SlideShare a Scribd company logo
เรี ย นรู ้ ก ารใช้ ง าน Excel
                                                                     สมเกียรติ ทองรักษ์
                                                                 นักวิชาการเกษตรชำานาญการ 8
                                                     ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
                                                    มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่


ตอนที ่ 10. ฟั ง ก์ ช ั น ที ่ ใ ช้ ใ นการกำ า หนดเกรดโดยวิ ธ ี
อิ ง เกณฑ์

10.1. กล่ า วนำ า
การวัดประเมินผลการเรียนการสอนของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา จะใช้ผลของการศึกษาใน
หลาย ๆ ด้าน ทั้งทางด้านการเขียน การพูด การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ รวมถึงการทดสอบความ
สามารถทางด้านวิชาการเป็นผลการศึกษาที่ออกมาในรูปของการให้คะแนน และนำามากำาหนด
เกรดจากคะแนนที่ได้

การกำาหนดเกรดโดยใช้ Excel มีหลายวิธี สำาหรับการเรียนรู้การใช้งาน Excel ในการบรรยาย
ครั้งนี้จะกล่าวถึงวิธีการนำาฟังก์ชัน IF และฟังก์ชัน VLOOKUP มาใช้ในการกำาหนดเกรด และ
จะสรุปผลจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้จากช่วงคะแนนตำ่าสุดและสูงสุดในแต่ละเกรดด้วย


10.2. แนวทางการกำ า หนดเกรด
การกำาหนดเกรดสามารถทำาได้ใน 2 วิธี คือกำาหนดเกรดโดยอิงกลุ่มและกำาหนดเกรดโดยอิง
เกณฑ์ สำาหรับการบรรยายในครั้งนี้จะกล่าวถึงการกำาหนดเกรดโดยอิงเกณฑ์จากคะแนนและ
เกรดที่กำาหนดไว้เป็นหลัก


10.3. คะแนนและเกรดที ่ ก ำ า หนดไว้

10.3.1 คะแนน เป็นเกณฑ์ช่วงคะแนนที่กำาหนดไว้มี 8 ช่วงคะแนน

10.3.2 เกรด เป็นช่วงเกรดที่กำาหนดไว้จากที่เทียบจากคะแนนมี 8 เกรด คือ
A,B+,B,C+,C,D+,D และ E

คะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้ที่จะนำามาใช้เป็นตัวอย่างในครั้งนี้ มีแสดงไว้ในรูปที่ 10-1


รูปที่ 10-1 คะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้


รูปที่ 10-2 คะแนนและเกรดที่ได้

10.4. ฟั ง ก์ ช ั น IF

เป็นฟังก์ชันที่สร้างเงื่อนไขของคะแนนขึ้นมาและให้แสดงผลเกรดออกมาตามเงื่อนไขที่กำาหนด
ช่วงคะแนนของเงื่อนไขที่สร้างขึ้นในเซลล์ที่กำาหนด สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการ
มีการกำาหนดเกรดให้
มีทั้งหมด 8 เกรด ดังนั้นจึงต้องสร้างเงื่อนไขทั้งหมด 8 เงื่อนไข

รูปแบบสูตร

=IF(เซลล์คะแนนที่ได้>=เซลล์คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่8,"A",IF(เซลล์คะแนนที่ได้>=เซลล์
คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่7,"B+",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้
ลำาดับที่6,"B",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่5,"C+",IF(เซลล์
ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่4,"C",IF(เซลล์ของคะแนนที่
ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่3,"D+",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของ
คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่2,"D",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้
ลำาดับที่1,"E"))))))))

วิธีการ

10.4.1 สร้างตารางและเกรดที่ได้ (รูปที่ 10-2)

10.4.2 ไปที่เซลล์ F18 สร้างฟังก์ชัน IF โดยการพิมพ์ลงในเซลล์ F18 ดังนี้

=IF(E18>=C12,"A",IF(E18>=C11,"B+",IF(E18>=C10,"B",IF(E18>=C9,"C+",IF(
E18>=C8,"C",IF(E18>=C7,"D+",IF(E18>=C6,"D",IF(E18>=C5,"E")))))))) กดปุ่ม
Enter

