SlideShare a Scribd company logo
LOGO
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ (ว 30286)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง การวัดทางวิทยาศาสตร์
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
www.themegallery.com
1. ควรใส่แว่นตานิรภัย (safety goggle) เมื่ออยู่ในห้องปฏิบัติการตลอดเวลา
2. ห้ามใส่รองเท้าแตะและควรสวมเสื้อคลุมเมื่ออยู่ให้องปฏิบัติการ
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากสารเคมี
3. ห้ามรับประทางอาหารและเครื่องดื่มขณะอยู่ในห้องปฏิบัติการ
4. ห้ามทิ้งสารเคมีทุกชนิดลงในอ่าง ให้เทสารเคมีที่ใช้แล้วรวมกันในภาชนะ
ที่เจ้าหน้าที่จัดไว้ให้
ข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
www.themegallery.com
5. ห้ามก้มมองที่ปากหลอดทดลองหรือปากขวดขณะสารกาลังทาปฏิกิริยา
กันอยู่
6. ทาความสะอาดเครื่องชั่งทุกครั้งหลังการใช้
7. ก่อนใช้เครื่องแก้วทุกครั้งจะต้องตรวจสอบว่ามีรอยร้าวหรือรอยบิ่น
หรือไม่
8. แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทุกครั้งที่มีอุปกรณ์การทดลองแตกหรือเสียหาย
และให้นาเศษแก้วมาเก็บไว้ที่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
www.themegallery.com
ข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
9. ถ้าสารเคมีสัมผัสผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยน้าหลายๆ ครั้ง หากยังเกิดความ
ระคายเคืองให้แจ้งอาจารย์ที่ดูแลทราบทันที
10. ถ้าสารเคมีกระเด็นเข้าตา ให้เปิดน้าแรงๆ ล้างตาหลายครั้งจนหมดความ
ระคายเคือง หากยังเกิดความระคายเคืองให้แจ้งอาจารย์ที่ดูแลทราบทันที
11. สังเกตตาแหน่งของถังดับเพลิงในห้องปฏิบัติการทุกครั้งที่ทาปฏิบัติการ
และควรศึกษาวิธีการใช้ถังดับเพลิงให้ถูกวิธีด้วย
www.themegallery.com
ข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
12. ห้ามจุดไฟเมื่อมีสารไวไฟอยู่ใกล้ (ส่วนมากตัวทาละลายอินทรีย์จะติดไฟง่าย)
หรือมีสมุดหรือกระดาษอยู่บริเวณใกล้เคียง เพราะจะทาให้เกิดการติดไฟและลุกไหม้
13. ผู้ที่มีผมยาวจะต้องรวบผมให้เรียบร้อยในขณะปฏิบัติการเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
14. ล้างมือทุกครั้งหลังจากใช้มือจับขวดสารเคมีหรือสัมผัสสารเคมี และควรล้างมือ
ให้สะอาดก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ
15. ศึกษาและทาความเข้าใจสัญลักษณ์ที่ติดอยู่ข้างขวดสารเคมีซึ่งแสดงถึงสิ่งที่ต้อง
ระวังสาหรับสารเคมีนั้นๆ
www.themegallery.com
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
เพื่อให้การทดลองในห้องปฏิบัติการเคมีดาเนินไปอย่างเรียบร้อย และ
เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่อยู่ในห้องปฏิบัติการทุกคน นักศึกษาพึงปฏิบัติตามกฎ
และระเบียบต่อไปนี้
ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
1.สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการและแว่นนิรภัยตลอดเวลาที่อยู่ในห้องปฏิบัติการเคมี ผู้ที่
สวมแว่นสายตาอยู่แล้วไม่จาเป็นต้องใช้แว่นนิรภัย
2.ห้ามเล่นและห้ามรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม หรือสูบบุหรี่ในห้องปฏิบัติการ
เคมี
3.ห้ามทาการทดลองใดๆ นอกเหนือจากที่ได้มอบหมาย
4.ห้ามทาการทดลองโดยไม่มีอาจารย์ควบคุม
www.themegallery.com
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
5.เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด ให้รายงานอาจารย์ผู้ควบคุม
ทราบทันที
