถานํามารีดใหมีขนาดพื้นที่หนาตัด
2
A
คาความตานทาน
ของลวดเสนใหม เมื่อเทียบกับเสนเดิม
1. ความตานทานเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา 2. ความตานทานลดลงเปน 4 เทา
3. ความตานทานเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 4. ความตานทานลดลงเปน 2 เทา
8. ลวดทองแดงเสนหนึ่งยาว l มีเสนผานศูนยกลาง d และความตานทาน R ถานําลวดทองแดงอีก
เสนหนึ่งยาว ตองการใหมีความตานทาน R จะตองมีพื้นที่หนาตัดเทาใด2l
1. 2d 2.
2
dπ
d 3.
2
2
dπ
4. 2d
9. เสนลวดที่มีพื้นที่หนาตัดเปนวงกลม ถาความยาวและขนาดเสนผานศูนยกลางของเสนลวดเพิ่มขึ้นเปน
2 เทา ทั้งสองคาแลว ความตานทานของเสนลวดจะ
1. ลดลงเหลือ 1
4
2. ลดลงครึ่งหนึ่ง 3. เพิ่มขึ้น
เปน 2 เทา 4. เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา
10. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัดเทากันตลอดเสน เมื่อทําลวดเสนนี้ใหเล็กลงโดยมิไดตัดเนื้อโลหะออกเลย
ปรากฏวาลวดเสนเล็กที่ไดมีความตานทานเพิ่ม 4 เทาจากเดิม และมีพื้นที่หนาตัดสม่ําเสมอตลอดเสน
พื้นที่หนาตัดนี้จะลดลงจากเดิมกี่เทา
1. 4 2. 2 3. 1
2
4. 1
4
11. ลวดทองแดงเสนหนึ่งในวงจรไฟฟามีพื้นที่หนาตัด A ยาว L ถาตองการใหความตานทานของวงจร
เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา โดยการเปลี่ยนลวดอะลูมิเนียมแทนลวดทองแดง ลวดอะลูมิเนียมควรมีพื้นที่หนาตัด
และยาวเปนเทาใด กําหนดใหสภาพความตานทานของอะลูมิเนียมเปน 1.5 เทาของสภาพความ
ตานทานของทองแดง
1. A, 6L 2. 2A, 3L 3. 3A, 8L 4. 4A, 6L
3Ω
3Ω
1Ω
2Ω
1Ω
1Ω
B
V
A12. จากรูปความตานทานรวมระหวางจุด A และ B มีคาเทาใด
1. 4 2. 6
3Ω
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 7
3. 3 4. 12
13. จากรูป ความตานทานระหวางจุด A และ B จะมีคากี่โอหม
2Ω 4Ω
2 Ω 4Ω
1. 15 2. 9
3. 6 4. 4.5 A B
14. ความตานทาน R1 และ R2 โอหม R1 นอยกวา R2 เมื่อตอขนานความตานทานรวมมีคาเปน 2
3
โอหม
เมื่อตออนุกรม ความตานทานรวมมีคาเปน 3 โอหม R1 และ R2 คือ
1. 1 กับ 2 โอหม 2. 2 กับ 1 โอหม
3. 1 กับ 3 โอหม 4. ไมมีคําตอบที่ถูกตอง
15. มีความตานทานชุดหนึ่งตอกันดังรูป ความตานทานรวม ณ จุด ข ค คือ
1. 2
3
โอหม
2Ω
1Ω
1Ω
1Ω
2. 1 โอหม
3. 3
2
โอหม
1Ω
4. 2 โอหม
16. จากรูป จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานความตานทาน R เมื่อ R = 100 โอหม
1. 1
50
แอมแปร จาก B ไป A
500Ω
500Ω
50Ω
500Ω
R
200Ω
200Ω
E=10V
2. 1
50
แอมแปร จาก A ไป B
3. 1
50
แอมแปร จาก B ไป A
4. ไมมีกระแสไหลผาน R
17. สําหรับวงจรโครงขายรางแหซึ่งแผกวางไปทุกทิศทุกทางไมมีที่สิ้นสุดในรูปตอไปนี้ ตัวตานทานทุกตัว
มี คาเทากับ R และวัดความตานทานรวมระหวางจุด A และจุด B ไดมีคาเทากับ 2
3
R
อยากทราบวาถาดึง
ตัวตานทานตัวที่เชื่อมตอระหวางจุด A และจุด B ออกทิ้งไป คาความตานทานรวมใหมระหวาง
จุด A และ B จะเปนเทาใด
1. 2R 2. R
3.
3
R
4.
6
R
18. ขอความตอไปนี้ขอใดที่ไมถูกตอง
ก. โลหะบริสุทธิ์มีสภาพตานทานต่ํากวาโลหะผสม
สรุปไฟฟากระแส
ไฟฟากระแส 8
ข. ไดโอดที่สรางจากสารกึ่งตัวนําและหลอดสูญญากาศสามารถใชเปลี่ยนไฟฟากระแสสลับเปน
กระแสตรงได
ค. คูควบความรอนหรือแผนโลหะคู จะเกิดการงอโคงไดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก
สัมประสิทธิ์การขยายตัวของโลหะ 2 ชนิดตางกัน
ง. โลหะบริสุทธิ์จะมีเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงสภาพตานทานต่ํากวาโลหะผสม
1. ขอ ก และ ค 2. ขอ ข และ ค 3. ขอ ข และ ง 4. ขอ ค และ ง
19. ตามรูปเปนกราฟระหวางกระแสและความตางศักยของอุปกรณไฟฟาสองชนิดคือ A และ B ถาตอ A
และ B แบบอนุกรมปรากฏวาความตางศักยที่ตกครอม A มีคาเทากับ 10 โวลต ความตางศักยที่
ตกครอม B คือ
1. 5 V
2. 10 V
3. 15 V
4. 20 V
20. ลวดโลหะเสนหนึ่งมีสภาพตานทาน 2.0 x 10-8
โอหม-เมตร มีพื้นที่ภาคตัดขวาง 2.0 ตาราง
2015105
A
B4
I(A)
3
2
1
V(volt)
มิลลิเมตร และยาว 50 เมตร ถูกนําไปตอกับเซล แรงเคลื่อนไฟฟา 1.6 โวลต ความตานทานภายใน
0.5 โอหม ถาอิเล็กตรอนอิสระในโลหะนี้เคลื่อนที่ดวยขนาดความเร็วลอยเลื่อน 0.50 mm./s จํานวน
อิเล็กตรอนอิสระ/ลูกบาศกเมตร คือ
1. 1 x 1028
2. 2 x 1028
3. 5 x 1028
4. 10 x 1028
สรุปไฟฟากระแส