10.4.3 ตรึงเซลล์ที่อ้างถึงจากคะแนนที่กำาหนดไว้ การตรึงเซลล์ไว้จะทำาให้ผลการคัดลอกใน
เซลล์ที่ตรึงไว้จะไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากในทางปฏิบัติ การสร้างฟังก์ชัน IF ขึ้นมา จะสร้าง
เพียงเซลล์เดียว หลังจากนั้นจะใช้วิธีคัดลอกไปยังส่วนของเซลล์ที่เหลือ ถ้าไม่ได้ตรึงเซลล์นั้น ๆ
ไว้ ผลการคัดลอกจะไม่ถูกต้องโดยจะวนไปยังเซลล์ในส่วนอื่นที่ไม่เป็นคะแนนที่กำาหนดไว้ เซลล์
ที่ต้องตรึงไว้มีเซลล์ C12,C11,C10,C9,C8,C7,C6 และ C5 โดยไปที่สูตรที่เขียนไว้ในเซลล์
F18 กดปุ่มให้แถบ cursor ไปกระพริบอยู่หน้าทุกตัวอักษร C ดังกล่าว กดปุ่ม F4 กดปุ่ม
Enter จะได้สูตรที่ได้ตรึงเซลล์ไว้แล้วดังนี้

=IF(E18>=$C$12,"A",IF(E18>=$C$11,"B+",IF(E18>=$C$10,"B",IF(E18>=$C$
9,"C+",IF(E18>=$C$8,"C",IF(E18>=$C$7,"D+",IF(E18>=$C$6,"D",IF(E18>=$
C$5,"E"))))))))



รูปที่ 10-3 ผลเกรดที่ได้ของฟังก์ชัน IF


10.4.4 คัดลอกเซลล์ F18 โดยกดปุ่มเลือกเซลล์ F18 คลิกเมาส์ปุ่มขวาเพื่อเรียกเมนูลัด เลือกคัด
ลอก กดเลือกช่วงเซลล์ F19:F25 กดปุ่ม Enter ผลการใช้ฟังก์ชัน IF มีแสดงไว้ในรูปที่ 10-3

ข้อสังเกต การนำาฟังก์ชัน IF มาใช้ในการกำาหนดเกรดนี้ต้องเขียนสูตรยาว รูปแบบสูตรจะมีคำา
สั่ง ข้อกำาหนดและมีสัญญลักษ์ต่าง ๆ มากมาย จึงมีโอกาสผิดพลาดได้มาก และมีข้อจำากัดอีก
อย่างหนึ่งก็คือตัวโปรแกรมกำาหนดให้เขียนฟังก์ชัน IF ซ้อนได้ไม่เกิน 8 ชั้น


10.5. ฟั ง ก์ ช ั น VLOOKUP
เป็นฟังก์ชันที่นำามาใช้ในการค้นหาข้อมูลของคะแนนในแนวตั้ง (Vertical) โดยการค้นหาผล
เกรดจากคะแนนที่ได้ว่าตรงตามตามช่วงตารางคะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้หรือไม่ ถ้าผลการ
ค้นหาตรงกัน ก็จะแสดงผลเกรดออกมา ตารางคะแนนและเกรดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม
ความต้องการ ก่อนใช้ฟังก์ชัน VLOOKUP ต้องจัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก เนื่องจาก
ฟังก์ชัน VLOOKUP ไม่สามารถแสดงผลการค้นหาออกมาได้ถ้าข้อมูลที่อ้างอิงถึงยังไม่ได้จัด
เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามากมาก่อน (คะแนนที่กำาหนดไว้ได้จัดเรียงตามลำาดับแล้ว)

รูปแบบสูตร

=VLOOKUP(เซลล์ของคะแนนที่ได้,ชื่อตารางคะแนนและเกรดที่ตั้งไว้,ลำาดับที่สดมภ์ของ
ตารางเกรด)