6.ห้ามชิมสารเคมีใดๆ ทั้งสิ้น
7.เมื่อใช้ปิเปตดูดสารละลาย ห้ามใช้ปากดูด
8.ใช้เครื่องแก้วด้วยความระมัดระวัง เมื่อทาเครื่องแก้วแตกต้องเก็บกวาด
ให้เรียบร้อย
www.themegallery.com
9.สาหรับปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สพิษ กรดเข้มข้น หรือ
แอมโมเนียให้ทาการทดลองในตู้ดูดควันเสมอ
10.ห้ามทิ้งสารเคมีใดๆ ลงในถังขยะ สารเคมีที่ละลายในน้าได้ให้ละลายในน้า
แล้วเทลงอ่างน้าทิ้ง สารที่ไม่ละลายในน้า ให้เทรวมกันในภาชนะที่เตรียมไว้ให้
ที่เคาเตอร์ ถ้าสงสัยให้ถามอาจารย์ผู้ควบคุม
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
เลขนัยสาคัญ (significant figures)
เลขนัยสาคัญ (significant figures)
กลุ่มของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของการวัดที่ตัวเลขแต่ละตัวมีอยู่
ประกอบด้วย - ตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (Certainty)
- ตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน
(Uncertainty)
ทราบกันว่าถ้าไม่มีการระบุความไม่แน่นอน เราถือว่าความไม่แน่นอนมีค่า  1
เช่น น้าตาลหนัก 30.78 g แสดงว่าเลขนัยส้าคัญตัวสุดท้าย (8)
มีความไม่แน่นอน
หมายความว่า น้าตาลมีน้าหนักอยู่ระหว่าง 30.77 และ 30.79
เลขนัยสาคัญ significant figures
หลักการพิจารณา เลขนัยส้าคัญ
 เลขที่ไม่ใช่ 0 ทั้งหมด เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น
123 (มี 3 ตัว), 3.5 (มี 2 ตัว)
 เลข 0 ระหว่างเลขอื่น เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น
1008 (มี 4 ตัว), 1.06 (มี 3 ตัว)
 เลข 0 ทางด้านซ้ายของเลขอื่นไม่เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 0.01 (มี 1 ตัว) ,
0.0054 (มี 2 ตัว)
www.themegallery.com
เลขนัยสาคัญ significant figures
หลักการพิจารณา เลขนัยส้าคัญ
 เลข 0 ทางด้านขวาของเลขอื่นและมีจุดทศนิยมเป็น
เลขนัยสาคัญ เช่น 0.200 (มี 3 ตัว), 30.0 (มี 3 ตัว)
 เลข 0 ทางขวามือของเลขอื่นที่ไม่มีจุดทศนิยมไม่จาเป็นต้องเป็นเลข
นัยสาคัญ เช่น 10300 (มี 3 หรือ 4 หรือ 5 ตัว) แต่ถ้าเขียนเป็น 1.03x104
(มี 3 ตัว), 1.030x104 (มี 4 ตัว), 1.0300x104 (มี 5 ตัว)
1. 4.006, 12.012, 10.070
2. 0.00002
3. 0.008 mm
4. 0.000262 mL
5. 50.8 mm, 2001 min, 0.00405 m
แบบฝึกหัด จงหาเลขนัยสาคัญของจานวนต่อไปนี้
แบบฝึกหัดทบทวน
A. ตัวเลขใดมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว?
1) 0.4760 2) 0.00476 3) 4760
B. ข้อใดที่ O เป็นเลขนัยสาคัญหมดทุกตัว
1) 0.00307 2) 25.300 3) 2.050 x 103
C. 534,675 ถูกเขียนให้มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว ได้ดังข้อ
1) 535 2) 535,000 3) 5.35 x 105
เลขนัยสาคัญ significant figures
1.1 การปัดตัวเลข (Rounding off)
มีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. ถ้าตัวเลขที่ตามหลังตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายมากกว่า 5 ให้
ตัดตัวเลขนั้นทิ้งแล้วเปลี่ยนตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายให้มีค่า
เพิ่มขึ้น 1 เช่น 8.57 เป็น 8.6
2. ถ้าตัวเลขที่ตามหลังตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายน้อยกว่า 5 ให้
ตัดตัวเลขนั้นทิ้ง โดยยังคงตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายไว้ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง เช่น 2.23 เป็น 2.2
3. ถ้าตัวเลขที่ตามหลังตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้าย เท่ากับ 5 และไม่
