SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
http://anngle.org/th/wp-content/uploads/2013/07/6.jpg
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ฮาพีฟี สะมะแอ
ปู้ช่วยนักวิจัย
แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
1
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
บทนา
“ใต้สุดแดนสยาม เมืองงามชายแดน” ถึงแม้ว่าจะเป็นวลีสั้นๆ แต่คาขวัญประจาจังหวัดยะลา
ก็บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ได้เป็นอย่างดี หนึ่งในความงามของจังหวัดยะลาเมื่อกล่าวถึง ประการ
แรกที่ใครหลายๆคนคานึงถึง คงไม่พ้นเมืองที่มีผังสวยที่สุดของประเทศไทยเป็นแน่แท้ ทั้งนี้นอกจาก
ความสวยงามแล้วนั้นการวางผังเมืองที่ดียังส่งผลต่อ การวางนโยบายพัฒนาและบริหารเมือง ดังนั้นการ
วางแผนภาคและเมืองจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะตัวแปรหนึ่งที่มีบทบาทในการกาหนดทิศ
ทางการพัฒนาในอนาคต อันจะส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมเมือง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอีก
ด้วย
ครั้นอดีตก่อนการย้ายเมืองยะลามา ณ บ้านนิบง อันเป็นที่ตั้งของเมืองยะลาในปัจจุบัน ได้มีการ
ย้ายที่ตั้งทั้งสิ้น 4 ครั้ง (สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยะลา, 2556:4) ได้แก่
ครั้งที่ 1 ตั้งเมืองอยู่ที่ตาบลบ้านยะลา
ครั้งที่ 2 ได้ย้ายเมืองไปตั้งที่ตาบลท่าสาป (ฝั่งซ้ายของแม่น้าปัตตานี)
ครั้งที่ 3 ได้ย้ายไปตั้งที่เมืองสะเตง (ทางฝั่งขวาของแม่น้าปัตตานี )
ครั้งที่ 4 ได้ย้ายไปตั้งที่บ้านนิบง
ในการย้ายที่ตั้งครั้งสุดท้าย พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ร่วมกับเพื่อนข้าราชการวางผังเมือง
ยะลา โดยได้รับการเสนอแนะจากแผนกผังเมือง กรมโยธาเทศบาล มีการตัดถนนสายต่างๆ วางผังเป็น
รูปใย เเมงมุมมีวงเวียนซ้อนกันเป็นชั้นๆ ชั้นในสุดเป็นหลักเมือง รอบวงเวียนชั้นในเป็นที่ตั้งของสถานที่
ราชการ ถัดออกไปเป็นวงเวียน 2 คือ บ้านพักข้อราชการแผนกต่างๆ วงเวียน 3 เป็น โรงพยาลบาล
สถานศึกษา และบ้านเอกชน (ภูชัย สัปปพันธ์, 2538: 79) เมืองยะลาได้เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง
จนกระทั่งได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครยะลา ตามพระราชกฤษฎีกา เล่มที่ 112 ตอน 40 ก จัดตั้งเทศบาล
นครยะลา พ.ศ. 2538 วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2538 โดย “หมายเหตุในการประกาศใช้พระราช
กฤษฎีกาฉบับนี้คือ เนื่องจากเทศบาลเมืองยะลา จังหวัดยะลา มีสภาพความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และสังคมเพิ่มขึ้น สมควรเปลี่ยนฐานะเป็นเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา” พร้อมกับเทศบาลนครอีก
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
2
หลายแห่งของประเทศ อาทิ เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครอุดรธานี และ
เทศบาลนครขอนแก่น เป็นต้น
ภาพที่ 1 แผนที่แสดงที่ตั้งของเมืองยะลาในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
3
ในทางภูมิศาสตร์เมือง นิยมแบ่งการศึกษาเมืองเป็น 2 แนวทางหลัก (มาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย และ
คณะ:2557) ได้แก่
การศึกษาระบบเมือง (City System) เป็นการศึกษาในฐานะสมาชิกหน่วย
หนึ่งของระบบที่ใหญ่กว่า กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการศึกษาบทบาทเมืองในระดับต่างๆ
เช่น ความสาคัญของเมืองซึ่งมีบทบาทหรือในฐานะเป็นสมาชิกของภูมิภาค
การศึกษาเมืองในฐานะระบบ (City as a system) เป็นการศึกษาและ
วิเคราะห์ราย ละเอียดภายในเมือง หรือโครงสร้างภายในเมืองหนึ่งๆ เช่น รูปแบบและ
ประเภทการใช้ที่ดินแบบต่างๆ ราคาหรือมูลค่าที่ดิน กิจกรรมการเคลื่อนไหวภายใน
เมืองนั้นๆ
ในบทความนี้จะศึกษาเมืองยะลาในฐานะระบบ นอกจากนี้การเป็นเมืองลาดับศักย์สาคัญที่สุด
ของภูมิภาคอย่างยะลา จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่เมืองจะต้องมีนโยบายและแผนการพัฒนา การวางผัง
เมืองจึงเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะส่งเสริมและพัฒนาเมืองให้มีความเจริญก้าวหน้า และเตรียมแผนรับมือ
ปัญหาต่างๆอันเนื่องมาจากการขยายตัวของเมืองในอนาคตได้เป็นอย่างดี
2. แนวคิดและหลักการวางผังเมือง การจัดรูปแบบและการใช้ที่ดินภายในเมืองยะลา