วิธีการ

10.5.1 ตั้งชื่อตารางคะแนนและเกรดที่ตั้งไว้เป็นชื่อ เกรด โดยไปที่เมนู แทรก/ชื่อ/กำาหนด ที่
กรอบตอบโต้ กำาหนดชื่อ ในส่วนของชื่อในแผ่นงานให้พิมพ์ เกรด ในส่วนของอ้างอิงไปยังให้
เลือกช่วงเซลล์ที่เป็นตารางคะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้โดยการคลิกที่ เลือกช่วงเซลล์ C5:D12
คลิกปุ่มอีกครั้งหนึ่ง กดปุ่ม ตกลง


รูปที่ 10-4 ผลเกรดที่ใช้ฟังก์ชัน VLOOKUP

10.5.2 จากตารางรูปที่ 10-2 สร้างฟังก์ชัน VLOOKUP โดยการพิมพ์ลงในเซลล์ G18 ดังนี้

=VLOOKUP(E8,เกรด,2) กดปุ่ม Enter จะได้เกรดออกมาในเซลล์ G18

10.5.3 คัดลอกสูตรจากเซลล์ G18 ไปยังเซลล์ G19:G25 จะได้เกรดออกมาทั้งหมด (รูปที่
10-4)

10.6. สรุ ป ผลการกำ า หนดเกรด
เป็นการหาผลรวมของจำานวนนักศึกษาที่ได้ในแต่ละเกรดโดยนำาช่วงคะแนนที่ได้ทั้งหมด (ที่ตั้ง
ชื่อเป็น Grades) มาตรวจสอบดูว่าอยู่ในช่วงจากคะแนนตำ่าสุด-สูงสุดที่ตั้งไว้ในแต่ละช่วงมี
จำานวนกี่คนและมีกี่เปอร์เซ็นต์

รูปแบบสูตร =SUM(ชื่อช่วงเซลล์คะแนนทั้งหมด>=เซลล์ค่าตำ่าสุดของคะแนนในเกรดนั้น)*(ชื่อ
ช่วงเซลล์คะแนนทั้งหมด<=เซลล์ค่าสูงสุดสุดของคะแนนในเกรดนั้น)

การปรับสูตร สูตรที่ได้สร้างขึ้นต้องให้แสดงผลแบบ Array (สูตร Array เป็นสูตรที่ใช้เพื่อให้
แสดงผลที่สลับซับซ้อนที่สูตรธรรมดาไม่สามารถแสดงผลลัพท์ได้) หลังจากสร้างสูตรเสร็จ ให้กด
ปุ่ม Ctrl+Shift+Enter สูตรดังกล่าวจะใส่เครื่องหมายปีกกาให้

วิธีการหาจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ของเกรดที่ได้

10.6.1 สร้างตารางจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้ที่ได้ (รูปที่ 10-5)

10.6.2 ตั้งชื่อคะแนนที่ได้ในช่วงเซลล์ E18:E25 เป็นชื่อ คะแนน โดยไปที่เมนู แทรก/ชื่อ/
กำาหนด ทีกรอบตอบโต้ กำาหนดชื่อ ในส่วนของชื่อในแผ่นงานให้พิมพ์ คะแนน ในส่วนของ
            ่
อ้างอิงไปยังให้เลือกช่วงเซลล์ที่เป็นคะแนนที่ได้โดยการคลิกที่ เลือกช่วงเซลล์ E18:E25 คลิก
ปุ่ม อีกครั้งหนึ่ง กดปุ่ม ตกลง

10.6.3 จากตารางรูปที่ 10-5 สร้างสูตรเพื่อสรุปหาจำานวนนักศึกษาที่ได้ในแต่ละเกรดโดยการ
พิมพ์ลงไปที่เซลล์ J5 ดังนี้ =SUM((คะแนน>=G5)*(คะแนน<=H5)) หลังจากนั้นให้กดปุ่ม
Ctrl+Shift+Enter สูตรดังกล่าวจะใส่เครื่องหมายปีกกาให้ ดังนี้
{=SUM((คะแนน>=G5)*(คะแนน<=H5))} จะได้จำานวนนักศึกษาในเซลล์ J5 คัดลอกสูตร
จากเซลล์ J5 ไปยังเซลล์ J6:J12 จะได้จำานวนนักศึกษาออกมาทั้งหมด (รูปที่ 10-6)