มีตัวเลขหรือมีเลข 0 ตามหลังเลข 5
- ถ้าตัวเลขนัยสาคัญ ตัวสุดท้ายเป็นเลขคู่ (หรือ 0) ให้ตัดเลข
5 ที่ตามมาทิ้ง โดยไม่ต้องเปลี่ยนตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้าย
เช่น 7.25 ปัดเป็น 7.2 และ 6.4050 ปัดเป็น 6.40
- ถ้าตัวเลขนัยสาคัญ ตัวสุดท้ายเป็นเลขคี่ ให้ตัดเลข 5 ที่ตามมา
ทิ้ง แล้ว เปลี่ยนตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายให้มีค่าเพิ่มขึ้น 1
เช่น 86.75 ปัดเป็น 86.8 และ 0.4350 ปัดเป็น 0.44
เลขนัยสาคัญ significant figures
เลขนัยสาคัญ significant figures
4.ถ้าตัวเลขที่ตามหลังตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายเท่ากับ 5 และมี
ตัวเลขตามหลังเลข 5 นี้ ไม่ว่าเป็นตัวเลขอะไรก็ตาม ให้ตัดตัวเลขทุก
ตัวรวมทั้งเลข 5 ทิ้งและเปลี่ยนตัวเลขนัยสาคัญตัวสุดท้ายให้มีค่า
เพิ่มขึ้น 1
เช่น 7.251 ปัดเป็น 7.3 และ
6.4057 ปัดเป็น 6.41
เลขนัยสาคัญ significant figures
1.2 การบวกและการลบ (Addition and Subtraction)
ให้คงเหลือจานวนเลขทศนิยมไว้ให้เท่ากับตัวเลขที่มีจ้านวน
ทศนิยมน้อยที่สุด
31.2 +
3.0 24 +
0.3 1
34.5 34 = 34.5
256.8, 40.7
แบบฝึกหัด
• 0.625 + 1.23 – 0.000850
• 2. 23505 + 19.6 +2.1
เลขนัยสาคัญ significant figures
1.3 การคูณและการหาร (Multiplication and Division)
จานวนตัวเลขนัยสาคัญของผลลัพธ์ จะมีค่าเท่ากับจานวนของ
ตัวเลขที่มีนัยส้าคัญน้อยที่สุด
21.1 x 0.029 x 83.2 = 50.91008 ปัดเป็น 51
291 x 272 = 920,372 ปัดเป็น 9.2 x 105
0.086 A. 4.311 ÷ 0.07 =
B. 2.54 X 0.0028 =
0.0105 X 0.060
C. (1.235 - 1.02) X 15.239 =
1.12
www.themegallery.com
1. 0.1 มีเลขนัยสาคัญ............................ตัว
2. 0.01 มีเลขนัยสาคัญ ............................ตัว
3. 0.0152 มีเลขนัยสาคัญ............................ตัว
4. 101 มีเลขนัยสาคัญ ............................ตัว
5. 1.002 มีเลขนัยสาคัญ............................ตัว
6. 1.20 มีเลขนัยสาคัญ ...........................ตัว
7. 2.400 มีเลขนัยสาคัญ ...........................ตัว
ให้นักเรียนจงตอบคาถามต่อไปนี้
www.themegallery.com
8. 1.30 x104 มีเลขนัยสาคัญ ...........................ตัว
9. 2.501 x106 มีเลขนัยสาคัญ ...........................ตัว
10. 2.12 + 3.895 + 5.4236 = .............................
11 15.7962 + 6.31 – 16.8 = ………………….
12. 432.10 x 5.5 = ..........................
13. 0.6214 x 4.25 = ..........................
ให้นักเรียนจงตอบคาถามต่อไปนี้
ความแม่น (Precision)
www.themegallery.com
ความแม่น (Precision)
ความใกล้เคียงของค่าที่ได้จากการวัดซ้า
หลายๆ ครั้งในของสิ่งเดียวกัน ด้วยวิธีเดียว
www.themegallery.com
ในการวัดปริมาณบางอย่าง เช่น ความยาว ปริมาตร หรือน้าหนักของ
วัตถุ ถึงแม้เครื่องมือจะเป็นอันเดียวกันก็ตาม ผลการวัดในแต่ละครั้งอาจได้
ออกมาไม่เท่ากัน ทั้งนี้เป็นเพราะความผิดพลาดของผู้วัดหรือเครื่องวัด เช่นทาการ
วัดความยาวของกล่องไม้เล็กๆ อันหนึ่ง
นาย ก. ทาการวัด 3 ครั้ง ได้ผลดังนี้ 4.23 4.22 และ 4.24 เซนติเมตร
นาย ข. ทาการวัด 3 ครั้ง ได้ผลดังนี้ 4.23 4.20 และ 4.25 เซนติเมตร
จากการเปรียบเทียบพบว่าผลการวัดของนาย ก. ทั้ง 3 ครั้ง มีค่าใกล้เคียงกัน แต่ผล
การวัดของนาย ข. ทั้ง 3 ครั้ง ต่างกันมากกว่าของนาย ก. เราอาจสรุปได้ว่าการวัด
ของนาย ก. มีความแม่นยามากกว่านาย ข.
ความแม่น (Precision)
www.themegallery.com