การวางผังเมืองในประเทศไทยเริ่มต้นตั้งแต่สมัยโบราณกาล โดยในแต่ยุคสมัยจะมีการวางผัง รูปร่างและ
ลักษณะที่โดดเด่นเฉพาะตัว กล่าวคือ ชุมชนโบราณทวารวดีมีลักษณะเป็นวงรี ชุมชนโบราณที่ได้รับ
อิทธิพลขอมมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม การสร้างบ้านแปลนเมืองมักจะได้รับอิทธิพลคติความเชื่อของศาสนา
โดยเฉพาะ ศาสนาฮินดู พราหมณ์ ประกอบเสมอ ประเทศไทยได้ริเริ่มการทาผังเมืองรวมครั้งแรกใน ปี
พ.ศ 2500 โดยว่าจ้าง บริษัท Litchfield Whiting Bowne & Associates ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งผัง
เมืองรวมฉบับนี้ได้ถูกประกาศใช้ในปี 2533 เรียกผังเมืองรวมนี้ว่า ผังนครหลวง 2533 หรือเรียกอีกชื่อ
หนึ่งว่า ผังลิทช์ฟิลด์ ครอบคลุม จังหวัดพระนคร ธนบุรี บางส่วนของจังหวัดนนทบุรี และสมุทรปราการ
การจัดทาผังเมืองรวมปัจจุบันมีกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทาผังเมืองรวมทั่ว
ประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานครมีสานักผังเมือง ซึ่งรับผิดชอบจาผังเมืองโดยตรง
กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ให้นิยาม การวางผังเมืองไว้ว่า
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
4
การวางจัดทาและดาเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมือง
เฉพาะในบริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อสร้างหรือพัฒนา
เมืองหรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่ หรือแทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ได้รับความ
เสียหายเพื่อให้มีหรือทาให้ดียิ่งขึ้นซึ่งสุขลักษณะความสะดวกสบายความเป็น
ระเบียบ ความสวยงาม การให้ประโยชน์ในทรัพย์สินความปลอดภัยของ
ประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริมการเศรษฐกิจสังคม และ
สภาพแวดล้อม เพื่อดารงรักษาหรือบูรณะ สถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือ
คุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือเพื่อ
บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทาง
ธรรมชาติ
2.1 จุดเริ่มต้นของการวางผังเมืองยะลา
การวางผังเมืองยะลานั้นเริ่มครั้นเมื่อพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ร่วมกับสหาย
ข้าราชการ วางผังเมืองยะลาโดยได้รับการเสนอแนะจากแผนกผังเมือง กรมโยธาเทศบาล วางผังเมือง
ยะลา โดยเรียกว่า ผังเค้าโครงเมืองยะลา ปี 85 โดยพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ทาการหา
ศูนย์กลางของเมืองแล้วจึงปักปลักก้อนใหญ่และมีก้อนหินไว้เป็นเครื่องหมาย และได้วางแผนผังเมืองเป็น
วงเวียนรอบศูนย์กลางเมือง ทั้งสิ้น 3 วง โดยเตรียมที่ดินในบริเวณนี้ไว้เป็นสถานที่ราชการ มีการสร้าง
ถนนเข้ามายังศูนย์กลางเมือง และตัดถนนสายต่างๆกว่าทั่วทั้งเมืองยะลา ดังที่เห็นในปัจจุบัน อาทิ ถนน
พิพิธภักดี ซึ่งเป็นถนนคู่ มีช่องทางจักยาน และปลูกต้นประดู่ไว้ตามเกาะกลางถนน ถนนสุขยางค์ ถนนสิ
โรรส และมีการตัดถนนสายย่อยๆเป็นรูปสี่เหลี่ยมหมากรุก ได้แก่ถนนยะลา ถนนไชยจรัส ถนนรัฐกิจ
ถนนประจิน ถนนพังงา และถนนรวมมิตร เป็นต้น
พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ทาการจัดประเภทการใช้ที่ดินที่มีความคล้ายคลึงกัน
ประเภทเดียวกันในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ บริเวณวงในสุดเป็นสถานที่ราชการต่างๆ เช่น ศาลากลาง
จังหวัด สานักงานเกษตรจังหวัด สานักงานที่ดิน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสานักงาน
สถิติจังหวัด วงเวียนที่สอง คือ บ้านพักข้าราช และวงเวียนที่สาม ซึ่งเป็นวงเวียนสุดท้ายเป็นที่ตั้งของ
โรงเรียน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล และที่อยู่อาศัยของประชาชน
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
5
การวางแผนผังเมืองนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในฐานะเครื่องมือในการวางแผนการวางนโยบาย
พัฒนาและบริหารเมือง ดังนั้นการวางแผนผังเมืองจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เป็นเครื่องมือหนึ่งใน
ฐานะกฎหมาย ที่มีบทบาทในการกาหนดประเภทการที่ดินและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ ซึ่งเป็นกาหนด
ทิศทางการพัฒนาในอนาคตอีกด้วย หากไม่มีการวางผังเมืองก็จะทาให้เกิดปัญหาต่างๆ กับเมือง ไม่ว่า