More Related Content

What's hot

เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
Apinya Phuadsing
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
Pornsak Tongma
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
Theerawat Duangsin
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
krukrajeab
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
suffaval
 

What's hot (20)

เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
เทวินิน
เทวินินเทวินิน
เทวินิน
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

Viewers also liked

41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
Tutor Ferry
 

Viewers also liked (20)

สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์ สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Ged reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_sectionGed reasoning through_language_arts_language_section
Ged reasoning through_language_arts_language_section
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
Deep Dive Modern Apps Lifecycle with Visual Studio 2012: Software Testing wit...
Deep Dive Modern Apps Lifecycle with Visual Studio 2012: Software Testing wit...Deep Dive Modern Apps Lifecycle with Visual Studio 2012: Software Testing wit...
Deep Dive Modern Apps Lifecycle with Visual Studio 2012: Software Testing wit...
 
Joomla! 1.5 Para Principiantes
Joomla! 1.5 Para PrincipiantesJoomla! 1.5 Para Principiantes
Joomla! 1.5 Para Principiantes
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอมวิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
วิชาเคมี เรื่องโครงสร้างอะตอม
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานวิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงาน
 
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
วิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย เรื่องการเคลื่อนที่
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
การใช้ Verb to be
การใช้ Verb to beการใช้ Verb to be
การใช้ Verb to be
 
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
41 แบบทดสอบความพร้อม และความรู้ทั่วไป อ.รสสุคนธ์
 
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 341 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
41 แนวข้อสอบ อ.3 อ.รสสุคนธ์ เล่ม 3
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบสวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยากรดเบส
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 

Similar to สรุปวิชาฟิสิกส์

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
wongteamjan
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
numpueng
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
rattanapon
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
kruannchem
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
3cha_sp
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
ZHEZA
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
krupatcharee
 

Similar to สรุปวิชาฟิสิกส์ (20)

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
Physic 2-boonya
Physic 2-boonyaPhysic 2-boonya
Physic 2-boonya
 