ค่าความแม่นยา มักแสดงในรูปของตัวเลข ซึ่งค่าตัวเลขที่จะมาแสดงค่าความ
แม่นยาก็คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ซึ่งหาได้จากผลการวัดที่ได้นั่นเอง
เช่น จากผลการวัดของนาย ก. เมื่อคานวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉลี่ยได้ดังตาราง 1
ความแม่น (Precision)
www.themegallery.com
ดังนั้นค่าที่ได้จากการทดลองของนาย ก. อาจจะเขียนได้เป็น 4.23 ± 0.01
เซนติเมตร ค่า ± 0.01 เซนติเมตร จะเป็นค่าแสดงความแม่นยาของการวัดทานองเดียวกันจาก
ผลการทดลองของนายข. ก็อาจเขียนได้เป็น 4.23 ± 0.02 เซนติเมตร จะเห็นได้ว่าถ้าค่าการ
เบี่ยงเบนเฉลี่ยน้อย ค่าความแม่นยาจะมาก
ความแม่น (Precision)
ความถูกต้อง (Accuracy)
www.themegallery.com
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความใกล้เคียงกับค่าที่วัดได้กับค่าจริง สาหรับค่าจริงจะได้
จากการวัดโดยวิธีมาตรฐาน และเป็นค่าที่รับรองทั่วไป
www.themegallery.com
ในการทดลองหรือการวัดปริมาณบางอย่าง ถ้าผลการทดลองการวัด
ได้ค่าใกล้เคียงกับค่าจริง (True value) มากๆ ความถูกต้องก็ย่อมมากด้วย แต่
เนื่องจากค่าจริงเราไม่สามารถรู้ได้แน่นอน เช่น การวัดความยาวของของบาง
สิ่ง ในการวัดแต่ละครั้งก็ต้องใช้เครื่องมือและเราไม่ทราบว่าเครื่องวัดอัน
ไหนถูกต้องมากที่สุด แต่เราพอที่จะหาความยาวที่ใกล้เคียงกับค่าจริงมาก
ที่สุด โดยทาการวัดหลายๆ ครั้ง ด้วยเครื่องมือที่ละเอียดมากๆ แล้วหา
ค่าเฉลี่ย หรืออาจจะได้จากผลการวัดที่ยอมรับกันในระหว่างผู้ที่เคยทาการวัด
หรือทดลองมาแล้ว ซึ่งค่านี้เราเรียกว่าค่าที่ยอมรับ (Accepted value) ซึ่ง
อาจจะมีค่าเท่ากับค่าจริง หรือใกล้เคียงกับค่าจริงมาก
ความถูกต้อง (Accuracy)
www.themegallery.com
ค่าความถูกต้องอาจแสดงได้โดยค่าความคลาดเคลื่อน (Error) ถ้า
ความคลาดเคลื่อนน้อยค่าความถูกต้องก็มาก เช่น สมมติว่าค่าที่ทดลองได้มี
ค่าเท่ากับ 38 และค่าที่ยอมรับหรือค่าจริงเท่ากับ 40
ค่าความคลาดเคลื่อน = 40 - 38 = 2
ถ้าคิดเป็นร้อยละโดยเทียบกับค่าที่ยอมรับหรือค่าจริง ก็จะได้เป็น
ค่าความคลาดเคลื่อนสัมพัทธ์ (Relative Error)
โดยค่าความคลาดเคลื่อนสัมพัทธ์ = (2 /40) x 100 = 5%
www.themegallery.com
ความแม่น ความเที่ยงและความคลาดเคลื่อน
www.themegallery.com
ข้อมูลที่ได้จากการทดลองจะมี ความแม่น
มากน้อยเพียงใด สามารถพิจารณาได้จาก
ความคลาดเคลื่อน (error)
สาเหตุการเกิดความคลาดเคลื่อน
www.themegallery.com
1. Systematic error
แบ่งได้ 3 ชนิด คือ
เกิดจากระบบของ การทดลอง
การใช้สารเคมีที่ไม่บริสุทธิ์, การใช้เครื่องมือที่ไม่มีประสิทธิภาพ,
การใช้สารละลายมาตรฐานที่มีความเข้มข้นคลาดเคลื่อน
สาเหตุการเกิดความคลาดเคลื่อน
www.themegallery.com
2. Random error มาจาก สภาพแวดล้อมของระบบ
ที่ทาการทดลอง
ความคลาดเคลื่อนนี้แก้ไขไม่ได้ และมีผลต่อความเที่ยงของการทดลอง
การคานวณปรับแก้โดยอาศัยหลักการทางสถิติและทฤษฎีความน่า
จะเป็น เช่น การหาค่าเฉลี่ย หรือส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สาเหตุการเกิดความคลาดเคลื่อน
www.themegallery.com
3. Personal error เกิดมาจาก ผู้ทดลองโดยตรง
เลือกใช้วิธีทดลองไม่เหมาะสม, ขาดความระมัดระวังในการ
ทดลอง มีผลต่อความแม่นและความเที่ยง
สรุป.......
www.themegallery.com
ผลจากการทดลองจะมี ถูกต้องมาก ถ้าผลการทดลองนั้น
ใกล้เคียงกับค่าจริง และผลการทดลองจะมีความแม่นสูง ถ้า
ผลที่ได้จากการทดลองที่ทาซ้าหลายๆ ครั้ง มีค่าใกล้เคียงกัน
ทุกค่า
LOGO
www.themegallery.com