จะเป็นปัญหาการเจริญเติบโตอย่างไร้ทิศทางของเมือง ปัญหาชุมชมแออัด ปัญหาทางด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรม ปัญหาการป้องกันภัยธรรมชาติ และยังยากต่อการวางแผนนโยบายการพัฒนาต่อยอด
เมืองในอนาคตอีกด้วย การวางผังเมืองก่อนที่จะมีการเป็นเมืองจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ยะลาเป็นเพียง
ไม่กี่เมืองใหญ่ในประเทศไทยที่มีการวางผังเมือง มีการวางแผน การกาหนดพื้นที่การใช้ที่ดินในเขตเมือง
และการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆภายในเมือง จึงทาให้เมืองยะลาเป็นเมืองที่สวยงาม และง่ายต่อการวางแผน
นโยบายการพัฒนาเมือง
ในการวางผังเมืองนั้นจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการวางผัง ซึ่งกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้
กาหนดขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบถึงเหตุผลและความจาเป็นในการวางและ
ดาเนินการทางผังเมือง นอกจากนี้เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถวางและดาเนินการทางผัง
เมืองอย่างมีมาตรฐาน อีกทั้งเพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมในการวางและดาเนินการ
ทางผังเมืองได้อย่างถูกต้อง (กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น,มปป) ผลของการการวางผังเมืองจะ
เรียกว่า “ผังเมืองรวม”
ผังเมืองรวม (Comprehensive Map) แผนผัง นโยบายและโครงการรวมทั้งมาตรการควบคุม
โดยทั่วไป เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท
ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่งการสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและ
สภาพแวดล้อมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง โดยจะมีการจัดทาผังเมืองรวมทุก 5 ปี ซึ่งทุก
เมืองในประเทศไทยจะต้องมีผังเมืองรวมทั้งสิ้น (กรมโยธาธิการและผังเมือง,มปป) โดยมีการแบ่ง
ประเภทการใช้ที่ดินเป็นสีต่างๆ (นิพันธ์ วิเชียรน้อย,มปป) อาทิ
สีเหลือง เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
สีส้ม เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
สีน้าตาล เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
6
สีแดง เป็นประเภทการใช้ที่ดินพาณิชยกรรม
สีม่วง เป็นประเภทการใช้ที่ดินอุตสาหกรรมและคลังสินค้า
สีขาวมีกรอบและเส้นทะเเยงมุมสีเขียว เป็นประเภทการใช้ที่ดินอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม
สีเขียว เป็นประเภทการใช้ที่ดินเกษตรกรรม
สีน้าตาลอ่อน เป็นประเภทการใช้ที่ดินอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย
สีน้าเงิน เป็นประเภทการใช้ที่ดินสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
ภาพที่ 2 แสดงสีการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
7
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
8
2.2 รูปแบบและการใช้ที่ดินในเมืองยะลา
การใช้ที่ดินในเมืองยะลา สามารถจาแนกการใช้ที่ดินออกเป็น 6 ประเภท
ได้แก่
2.2.1 พื้นที่สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
พื้นที่สถาบันราชการของเมืองยะลานั้นจะวางอยู่บริเวณศาลหลักเมือง และวง
เวียนหลักทั้งสามวงเวียน และถนนสิโรรส
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
9
ภาพที่ 3 ผังเมืองรวมยะลาแสดงพื้นที่สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
2.2.2 พื้นที่โล่งและนันทนาการ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
เมืองยะลานั้นได้รับสมญานามว่าเมืองแห่งสวน ซึ่งทั่วทั้งเมืองยะลา
ประกอบด้วยสวนและนันทนาการต่างๆดังนี้
- สวนขวัญเมือง (พรุบาโกย)
สร้างบนพื้นที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 207 ไร่ ประกอบด้วยสวน สนามกีฬา
สนามแข่งขันนกเขาชวาเสียง ซึ่งเป็นสนามมาตรฐานที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และชายหาดจาลองอีกด้วย
- สวนศรีเมือง
เป็นสวนที่สร้างเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์และคันกั้นน้าริมแม่น้าปัตตานี เริ่มต้นจาก
บริเวณตลาดเมืองใหม่ถึงบริเวณสะพานข้ามทางรถไฟ เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร สร้างแล้ว
เสร็จปี พ.ศ. 2546 ประกอบไปด้วยพื้นที่ ลานสาหรับจัดกิจกรรมมีน้าพุ ลานนั่งชมการแสดง จุดสาหรับ
จาหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม สนามเด็กเล่น ลานจอดรถบริเวณริมน้า จุดนี้มีบันไดลงท่าน้าเพื่อจัดกิจกรรม
ต่าง ๆ เช่น ลอยกระทง สงกรานต์ ในส่วนของพื้นที่ริมน้าตลอดระยะทาง 2 กิโลเมตร มีการปลูกไม้