10.6.4 หาเปอร์เซ็นต์ที่ได้ในแต่ละเกรด ไปที่เซลล์ K5 พิมพ์ =J5/SUM($J$5:$J$12) กด
ปุ่ม Enter จะได้จำานวนเปอร์เซ็นต์ปรากฏออกมาในเซลล์ K5 คัดลอกสูตรจากเซลล์ K5 ไปยัง
เซลล์ K6:K12 จะได้เปอร์เซ็นต์ออกมาทั้งหมด (รูปที่ 10-6)




รูปที่ 10-5 ตารางจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้



รูปที่ 10-6 ผลสรุปจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้

10.7. แบบฝึ ก หั ด
ให้กำาหนดเกณฑ์คะแนนของเกรดที่ได้ขึ้นมาเองลงในช่องที่กำาหนดมาให้ นำาเกณฑ์ดังกล่าวมา
กำาหนดเกรดให้นักศึกษาโดยใช้ฟังก์ชัน IF และฟังก์ชัน VLOOKUP และสรุปผลการกำาหนด
เกรดที่ได้ด้วย (รูปที่ 10-7)


รูปที่ 10-7 แบบฝึกหัดการหาฟังก์ชันที่ใช้ในการกำาหนดเกรด

                                                                                    ^Top

                         ติดตามตอนต่างๆ       การเพิ่มจำานวนชีทใน Excel
                                              ตอนที่ 1.
                                   ตอนที่ 2. การนำาเครื่องคิดเลขมาไว้ในโปรแกรม Excel
                                   ตอนที่ 3. การสร้างปฏิทินด้วย Excel
                                   ตอนที่ 4. การสร้างเมนูโดยใช้แมโคร
                                   ตอนที่ 5. การสร้างกล่องคำาสั่งผสมและการใช้ฟังก์ชัน INDEX
                                   ตอนที่ 6. การสร้างแผนภูมแบบอุณหภูมิ
                                                                ิ
                                   ตอนที่ 7. การป้องกันใน Excel
                                   ตอนที่ 8. การควบคุมแถบเซลล์ให้เคลื่อนไหวในเซลล์ที่ไม่ป้อ
                                   ตอนที่ 9. การจัดรูปแบบข้อมูล
                                   ตอนที่ 10. ฟังก์ชันที่ใช้ในการกำาหนดเกรดโดยวิธีอิงเกณฑ์

หน้าหลัก ม.อ. > หน้าหลักคณะฯ > คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ > เรียนรู้
การใช้งาน Excel: เนื้อหาหลัก


                                   ปรับปรุงล่าสุด พฤษภาคม 2547
                 จัดทำาโดย: งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ ร่วมกับ ภาควิชาสัตวศาสตร์
             สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2547 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

More Related Content

What's hot

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
Tang Pruedsapol
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
Tang Pruedsapol
 
บุคลากรคอม
บุคลากรคอมบุคลากรคอม
บุคลากรคอม
nutty_npk
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
spans pan
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
spans pan
 
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
Lolicon Siscon
 
E library
E libraryE library
E libraryangsuma
 

What's hot (7)

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 
บุคลากรคอม
บุคลากรคอมบุคลากรคอม
บุคลากรคอม
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
 
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
หัวข้อที่ 8-บุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์
 
E library
E libraryE library
E library
 

Viewers also liked

1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
Por Oraya
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายpattya0207
 
คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2Rinry LunlaClub
 
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
Por Oraya
 
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3krupornpana55
 
การคำนวณเกรด
การคำนวณเกรดการคำนวณเกรด
การคำนวณเกรดPonpimon Yotanon
 
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1Lunla Nui
 
เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนนJaruwrun Buranapon
 
excel training
excel trainingexcel training
excel training
Vichit Sawatjard
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 

Viewers also liked (12)

Pivot
PivotPivot
Pivot
 
Excel 1
Excel 1Excel 1
Excel 1
 
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
1 เขียนโปรแกรมภาษา C# "คำนวณคะแนนเฉลี่ย"
 
สถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยายสถิติเชิงบรรยาย
สถิติเชิงบรรยาย
 
คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2คะแนนเก็บม6 2
คะแนนเก็บม6 2
 
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
2. เขียนโปรแกรม C# "ตัดเกรด"
 
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Slใบเก็บคะแนนระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23101 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 
การคำนวณเกรด
การคำนวณเกรดการคำนวณเกรด
การคำนวณเกรด
 
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
คะแนนเก็บ42 2555 เทอม 1
 
เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนนเกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
 
excel training
excel trainingexcel training
excel training
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 

Similar to เรียนรู้การใช้งาน Excel

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
dump0507
 
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคแผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคAtit Patumvan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
dump0507
 
Course outline-excel-1day
Course outline-excel-1dayCourse outline-excel-1day
Course outline-excel-1dayTanwarot Tinsui
 
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชีการประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
พัน พัน
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นMeaw Sukee
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์cartoon656
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLabคู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
อาคม สุวรรณประเสริฐ
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabusNattapon
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1Ssab Sky
 

Similar to เรียนรู้การใช้งาน Excel (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคแผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
Course outline-excel-1day
Course outline-excel-1dayCourse outline-excel-1day
Course outline-excel-1day
 
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชีการประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
 
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้นการใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
P2 r
P2 rP2 r
P2 r
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLabคู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