ใบความรู้.07
ใบความรู้.07ใบความรู้.07
ใบความรู้.07
 
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 201. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 

More from Tutor Ferry

More from Tutor Ferry (14)

Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-workbook-by-tutor ferry (Ex)
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
 
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_sectionGed reasoning through_language_arts_reading_section
Ged reasoning through_language_arts_reading_section
 
Ged social studies Test
Ged social studies TestGed social studies Test
Ged social studies Test
 
Ged Science Test
Ged Science TestGed Science Test
Ged Science Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test Ged Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
Ged Mathematical Test
Ged Mathematical TestGed Mathematical Test
Ged Mathematical Test
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTSศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney - UTS
 
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFEศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
ศึกษาต่ออสเตรเลีย ที่ The Gordon Institute of TAFE
 
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT Universityศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
ศึกษาต่อออสเตรเลีย ที่ RMIT University
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 241 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
41 แนวข้อสอบเก่าสาธิต อ.รสสุคนธ์ เล่ม 2
 

สรุปวิชาฟิสิกส์

  • 1. ไฟฟากระแส 1 สรุปไฟฟากระแส 1. Q I t = มีหนวยเปน C/s = A (แอมแปร) 2. I nevA= n = จํานวน e ใน 1 หนวยปริมาตร e = ประจุของ e = 1.6 x 10-19 C A = พื้นที่หนาตัดของตัวนํา v = ความเร็วลอยเลือน 3. l R A ρ= R = ความตานทาน ( Ω ) ρ = สภาพตานทาน (Ω - m) = ความยาวของลวด (m)l A = พื้นที่หนาตัด (m2 ) ในกรณีเปรียบเทียบกัน 3.1 1 1 1 2 2 2 2 1 R l A R l A ρ ρ = 3.2 1 1 2 2 2 1 R l A R l A = (ลวดชนิดเดียวกัน) 3.3 2 2 1 1 2 2 2 2 1 1 4 R l A r R l A r ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ = = =⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ (ลวดชนิดเดียวกันที่มีปริมาตรเทากัน) ( r = รัศมีของพื้นที่หนาตัด) 4. 1 S ρ = = สภาพนําไฟฟา (Ω - m)-1 = semen/m 5. (0 1t )R R tα= + α = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิ - ความตานทาน (0 C)-1 6. กฎของ Ohm V IR= 7. การตอความตานทาน มี 3 แบบ คือ 7.1 ตอแบบอนุกรม Rรวม t iR R= = ∑ 7.2 ตอแบบขนาน Rรวม 1 1t i R R = = ∑ ในกรณีที่ตอขนาน 2 ตัว Rรวม = 1 2 1 2 R R R R+ 7.3 ตอแบบผสม ไมมีสูตรคํานวณ ตองแยกพิจารณา สรุปไฟฟากระแส