ดอกไม้ประดับ และมีเก้าอี้สาหรับพักผ่อนชมวิว มีจุดจาหน่ายอาหาร เครื่องดื่มอีกด้วย
- สวนสาธารณะบ้านร่ม
แหล่งพักผ่อนหย่อนใจริมน้าบ้านสะเตง เป็นอีกหนึ่งสวนสาธารณะใจกลาง
เมืองของเทศบาลนครยะลา ประกอบด้วยต้นไม้นานาพรรณและศาลาริมน้ารูปทรงที่มีเอกลักษณ์ของ
พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
- สวนสาธารณะสนามช้างเผือก (สนามโรงพิธีช้างเผือก)
มีพื้นที่ 80 ไร่ เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีน้อมเกล้าฯ ถวายช้างเผือก
"พระเศวตสุรคชาธาร" แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2511
ภายในสวนสาธารณะมีศาลากลางน้า รูปปั้นสัตว์ต่าง ๆ และสนามกีฬาในร่มขนาดใหญ่ที่ใช้จัดกิจกรรม
ต่างๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
10
- สวนมิ่งเมือง
สวนกิจกรรมเพื่อเยาวชนประกอบไปด้วยสวนย่อยๆ 4 สวน ได้แก่ สวนมิ่ง
เมือง 1-4 หรือ บาโร๊ะบารู 1-4 ซึ่งเทศบาลได้ดาเนินการก่อสร้างถนน เลี่ยงเมือง (แบเมาะพัฒนา) โดย
เริ่มจากทางเข้าเมืองด้านอาเภอยะรัง สิ้นสุดที่ถนนสี่เลนใกล้สะพานเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อเชื่อมกับถนน
ผังเมือง 4 ซึ่งสวนสาธารณะมิ่งเมืองมีความยาวประมาณ 2.5 กิโลเมตร โดยสวนมิ่งเมือง 4 เป็นสวนที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุด ภายในสวนประกอบด้วย สนามฟุตบอลหญ้าเทียม และสนามเด็กเล่น
- ศูนย์เยาวชนยะลา
ประกอบไปด้วยสนามขนาดใหญ่เพื่อใช้รองรับการจัดงานสาคัญๆระดับจังหวัด
ซึ่งในยามปกติชาวเมืองยะลาจะใช้เล่นฟุตบอล ออกกาลังกาย และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฟิตเนสของ
เทศบาลอีกด้วย นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK PARK YALA) ซึ่งเป็นอุทยาน
การเรียนรู้แห่งแรกในภูมิภาค และเป็นแห่งที่สองของประเทศ หลังจากกรุงเทพมหานคร
- สนามกีฬาชุมชนจารู
เป็นที่ตั้งของสนามฟุตบอลหญ้าเทียมขนาดมาตรฐาน และมีสเตเดียมอีกด้วย ถือว่าเป็นสนาม
กีฬาที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขันกีฬาทั้งในระดับจังหวัด และภูมิภาค นอกจากนี้สนามกีฬาแห่งนี้
ยังเป็นสนามกีฬาหญ้าเทียมแห่งเดียวในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกด้วย
- บึงแบเมาะ
บึงแบเมาะเป็นพื้นที่ชุ่มน้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บริเวณชุมชนตลาดเก่า ติดกับเขาตูม
และค่ายสิรินธร บึงแบเมาะถือว่าเป็นบึงที่มีความสาคัญของเมือง ในฐานะเป็นพื้นที่แก้มลิงรับน้าขนาด
ใหญ่ และนอกจากนี้ทางเทศบาลยังมีนโยบายพัฒนาบึงให้เป็นสนานที่พักผ่อนหย่อนใจ และนันทนาการ
อีกด้วย
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
11
ภาพที่ 4 แสดงแผนที่สวนสาธารณะและพื้นที่นันทนาการในเมืองยะลา
1
2
3456
7
8
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
12
2.2.3 พื้นที่พาณิชยกรรม
พื้นที่พาณิชยกรรมของเมืองยะลา ตั้งรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน โดยมีถนนสายสาคัญๆ
ของเมืองล้อมรอบ ได้แก่ ถนนสิโรรส ถนนพิพิธภักดี ถนนสุขยางค์ โดยชาวยะลามักเรียกพื้นที่พาณิชยก
รรมว่า “สายกลาง” นอกจากนี้เมืองยะลายังมีตลาดขนาดใหญ่อีกหลายแห่ง ได้แก่ ตลาดเมืองใหม่ ตลาด
สดผังเมืองสี่ ตลาดนัดเสรี ตลาดเช้า และตลาดหลังสถานีรถไฟบริเวณถนนวิฑูรอุทิศ ย่านตลาดเก่า
กระจายอยู่ทั่วทุกมุมเมือง
ภาพที่ 5 แสดงพื้นที่พาณิชยกรรมในเขตเมืองยะลา
2.2.4 พื้นที่ที่อยู่อาศัย
พื้นที่ที่อยู่อาศัยของเมืองยะลานั้น เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของเมือง ซึ่งประชากรจะอาศัยอยู่
หนาแน่นบริเวณเขตพาณิชยกรรม และลดลงเรื่อยๆ จนกระทั้งกระทั้งเข้าพื้นที่เมืองสะเตงนอก โดยพื้นที่
ประชากรหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) จะล้อมรอบพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) ดังภาพ
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
13
ภาพที่ 14 แสดงพื้นที่อยู่อาศัยในเขตเมืองยะลา
2.2.5 พื้นที่เกษตรกรรม
พื้นที่เกษตรกรรมของเมืองอยู่บริเวณขอบนอกของเมือง โดยพืชที่นิยมปลูกข้าวโพด
ยางพารา เป็นต้น
2.2.6 พื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้า
พื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้าของเมืองยะลาตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ตลาดเก่า และถนน