เรียนรู้การใช้งาน Excel

  • 1. เรี ย นรู ้ ก ารใช้ ง าน Excel สมเกียรติ ทองรักษ์ นักวิชาการเกษตรชำานาญการ 8 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตอนที ่ 10. ฟั ง ก์ ช ั น ที ่ ใ ช้ ใ นการกำ า หนดเกรดโดยวิ ธ ี อิ ง เกณฑ์ 10.1. กล่ า วนำ า การวัดประเมินผลการเรียนการสอนของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา จะใช้ผลของการศึกษาใน หลาย ๆ ด้าน ทั้งทางด้านการเขียน การพูด การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ รวมถึงการทดสอบความ สามารถทางด้านวิชาการเป็นผลการศึกษาที่ออกมาในรูปของการให้คะแนน และนำามากำาหนด เกรดจากคะแนนที่ได้ การกำาหนดเกรดโดยใช้ Excel มีหลายวิธี สำาหรับการเรียนรู้การใช้งาน Excel ในการบรรยาย ครั้งนี้จะกล่าวถึงวิธีการนำาฟังก์ชัน IF และฟังก์ชัน VLOOKUP มาใช้ในการกำาหนดเกรด และ จะสรุปผลจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้จากช่วงคะแนนตำ่าสุดและสูงสุดในแต่ละเกรดด้วย 10.2. แนวทางการกำ า หนดเกรด การกำาหนดเกรดสามารถทำาได้ใน 2 วิธี คือกำาหนดเกรดโดยอิงกลุ่มและกำาหนดเกรดโดยอิง เกณฑ์ สำาหรับการบรรยายในครั้งนี้จะกล่าวถึงการกำาหนดเกรดโดยอิงเกณฑ์จากคะแนนและ เกรดที่กำาหนดไว้เป็นหลัก 10.3. คะแนนและเกรดที ่ ก ำ า หนดไว้ 10.3.1 คะแนน เป็นเกณฑ์ช่วงคะแนนที่กำาหนดไว้มี 8 ช่วงคะแนน 10.3.2 เกรด เป็นช่วงเกรดที่กำาหนดไว้จากที่เทียบจากคะแนนมี 8 เกรด คือ A,B+,B,C+,C,D+,D และ E คะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้ที่จะนำามาใช้เป็นตัวอย่างในครั้งนี้ มีแสดงไว้ในรูปที่ 10-1 รูปที่ 10-1 คะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้ รูปที่ 10-2 คะแนนและเกรดที่ได้ 10.4. ฟั ง ก์ ช ั น IF เป็นฟังก์ชันที่สร้างเงื่อนไขของคะแนนขึ้นมาและให้แสดงผลเกรดออกมาตามเงื่อนไขที่กำาหนด ช่วงคะแนนของเงื่อนไขที่สร้างขึ้นในเซลล์ที่กำาหนด สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความต้องการ มีการกำาหนดเกรดให้
  • 2. มีทั้งหมด 8 เกรด ดังนั้นจึงต้องสร้างเงื่อนไขทั้งหมด 8 เงื่อนไข รูปแบบสูตร =IF(เซลล์คะแนนที่ได้>=เซลล์คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่8,"A",IF(เซลล์คะแนนที่ได้>=เซลล์ คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่7,"B+",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ ลำาดับที่6,"B",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่5,"C+",IF(เซลล์ ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่4,"C",IF(เซลล์ของคะแนนที่ ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่3,"D+",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของ คะแนนที่กำาหนดไว้ลำาดับที่2,"D",IF(เซลล์ของคะแนนที่ได้>=เซลล์ของคะแนนที่กำาหนดไว้ ลำาดับที่1,"E")))))))) วิธีการ 10.4.1 สร้างตารางและเกรดที่ได้ (รูปที่ 10-2) 10.4.2 ไปที่เซลล์ F18 สร้างฟังก์ชัน IF โดยการพิมพ์ลงในเซลล์ F18 ดังนี้ =IF(E18>=C12,"A",IF(E18>=C11,"B+",IF(E18>=C10,"B",IF(E18>=C9,"C+",IF( E18>=C8,"C",IF(E18>=C7,"D+",IF(E18>=C6,"D",IF(E18>=C5,"E")))))))) กดปุ่ม Enter 10.4.3 