More Related Content

What's hot

17ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 5517ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 55
Wichai Likitponrak
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdfเคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
lohkako kaka
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Ponpirun Homsuwan
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานคนสวย ฉัน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
พัน พัน
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ น้ำค้าง หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
 ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ  น้ำค้าง  หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s... ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ  น้ำค้าง  หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ น้ำค้าง หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docxแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
watchara boollong
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

What's hot (20)

17ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 5517ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 55
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdfเคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
Punmanee study 9
Punmanee study 9Punmanee study 9
Punmanee study 9
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ น้ำค้าง หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
 ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ  น้ำค้าง  หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s... ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ  น้ำค้าง  หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
ใบความรู้+การเกิดลูกเห็บ น้ำค้าง หิมะ ความดันอากาศ+ป.5+279+dltvscip5+55t2s...
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docxแผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 

Similar to การวัดทางวิทยาศาสตร์

ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
qcstandard
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
Kamolthip Boonpo
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
jirupi
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson plans
kruwaeo
 
เรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excelเรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excelteachcomkhun
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
warijung2012
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
jutathipbuathong
 

Similar to การวัดทางวิทยาศาสตร์ (10)

ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 การบวกทศนิยม
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
Lesson plans
Lesson plansLesson plans
Lesson plans
 
เรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excelเรียนรู้การใช้งาน Excel
เรียนรู้การใช้งาน Excel
 
เอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยมเอกสารประกอบ ทศนิยม
เอกสารประกอบ ทศนิยม
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การวัดทางวิทยาศาสตร์