เทศบาล 1 โดยพื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้านั้นพบได้น้อยมากในเขตเมืองยะลา ดังภาพ
ภาพที่ 6 แสดงพื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้า
การวางแผนผังเมืองของยะลา ซึ่งถือว่าเป็นการวางแผนผังเมืองยุคแรกๆของประเทศไทยนั้น
เป็นที่น่าสังเกตว่า พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ไม่ได้เน้นเพียงแค่รูปแบบที่มีความสวยงามของ
ผังเมืองเท่านั้น แต่ยังได้จัดสรร จัดประเภทการใช้ที่ดินเข้าเป็นหมวดหมู่เดียวกัน อีกทั้งยังมีการสร้าง
ช่องทางจักรยาน และทางเดินอีกด้วย โดยการจัดการวางแผนผังเมืองตั้งแต่ก่อนการเป็นเมืองทาให้เมือง
ยะลาสามารถวางแผนการพัฒนาต่างๆได้อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
14
3. การวิเคราะห์ผังเมืองยะลา
3.1 ผังเมืองยะลากับพื้นที่สวนสาธารณะ นันทนาการ และการสร้างเสริมสุขภาวะของคน
เมือง
พื้นที่นันทนาการและสวนสาธารณนั้นเป็นส่วนที่สาคัญอย่างยิ่งของเมือง เนื่องจากเป็นที่
ที่ให้ชาวเมืองได้พักผ่อนหย่อนใจ หลีกหนีจากวิถีชิวิตที่วุ่นวาย และเหน็ดเหนื่อยจากการทางานแล้วนั้น
พื้นที่สวนและนันทนาการยังมีความสาคัญในหลายมิติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาวะของ
ชาวเมืองอีกด้วย
การสร้างเมืองในสวนนั้นเป็นแนวคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดการสร้าง
อุทยานนครหรือ Garden City Concept ผู้ริเริ่มความคิดนี้คือ Ebenezer Howard1
ในปี 1898 โดยเขา
ได้เขียนหนังสือชื่อ Tomorrow: A Peaceful Path to Social Reform แนวคิดของ Howard เป็นการให้
ความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเมือง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเอาชนะความแออัดและการ
เพิ่มขึ้นของประชากรอันเนื่องมาจากไม่สามารถควบคุมการเติบโตตั้งแต่สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน
ประเทศอังกฤษ โดยเขามีความคิดที่จะพัฒนาสภาพแวดล้อมของเมืองให้ดีดังเช่นสิ่งแวดล้อมในชนบท
โดยได้สร้างแผนภาพแม่เหล็กทั้งสาม ได้แก่ ชนบท เมือง และชนบทและเมือง ซึ่งแนวคิดของ Howard
เป็นการให้ความสาคัญกับพื้นที่สีเขียวและพื้นที่เกษตรกรรม ที่อยู่ในเมืองและรอบๆศูนย์กลางเมือง
(Centre city)
1
Ebenezer Howard เป็นนักวางผังเมืองชาวอังกฤษ มีชีวิตอยู่ใน 29 มกราคม 1850 – 1 พฤษภาคม ค.ศ.
1928
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
15
ภาพที่ 7 ผังแนวคิดอุทยานนคร
ที่มา http://www.britannica.com/EBchecked/topic/225784/garden-city
ถึงแม้ว่าแนวคิดอุทยานนครจะไม่ได้เป็นสิ่งใหม่ในการวางแผนการพัฒนาเมืองของโลก
แต่ทว่าแนวคิดดังกล่าวนั้นถือเป็นเรื่องที่น่าทึ่งมากสาหรับประเทศไทย เนื่องจากเมืองที่ถือกาเนิดร่วม
สมัยกับเมืองยะลา มีเพียงน้อยเมืองมากที่ให้ความสาคัญกับสวน ซึ่งเราต้องยกย่องท่านผู้วางผังเมือง
ยะลาว่าเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันยาวไกลในการพัฒนาเมือง
ดังที่กล่าวมาข้างต้น ถึงการใช้ที่ดินในเมืองยะลาว่าเป็นอย่างไร จะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง
อุทยานนครนั้นสามารถนามาอธิบายเมืองยะลาได้เป็นอย่างดี ยะลาประกอบด้วยต้นประดู่ขนาดใหญ่ที่
ปลูกบนเกาะกลางถนนสายหลักของเมือง สวนสาธารณะ และสวนหย่อมจานวนมากทั่วทั้งเมืองอีกด้วย
กล่าวคือ มีต้นประดู่สองข้างถนนถนนพิพิธภักดี ในยามใดที่ประดู่ผลิดอก ถนนสายนี้ก็จะอร่าม เหลืองไป
ทั้งสาย ซึ่งเป็นภาพที่ประดับใจของชาวเมืองและผู้มาเยือนอย่างยิ่ง พรรณไม้นานาชนิดที่ปลูก เช่น
มะขาม ต้นศรีตรัง ต้นกัลปพฤกษ์ ต้นเหลืองอินเดีย และต้นพญาเสือโคร่ง ประดับในเขตเมืองทั้งถนนสิโร
รส สุขยางค์ และถนนสายหลักต่างๆทั่วทั้งเมืองยะลา อีกทั้งสวนสาธารณะอีก 6 แห่ง ได้แก่ สวน
ขวัญเมือง สวนศรีเมือง สวนสาธารณะบ้านร่ม สวนมิ่งเมือง ศูนย์เยาวชนยะลา และสนามกีฬาชุมชนจา
รู ครอบคลุมทั่วทั้งเมืองยะลา ทาให้ชาวเมืองสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่แออัด โดย Webster
(1965:131) ได้กาหนดเกณฑ์สวนสาธารณะต่อจานวนประชากรว่า ในเมืองใดๆควรมีขนาดของพื้นที่ของ
สวนสาธารณะ 5 ไร่ขึ้นไป และมีอัตราส่วนประชากร 500 คน ต่อ พื้นที่ 1 ไร่ ซึ่งเมืองยะลานั้นมีขนาด
ของพื้นที่สวนสาธารณะและพักผ่อนหย่อนใจประมาณ 300 ไร่ โดยมีอัตราส่วนของพื้นที่ต่อจานวน
ประชากร 205.21 : 1 ไร่2
ซึ่งถือว่าเป็นอัตราส่วนที่สูงมาก