ตรึงเซลล์ที่อ้างถึงจากคะแนนที่กำาหนดไว้ การตรึงเซลล์ไว้จะทำาให้ผลการคัดลอกใน เซลล์ที่ตรึงไว้จะไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากในทางปฏิบัติ การสร้างฟังก์ชัน IF ขึ้นมา จะสร้าง เพียงเซลล์เดียว หลังจากนั้นจะใช้วิธีคัดลอกไปยังส่วนของเซลล์ที่เหลือ ถ้าไม่ได้ตรึงเซลล์นั้น ๆ ไว้ ผลการคัดลอกจะไม่ถูกต้องโดยจะวนไปยังเซลล์ในส่วนอื่นที่ไม่เป็นคะแนนที่กำาหนดไว้ เซลล์ ที่ต้องตรึงไว้มีเซลล์ C12,C11,C10,C9,C8,C7,C6 และ C5 โดยไปที่สูตรที่เขียนไว้ในเซลล์ F18 กดปุ่มให้แถบ cursor ไปกระพริบอยู่หน้าทุกตัวอักษร C ดังกล่าว กดปุ่ม F4 กดปุ่ม Enter จะได้สูตรที่ได้ตรึงเซลล์ไว้แล้วดังนี้ =IF(E18>=$C$12,"A",IF(E18>=$C$11,"B+",IF(E18>=$C$10,"B",IF(E18>=$C$ 9,"C+",IF(E18>=$C$8,"C",IF(E18>=$C$7,"D+",IF(E18>=$C$6,"D",IF(E18>=$ C$5,"E")))))))) รูปที่ 10-3 ผลเกรดที่ได้ของฟังก์ชัน IF 10.4.4 คัดลอกเซลล์ F18 โดยกดปุ่มเลือกเซลล์ F18 คลิกเมาส์ปุ่มขวาเพื่อเรียกเมนูลัด เลือกคัด ลอก กดเลือกช่วงเซลล์ F19:F25 กดปุ่ม Enter ผลการใช้ฟังก์ชัน IF มีแสดงไว้ในรูปที่ 10-3 ข้อสังเกต การนำาฟังก์ชัน IF มาใช้ในการกำาหนดเกรดนี้ต้องเขียนสูตรยาว รูปแบบสูตรจะมีคำา สั่ง ข้อกำาหนดและมีสัญญลักษ์ต่าง ๆ มากมาย จึงมีโอกาสผิดพลาดได้มาก และมีข้อจำากัดอีก อย่างหนึ่งก็คือตัวโปรแกรมกำาหนดให้เขียนฟังก์ชัน IF ซ้อนได้ไม่เกิน 8 ชั้น 10.5. ฟั ง ก์ ช ั น VLOOKUP เป็นฟังก์ชันที่นำามาใช้ในการค้นหาข้อมูลของคะแนนในแนวตั้ง (Vertical) โดยการค้นหาผล เกรดจากคะแนนที่ได้ว่าตรงตามตามช่วงตารางคะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้หรือไม่ ถ้าผลการ
  • 3. ค้นหาตรงกัน ก็จะแสดงผลเกรดออกมา ตารางคะแนนและเกรดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม ความต้องการ ก่อนใช้ฟังก์ชัน VLOOKUP ต้องจัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก เนื่องจาก ฟังก์ชัน VLOOKUP ไม่สามารถแสดงผลการค้นหาออกมาได้ถ้าข้อมูลที่อ้างอิงถึงยังไม่ได้จัด เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามากมาก่อน (คะแนนที่กำาหนดไว้ได้จัดเรียงตามลำาดับแล้ว) รูปแบบสูตร =VLOOKUP(เซลล์ของคะแนนที่ได้,ชื่อตารางคะแนนและเกรดที่ตั้งไว้,ลำาดับที่สดมภ์ของ ตารางเกรด) วิธีการ 10.5.1 ตั้งชื่อตารางคะแนนและเกรดที่ตั้งไว้เป็นชื่อ เกรด โดยไปที่เมนู แทรก/ชื่อ/กำาหนด ที่ กรอบตอบโต้ กำาหนดชื่อ ในส่วนของชื่อในแผ่นงานให้พิมพ์ เกรด ในส่วนของอ้างอิงไปยังให้ เลือกช่วงเซลล์ที่เป็นตารางคะแนนและเกรดที่กำาหนดไว้โดยการคลิกที่ เลือกช่วงเซลล์ C5:D12 คลิกปุ่มอีกครั้งหนึ่ง กดปุ่ม ตกลง รูปที่ 10-4 ผลเกรดที่ใช้ฟังก์ชัน VLOOKUP 10.5.2 จากตารางรูปที่ 10-2 สร้างฟังก์ชัน VLOOKUP โดยการพิมพ์ลงในเซลล์ G18 ดังนี้ =VLOOKUP(E8,เกรด,2) กดปุ่ม Enter จะได้เกรดออกมาในเซลล์ G18 10.5.3 คัดลอกสูตรจากเซลล์ G18 ไปยังเซลล์ G19:G25 จะได้เกรดออกมาทั้งหมด (รูปที่ 10-4) 10.6. สรุ ป ผลการกำ า หนดเกรด เป็นการหาผลรวมของจำานวนนักศึกษาที่ได้ในแต่ละเกรดโดยนำาช่วงคะแนนที่ได้ทั้งหมด (ที่ตั้ง ชื่อเป็น Grades) มาตรวจสอบดูว่าอยู่ในช่วงจากคะแนนตำ่าสุด-สูงสุดที่ตั้งไว้ในแต่ละช่วงมี