  • 2. ไฟฟากระแส 2 8. วงจร Wheatstone Bridge วงจรนี้เมื่อจัดใหดีจะไมมีกระแสไฟฟา ไหลผาน R5 (VC = VD) 1 3RR 5R 31 2 4 RR R R ∴ =2R 4R 9. การเปลี่ยนวงจรจาก ∆ เปนรูป y 1 3 1 2 x R R R 3R R R = + + 1 2 1 2 3 y R R R R R R = + + 2 3 1 2 z R R R 3R R R = + + 10. การเปลี่ยนวงจรจาก Y เปน ∆ 1 yR 1 x Y y z z x z R R R R R R R R + + = 2 x Y y z z x x R R R R R R R R + + = 3 x Y y z z x y R R R R R R R R + + = 11. การตอวงจรไฟฟา E I R r = + 12. ความตางศักยระหวางขั้ว Cell คือ จํานวนพลังงานเปนจูล ที่สิ้นไปในการเคลื่อนประจุ 1 C จาก ขั้วบวกผานลวดความตานทานไปยังขั้วลบของ cell มีคาเทากับความตางศักยระหวางขั้วเซล (มีหนวยเปน Volt) 13. ความตางศักยภายใน cell คือคาแรงเคลื่อนไฟฟาของ cell นั้น 14. ความตางศักยที่ขั้ว cell เมื่อวงจร "เปด" หมายถึงแรงเคลื่อนไฟฟา E 15. การตอ cell ไฟฟา R 2R xR zR 3R 1 yR R 2R xR zR 3R r R E สรุปไฟฟากระแส
  • 3. ไฟฟากระแส 3 15.1 ตอแบบอนุกรม nE I R nr = + หรือ E I R r n = + r E R n = จํานวน cell ไฟฟาใน 1 แถว ในกรณีที่มีการตอวงจรผิด a cell ( )2n a E I R nr − ∴ = + 15.2 ตอแบบขนาน E I r R m = + m = จํานวนแถวที่มี cell ไฟฟาตอขนานกัน 15.3 การตอแบบผสม E I R r x y = + , x = n, y = m * ในกรณีที่ตองการใหไดกระแสมากที่สุด max , 2 2 E E I R r x y = = เมื่อ R r x y = 16. กําลังไฟฟา หมายถึง "พลังงานไฟฟาที่ใชในเวลา 1 หนวยเวลา" W P t = --------- 16.1 Work = QV --------- 16.2 หรือQ I= t Q I t = ---------- 16.3 2 2 V P IV I R R ∴ = = = QV I Rt= = ------------- 16.4 17. การคิดคากระแสไฟฟาคิดเปนยูนิต โดยที่ จํานวนยูนิต = จํานวนวัตต x เวลา(ชั่วโมง)/ 103 18. ในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานความรอน 1 cal = 4.185 จูล ( 4.2 จูล) Work 2 ( ) 2 4.2 4.2 I Rt Pt Heat Work cal= = = การสงกําลังไฟฟาโดยสายสงเดียวกันและสงดวยความตางศักย V และV อัตราสวนของพลัง1 2 สรุปไฟฟากระแส
  • 4. ไฟฟากระแส 4 งานที่สูญเสียไปในสายสง = 1 1 2 2 Pt P Pt P = = P( เสีย 1 ) =1P 2 0 1 P R V ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เมื่อ คือกําลังของเครื่องสง0P = P( เสีย 2 ) =2P 2 0 2 P R V ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เมื่อ คือกําลังของเครื่องสง0P 2 1 2 2 1 P V P V ⎛ ⎞ = ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 19. การตอเครื่องใชไฟฟาในบาน 19.1 ตอแบบอนุกรม Pรวม = 1 2 3 1 1 1 1 .... tP P P P = + + + Pรวม = 1 1 iP ∑ 19.2 ตอแบบขนาน Pรวม = 1 2 3 ....tP P P P= + + + Pรวม = iP∑ 20. Diode ผลึก หมายถึง สารประกอบที่ทําขึ้นเพื่อบังคับทิศทางของกระแสไฟฟา ซึ่งประกอบดวย สารเยอรมาเนียมผสมกับธาตุโบรอน จัดเปนวัตถุกึ่งตัวนํา P-type (ซึ่งอิเล็กตรอนขาดหายไป 1 ตัว) จึงมีประจุบวก มากกวาประจุลบ สวน N-type ประกอบดวยสารเยอรมาเนียมผสมกับสารหนู ทําใหมีอิเล็กตรอนเกินมา ดังนั้นเมื่อประกอบ P และ N เขา ดวยกัน จะทําใหกระแส I ไหลผาน P ไป N ได I P N สรุปไฟฟากระแส