นอกจากสวนแล้วนั้น เมืองยะลายังมีช่องทางจักรยานขนาดใหญ่ที่แยกออกจากช่องทางรถยนต์
และจักรยานยนต์ โดยมีเกาะกลางถนนกั้น ช่องทางจักยานนี้นั้นเป็นช่องทางที่ถูกออกแบบตั้งแต่ริเริ่ม
การสร้างเมือง ซึ่งเป็นการเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้จักรยาน โดยเมืองยะลามีชมรมผู้ใช้จักรยาน ใน
นาม “ชมรมจักรยานเทศบาลนครยะลา” อีกด้วย
2
อ้างอิงจากสถิติประชากร สารวจเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2556 และขนาดพื้นที่ของสวนสาธารณะคานวณจาก
ข้อมูลจริงประกอบกับการวัดพื้นที่ในซอฟท์แวร์ ArcGIS
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
16
ภาพที่ 8 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา
ที่มา : http://www.pnylink.com/picpost/ยะลามุมสูง/
ความสาคัญของการวางผังเมืองโดยจัดให้มีพื้นที่สวนสาธารณะ ที่ให้ชาวเมืองได้พักผ่อนหย่อน
ใจ ผ่อนคลายอิริยาบถ และออกกาลังกาย ทาให้คนเมืองมีสุขภาพกายและจิตที่ดีแล้วนั้น พื้นที่เหล่านี้ยัง
มีประโยชน์ในทางอ้อมอีกจานวนมาก อาทิ เป็นสถานที่สร้างความสัมพันธ์อันดีของชาวเมือง เป็น
สถานที่สร้างรายได้แก่พ่อค้า แม่ขาย อันทาให้เศรษฐกิจของเมืองคึกคักขึ้นแล้วนั้น สถานที่เหล่านี้ยังเป็น
ปอดของเมือง ที่จะทาให้คนเมืองคุณภาพอากาศที่ดีในการดารงชีวิต
3.2 ผังเมืองยะลากับการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย
ผังเมืองที่ดีจะทาให้สามารถรับมือ ป้องกันภัยพิบัติได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย
อุทกภัย และวาตภัย การวางผังเมืองที่ดีของเมืองยะลาที่มีลักษณะเป็นใยแมงมุม และตารางหมากรุก
โดยถนนทุกสายสามารถเชื่อมต่อกัน ไม่มีซอยตัน และพื้นที่ถนนมีความกว้าง รถขนาดใหญ่สามารถ
สัญจรได้ ทาให้เมื่อมีอัคคีภัยหรือเหตุการณ์ต่างๆ เจ้าหน้าบรรเทาสารณภัยสามารถเข้าไปยังจุดเกิดเหตุ
ได้ง่าย และรวดเร็วอีกด้วย นอกจากนี้ปัญหาที่เมืองยะลาประสบเป็นประจาทุกปีคือ อุทกภัย การที่เมือง
ยะลามีสวนศรีเมือง อันเป็นที่ตั้งคันกั้นน้าริมแม่น้าปัตตานียาวกว่า 2 กิโลเมตร และการพัฒนาบึงแบ
เมาะ ให้เป็นพื้นที่แก้มลิงและขนาดใหญ่ของเมืองยะลา โดยมีการขุดลอกให้บึงลึก ทาให้สามารถรับน้า
ในช่วงฤดูฝนจากแม่น้าปัตตานีได้มากขึ้น และพื้นที่ของบึงยังมีการพัฒนาเป็นที่สวนสาธารณะขนาดใหญ่
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
17
อีกด้วย ซึ่งบึงแบเมาะได้ช่วยบรรเทาผลกระทบจากอุทกที่ท่วมเมืองยะลาได้อย่างดี โดยเฉพาะน้าท่วม
ใหญ่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปลายปี พ.ศ. 2557 ที่เมืองยะลาท่วมเฉพาะบางพื้นที่ในเขตตลาด
เก่าเท่านั้น หากไม่มีบึงนี้พื้นที่เมืองยะลาโดยเฉพาะเขตตลาดเก่าจะได้รับความเสียหายอย่างมาก
ทั้งนี้เทศบาลนครยะลาได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการประกวดการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
3 ปีติดต่อกัน 2540, 2541, 2542 ซึ่งจะเห็นได้ว่าการวางผังเมืองทีดีไม่เพียงแค่ความสวยงามของเมือง
เท่านั้น แต่ยังสามารถป้องกันภัยพิบัติอันจะเกิดขึ้นกับเมืองอีกด้วย
3.3 ผังเมืองกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ท่านผู้อ่านคงจะมีคาถามในใจว่าผังเมืองมีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
หรือ ในสภาวะความไม่สงบและการก่อเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดโซนนิ่ง
หรือประเภทการใช้ที่ดินในอดีตของเมืองยะลา ที่รวมเอาการใช้ที่ดินประเภทเดียวกันไว้เข้าด้วยกัน ทา
ให้ปัจจุบันเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองสามารถวางแผนนโยบายป้องกันเขตเศรษฐกิจที่สาคัญของเมืองได้ง่าย
กว่าเมืองอื่นๆในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กล่าวคือ เจ้าหน้าที่สามารถตั้งด่านตรวจเพื่อตรวจค้น
ยานพาหนะ และผู้คนที่สัญจร และเข้าออกพื้นที่เขตเศรษฐกิจของเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ลด
เหตุก่อความไม่สงบในบริเวณเขตเศรษฐกิจ3
(CBD) ของเมืองได้ ซึ่งส่งผลดีต่อการสร้างความเชื่อมั่น
ของผู้ประกอบการ นักธุรกิจ และประชาชนที่เข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว อีกทั้งยังลดความเสียหายทาง
เศรษฐกิจต่อการก่อเหตุความไม่สงบได้เป็นมูลค่ามหาศาล
จากตัวอย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ทาให้เห็นว่าการวางผังเมือง มิได้มีประโยชน์ในทาง