จำานวนกี่คนและมีกี่เปอร์เซ็นต์ รูปแบบสูตร =SUM(ชื่อช่วงเซลล์คะแนนทั้งหมด>=เซลล์ค่าตำ่าสุดของคะแนนในเกรดนั้น)*(ชื่อ ช่วงเซลล์คะแนนทั้งหมด<=เซลล์ค่าสูงสุดสุดของคะแนนในเกรดนั้น) การปรับสูตร สูตรที่ได้สร้างขึ้นต้องให้แสดงผลแบบ Array (สูตร Array เป็นสูตรที่ใช้เพื่อให้ แสดงผลที่สลับซับซ้อนที่สูตรธรรมดาไม่สามารถแสดงผลลัพท์ได้) หลังจากสร้างสูตรเสร็จ ให้กด ปุ่ม Ctrl+Shift+Enter สูตรดังกล่าวจะใส่เครื่องหมายปีกกาให้ วิธีการหาจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ของเกรดที่ได้ 10.6.1 สร้างตารางจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้ที่ได้ (รูปที่ 10-5) 10.6.2 ตั้งชื่อคะแนนที่ได้ในช่วงเซลล์ E18:E25 เป็นชื่อ คะแนน โดยไปที่เมนู แทรก/ชื่อ/ กำาหนด ทีกรอบตอบโต้ กำาหนดชื่อ ในส่วนของชื่อในแผ่นงานให้พิมพ์ คะแนน ในส่วนของ ่ อ้างอิงไปยังให้เลือกช่วงเซลล์ที่เป็นคะแนนที่ได้โดยการคลิกที่ เลือกช่วงเซลล์ E18:E25 คลิก ปุ่ม อีกครั้งหนึ่ง กดปุ่ม ตกลง 10.6.3 จากตารางรูปที่ 10-5 สร้างสูตรเพื่อสรุปหาจำานวนนักศึกษาที่ได้ในแต่ละเกรดโดยการ พิมพ์ลงไปที่เซลล์ J5 ดังนี้ =SUM((คะแนน>=G5)*(คะแนน<=H5)) หลังจากนั้นให้กดปุ่ม
  • 4. Ctrl+Shift+Enter สูตรดังกล่าวจะใส่เครื่องหมายปีกกาให้ ดังนี้ {=SUM((คะแนน>=G5)*(คะแนน<=H5))} จะได้จำานวนนักศึกษาในเซลล์ J5 คัดลอกสูตร จากเซลล์ J5 ไปยังเซลล์ J6:J12 จะได้จำานวนนักศึกษาออกมาทั้งหมด (รูปที่ 10-6) 10.6.4 หาเปอร์เซ็นต์ที่ได้ในแต่ละเกรด ไปที่เซลล์ K5 พิมพ์ =J5/SUM($J$5:$J$12) กด ปุ่ม Enter จะได้จำานวนเปอร์เซ็นต์ปรากฏออกมาในเซลล์ K5 คัดลอกสูตรจากเซลล์ K5 ไปยัง เซลล์ K6:K12 จะได้เปอร์เซ็นต์ออกมาทั้งหมด (รูปที่ 10-6) รูปที่ 10-5 ตารางจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้ รูปที่ 10-6 ผลสรุปจำานวนนักศึกษาและเปอร์เซ็นต์ที่ได้ 10.7. แบบฝึ ก หั ด ให้กำาหนดเกณฑ์คะแนนของเกรดที่ได้ขึ้นมาเองลงในช่องที่กำาหนดมาให้ นำาเกณฑ์ดังกล่าวมา กำาหนดเกรดให้นักศึกษาโดยใช้ฟังก์ชัน IF และฟังก์ชัน VLOOKUP และสรุปผลการกำาหนด เกรดที่ได้ด้วย (รูปที่ 10-7) รูปที่ 10-7 แบบฝึกหัดการหาฟังก์ชันที่ใช้ในการกำาหนดเกรด ^Top ติดตามตอนต่างๆ การเพิ่มจำานวนชีทใน Excel ตอนที่ 1. ตอนที่ 2. การนำาเครื่องคิดเลขมาไว้ในโปรแกรม Excel ตอนที่ 3. การสร้างปฏิทินด้วย Excel ตอนที่ 4. การสร้างเมนูโดยใช้แมโคร ตอนที่ 5. การสร้างกล่องคำาสั่งผสมและการใช้ฟังก์ชัน INDEX ตอนที่ 6. การสร้างแผนภูมแบบอุณหภูมิ ิ ตอนที่ 7. การป้องกันใน Excel ตอนที่ 8. การควบคุมแถบเซลล์ให้เคลื่อนไหวในเซลล์ที่ไม่ป้อ ตอนที่ 9. การจัดรูปแบบข้อมูล ตอนที่ 10. ฟังก์ชันที่ใช้ในการกำาหนดเกรดโดยวิธีอิงเกณฑ์ หน้าหลัก ม.อ. > หน้าหลักคณะฯ > คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ > เรียนรู้ การใช้งาน Excel: เนื้อหาหลัก ปรับปรุงล่าสุด พฤษภาคม 2547 จัดทำาโดย: งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ ร่วมกับ ภาควิชาสัตวศาสตร์ สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2547 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์