  • 5. ไฟฟากระแส 5 ไฟฟากระแส 1. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดผิด 1. เมื่อนําแทงโลหะตอเขากับความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาที่ไหลผานแทงโลหะเกิดจากการ เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ 2. กระแสไฟฟาในสารอิเล็กโตรไลตเกิดจากการเคลื่อนที่ของทั้งประจุบวกและประจุลบ 3. กระแสไฟฟาในหลอดนีออนหรือหลอดไฟโฆษณาสีตาง ๆ เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน อิสระเทานั้น 4. ในการใชงานของหลอดไดโอด ถาตอขั้วแอโนดกับขั้วลบ และแคโทดกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ จะไมมีกระแสไฟฟาไหลผานหลอดไดโอด 2. เมื่อทําใหปลายทั้งสองของแทงโลหะมีความตางศักยไฟฟา จะมี 1. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระในแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มีศักย ไฟฟา ต่ํา 2. การถายเทประจุไฟฟาผานพื้นที่หนาตัดของแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มี ศักยไฟฟาต่ํา 3. กระแสไฟฟาไหลผานแทงโลหะจากปลายที่มีศักยไฟฟาสูงไปยังปลายที่มีศักยไฟฟาต่ํา 4. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาบวกไปยังขั้วลบและประจุไฟฟาลบไปยังขั้วบวก 3. ตัวนํามีพื้นที่ภาคตัดขวางเทากับ 3 ตารางเมตร ถามีประจุไฟฟา +600 และ -200 คูลอมบ เคลื่อนที่ ผานพื้นที่นี้ในลักษณะสวนทางกันโดยใชเวลา 4 วินาที แสดงวามีกระแสไฟฟาผานตัวนําเทากับ 1. 50 A 2. 100 A 3. 150 A 4. 200 A 4. ลวดเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีอิเล็กตรอนอิสระ 2 x 1022 ตัว ถามีกระแสไฟฟาไหลผานลวดเสนนี้ 1.6 แอมแปร ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนในเสนลวดนี้จะเปนเทาไร ถาประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัวเทากับ 1.6 x 10-19 คูลอมบ 1. 250 เมตร/วินาที 2. 4 x 10-3 เมตร/วินาที 3. 2.5 เมตร/วินาที 4. 2 x 10-3 เมตร/วินาที 5. กระแสไฟฟาไหลผานตัวนําตัวหนึ่งไปมีคาเปลี่ยนแปลงกับเวลาดังกราฟที่กําหนดให อยากทราบวา เมื่อสิ้นวินาทีที่ 4 ประจุไฟฟาจะไหลผานตัวนําไปเทาไร ( )I A 15 20 25 สรุปไฟฟากระแส
  • 6. ไฟฟากระแส 6 1. 80 คูลอมบ 2. 60 คูลอมบ 3. 40 คูลอมบ 4. 5 คูลอมบ 6. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 3 เทาของเสนที่สอง ถา ความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพื้นที่หนาตัดของเสนที่หนึ่งตอเสนที่สองคือ 1. 1 : 3 2. 2 : 1 3. 3 : 1 4. 3 : 2 7. ลวดตัวนําเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด A ยาว l ถานํามารีดใหมีขนาดพื้นที่หนาตัด 2 A คาความตานทาน ของลวดเสนใหม เมื่อเทียบกับเสนเดิม 1. ความตานทานเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา 2. ความตานทานลดลงเปน 4 เทา 3. ความตานทานเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา 4. ความตานทานลดลงเปน 2 เทา 8. ลวดทองแดงเสนหนึ่งยาว l มีเสนผานศูนยกลาง d และความตานทาน R ถานําลวดทองแดงอีก เสนหนึ่งยาว ตองการใหมีความตานทาน R จะตองมีพื้นที่หนาตัดเทาใด2l 1. 2d 2. 2 dπ d 3. 2 2 dπ 4. 2d 9. เสนลวดที่มีพื้นที่หนาตัดเปนวงกลม ถาความยาวและขนาดเสนผานศูนยกลางของเสนลวดเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา ทั้งสองคาแลว ความตานทานของเสนลวดจะ 1. ลดลงเหลือ 1 4 2. ลดลงครึ่งหนึ่ง 3. เพิ่มขึ้น เปน 2 เทา 4. เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา 10. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัดเทากันตลอดเสน เมื่อทําลวดเสนนี้ใหเล็กลงโดยมิไดตัดเนื้อโลหะออกเลย ปรากฏวาลวดเสนเล็กที่ไดมีความตานทานเพิ่ม 4 เทาจากเดิม และมีพื้นที่หนาตัดสม่ําเสมอตลอดเสน พื้นที่หนาตัดนี้จะลดลงจากเดิมกี่เทา 1. 4 2. 2 3. 1 2 4. 1 4 11. ลวดทองแดงเสนหนึ่งในวงจรไฟฟามีพื้นที่หนาตัด A ยาว L ถาตองการใหความตานทานของวงจร เพิ่มขึ้นเปน 4 เทา โดยการเปลี่ยนลวดอะลูมิเนียมแทนลวดทองแดง ลวดอะลูมิเนียมควรมีพื้นที่หนาตัด และยาวเปนเทาใด กําหนดใหสภาพความตานทานของอะลูมิเนียมเปน 1.5 เทาของสภาพความ ตานทานของทองแดง 1. A, 6L 2. 2A, 3L 3. 3A, 8L 4. 4A, 6L 3Ω 3Ω 1Ω 2Ω 1Ω 1Ω B V A12. จากรูปความตานทานรวมระหวางจุด A และ B มีคาเทาใด 1. 4 2. 6 3Ω สรุปไฟฟากระแส
  • 7. ไฟฟากระแส 7 3. 3 4. 12 13. จากรูป ความตานทานระหวางจุด A และ B จะมีคากี่โอหม 2Ω 4Ω 2 Ω 4Ω 1. 15 2. 9 3. 6 4. 4.5 A B 14. ความตานทาน R1 และ R2 โอหม R1 นอยกวา R2 เมื่อตอขนานความตานทานรวมมีคาเปน 2 3 โอหม เมื่อตออนุกรม ความตานทานรวมมีคาเปน 3 โอหม R1 และ R2 คือ 1. 1 กับ 2 โอหม 2. 2 กับ 1 โอหม 3. 1 กับ 3 โอหม 4. ไมมีคําตอบที่ถูกตอง 15. มีความตานทานชุดหนึ่งตอกันดังรูป ความตานทานรวม ณ จุด ข ค คือ 1. 2 3 โอหม 2Ω 1Ω 1Ω 1Ω 2. 1 โอหม 3. 3 2 โอหม 1Ω 4. 2 โอหม 16. จากรูป จงหากระแสไฟฟาที่ไหลผานความตานทาน R เมื่อ R = 100 โอหม 1. 1 50 แอมแปร จาก B ไป A 500Ω 500Ω 50Ω 500Ω R 200Ω 200Ω E=10V 2. 1 50 แอมแปร จาก A ไป B 3. 1 50 แอมแปร จาก B ไป A 4. ไมมีกระแสไหลผาน R 17. สําหรับวงจรโครงขายรางแหซึ่งแผกวางไปทุกทิศทุกทางไมมีที่สิ้นสุดในรูปตอไปนี้ ตัวตานทานทุกตัว มี คาเทากับ R และวัดความตานทานรวมระหวางจุด A และจุด B ไดมีคาเทากับ 2 3 R อยากทราบวาถาดึง ตัวตานทานตัวที่เชื่อมตอระหวางจุด A และจุด B ออกทิ้งไป คาความตานทานรวมใหมระหวาง จุด A และ B จะเปนเทาใด 1. 2R 2. R 3. 3 R 4. 6 R 18. ขอความตอไปนี้ขอใดที่ไมถูกตอง ก. โลหะบริสุทธิ์มีสภาพตานทานต่ํากวาโลหะผสม สรุปไฟฟากระแส
  • 8. ไฟฟากระแส 8 ข. ไดโอดที่สรางจากสารกึ่งตัวนําและหลอดสูญญากาศสามารถใชเปลี่ยนไฟฟากระแสสลับเปน กระแสตรงได ค. คูควบความรอนหรือแผนโลหะคู จะเกิดการงอโคงไดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก สัมประสิทธิ์การขยายตัวของโลหะ 2 ชนิดตางกัน ง. โลหะบริสุทธิ์จะมีเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงสภาพตานทานต่ํากวาโลหะผสม 1. ขอ ก และ ค 2. ขอ ข และ ค 3. ขอ ข และ ง 4. ขอ ค และ ง 19. ตามรูปเปนกราฟระหวางกระแสและความตางศักยของอุปกรณไฟฟาสองชนิดคือ A และ B ถาตอ A และ B แบบอนุกรมปรากฏวาความตางศักยที่ตกครอม A มีคาเทากับ 10 โวลต ความตางศักยที่ ตกครอม B คือ 1. 5 V 2. 10 V 3. 15 V 4. 20 V 20. ลวดโลหะเสนหนึ่งมีสภาพตานทาน 2.0 x 10-8 โอหม-เมตร มีพื้นที่ภาคตัดขวาง 2.0 ตาราง 2015105 A B4 I(A) 3 2 1 V(volt) มิลลิเมตร และยาว 50 เมตร ถูกนําไปตอกับเซล แรงเคลื่อนไฟฟา 1.6 โวลต ความตานทานภายใน 0.5 โอหม ถาอิเล็กตรอนอิสระในโลหะนี้เคลื่อนที่ดวยขนาดความเร็วลอยเลื่อน 0.50 mm./s จํานวน อิเล็กตรอนอิสระ/ลูกบาศกเมตร คือ 1. 1 x 1028 2. 2 x 1028 3. 5 x 1028 4. 10 x 1028 สรุปไฟฟากระแส