กายภาพที่สามารถประเมินได้ด้วยสายตาเท่านั้น แต่การวางผังเมืองที่ดีเฉกเช่นเมืองยะลายังมีประโยชน์
ต่อคนเมืองยะลาทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างคาดไม่ถึงอีกด้วย
4. เมืองยะลาที่เป็นอยู่และการเติบโตในอนาคต
เมืองยะลา ถือว่าเป็นเมืองที่มีลาดับศักย์สาคัญที่สุดในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเป็น
ที่ตั้งของศูนย์ราชการสาคัญๆ ไม่ว่าจะเป็น ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาขนาดใหญ่ ทาให้มีประชากรแฝง และ
3
เขตเศรษฐกิจของเมือง (Central Business District ) หรือเรียกสั้นว่า CBD เป็นเขตที่ตั้งของร้านค้า ห้างร้าน
สานักงาน บริษัทต่างๆของเมืองนั้น โดยเมืองหนึ่งๆอาจมีหนึ่งหรือหลาย CBD ก็ได้
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
18
ผู้คน เข้ามายังเมืองจานวนมาก ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาในอนาคต โดยปัญหาที่เมืองยะลา
ประสบในปัจจุบันได้แก่ ปัญหาการจราจรติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วน เนื่องจากการจัดประเภทการใช้ที่ดินที่
เหมือนกันอยู่ที่เดียวกัน ทั้งนี้ในเขตเมืองยะลามีถนนสองสายด้วยกันที่ประสบปัญหาการจราจร ได้แก่
ถนนเทศบาล 3 ถนนเทศบาลหนึ่ง ถนนผังเมืองสาม อันเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาต่างๆ อาทิ
โรงเรียนอนุบาลยะลา โรงเรียนเทศบาล 4 โรงเรียนผดุงประชาพณิชยการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
สถาบันการพลศึกษา ฯลฯ และบริเวณชุมชนตลาดเก่า ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาขนาด
ใหญ่
นอกจากนี้การขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทาง (Urban Sprawl) ของเมืองยะลาที่ขยายตัว
ออกไปนอกเขตเมืองตามรัฐศาสตร์ (Political boundary) ไปยังตาบลใกล้เคียง ซึ่งในทางภูมิศาสตร์ถือว่า
เป็นเมืองเดียวกัน4
โดยพื้นที่ดังกล่าวเป็นบริเวณชานเมือง (Suburb) ของเมืองยะลา ปัจจุบันพื้นที่ดัง
กล่าวคือ เทศบาลเมืองสะเตงนอก การที่พื้นที่ของเมืองไม่ได้อยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน ทาให้มีความยุ่งยาก
ในการจัดการ วางแผนนโยบายต่างๆอันเนื่องมาจากข้อจากัดของกฎหมาย ถึงแม้ว่าตามข้อบังคับผัง
เมืองรวมยะลาจะเป็นพื้นที่เดียวกันก็ตาม โดยความแตกต่างของเทศบาลนครยะลา และเทศบาลเมืองสะ
เตงนอกสามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน เช่น ระดับการพัฒนาสาธารณูปโภค ถนน ผังเมือง สภาพความ
เป็นเมือง บ้านเรือน หรือแม้กระทั้งสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคม ของประชากร ดังนั้นการขยายตัวของ
เมืองยะลาจึงเป็นความท้าทายในอนาคตที่เมืองขยายตัวออกไปนอกเขตอานาจเทศบาล ซึ่งจะส่งผลต่อ
การจัดการปัญหาในหลายๆด้านของเมืองอีกด้วย
การจัดรูปที่ดินก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเมืองยะลา เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต
ปัจจุบันได้มีการจัดรูปที่ดินพื้นที่ว่างเปล่า เป็นโครงการนาร่องจังหวัดยะลา ซึ่งเป็นการนาเสนอการจัดรูป
แปลงที่ดินใหม่ต่อเจ้าของที่ดิน เป็นแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยวิธีการแบบพื้นที่ (Area Replotting
Method ) สานักจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ กรมโยธาธิการและผังเมือง ร่วมกับเทศบาลนครยะลา ได้
จัดรูปที่ดินที่ตั้งอยู่ระหว่างสวนสาธารณะสวนขวัญเมืองและถนนสิโรรส ประมาณ 330 ไร่ บริเวณสวน
ขวัญเมืองและถนนสิโรรส จานวนแปลงที่ดินในโครงการ 242 แปลง เจ้าของที่ดิน 98 ราย เพื่อรองรับ
การเจริญเติบโตของเมืองในอนาคต และสามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเมืองในบริเวณดังกล่าวอีก
ด้วย
4
ในทางภูมิศาสตร์เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า Under-bounded city ซึ่งเมืองในแง่ทางภูมิศาสตร์โตกว่าเมืองใน
แง่กฎหมาย
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
19
ภาพที่ 9 แสดงพื้นที่การจัดรูปที่ดิน
ที่มา : http://www.dpt.go.th/yala/main/land_readjustment.html
ภาพที่ 10 แสดงภาพถ่ายทางอากาศพื้นที่จัดรูปที่ดิน
ที่มา : http://www.dpt.go.th/yala/main/land_readjustment.html
ทั้งนี้หากศึกษาถึงความสัมพันธ์ของเมืองยะลากับเมืองใกล้เคียง พบว่าเมืองยะลายังมีปริมณฑล
รอบๆอีก 5 แห่งที่อยู่ในอาเภอเมือง ได้แก่ เมืองลาใหม่ เมืองสะเตงนอก เมืองบุดี เมืองยุโป เมืองท่าสาป
ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมืองต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้เกิดจากการขยายตัวของเมืองยะลา ยกเว้นเมืองสะ
เตงนอก ซึ่งจะเห็นได้ว่าการขยายตัวของเมืองยะลาไม่ได้ขยายตัวแผ่ออกไป แต่เป็นการขยายตัวแบบมี
แกนกลางเมือง โดยเมืองยะลาเป็นศูนย์กลางของเมืองเหล่านั้น
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
20
ภาพที่ 11 แสดงเมืองยะลาและเมืองบริวาร
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
21
5. บทสรุป
การวางแผนผังเมืองนั้นถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเมืองในอนาคต เมืองยะลาถือ
กาเนิดด้วยวิสัยทัศน์อันก้าวไกลของพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ที่ได้ทาการจัดประเภทการใช้
ที่ดิน และวางผังเมืองยะลาให้สวยงาม ตลอดจนการพัฒนาสานต่อให้เป็นเมืองในสวนนั้นเป็นแนวคิดที่
ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดการสร้างอุทยานนคร มีสวนรอบเมือง มีต้นไม้ใหญ่สองฝากฝั่งถนน
ช่องทางจักรยาน ตลอดจนพื้นที่นันทนาการที่ทั่วถึงแก่ชาวเมือง ปัจจุบันผังเมืองงยะลามิได้มีแค่บทบาท
แค่สวยงามเท่านั้น แต่ยังมีบทบาทในด้านต่างๆ อาทิ การสร้างเสริมสุขภาวะของคนเมือง การป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มิใช้แค่เพียงใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ผังเมืองที่มีอยู่แล้วในอดีตเท่านั้น เมืองยะลายังก้าวต่อไปข้างหน้า โดยการจัดรูปที่ดินเพื่อรองรับการ
ขยายตัวของเมืองในอนาคตอีกด้วย
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
22
บรรณานุกรม
กรมโยธาธิการและผังเมือง. คู่มือการวางและจัดทาผังเมือง.พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2552
นิพันธ์ วิเชียรน้อย. การผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในประเทศไทย. ม.ป.ท: วารสารกรมโยธาธิการ
และผังเมือง, ม.ป.ป
พระราชกฤษฎีกา เล่มที่ 112 ตอน 40 ก จัดตั้งเทศบาลนครยะลา พ.ศ. 2538 วันที่ 23 กันยายน พ.ศ.
2538
ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การผังเมือง
ของประเทศไทย : ปัญหาและการแก้ไข. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://www.cuurp.org/B_resource/B_data/articles/2553_01-URP_NT140410%20x.pdf.
(วันที่สืบค้น 20 มีนาคม 2558)
ภูชัย สัปปพันธ์,การศึกษาองค์ประกอบความน่าอยู่ของเมือง : กรณีศึกษาเมืองยะลา. วิทยานิพนธ์การ
วางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
มาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย และคณะ. ภูมิศาสตร์มนุษย์ (HUMAN GEOGRAPHY). พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพมหานคร, 2557.
สานักจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่. การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ในประเทศไทย. ม.ป.ท . ม.ป.ป
สานักงานจังหวัดยะลา. รายงานประจาปีจังหวัดยะลา 2554, มปท , 2555
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยะลา.รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด
ยะลา. ม.ป.ท, 2556
สิรีธร ธรรมเขต.บทบาทและผลกระทบจากบทบาทของวัดคูหาภิมุข อาเภอเมืองจังหวัดยะลา .
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2547

More Related Content

What's hot

การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีน
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีนท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีน
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีนnarunchara ounnankad
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์leemeanxun
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดSiriluk Singka
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจพัน พัน
 

What's hot (20)

การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีน
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีนท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีน
ท่องเที่ยวกับ 9 มรดกโลกของประเทศจีน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา

  • 2. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 1 ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา บทนา “ใต้สุดแดนสยาม เมืองงามชายแดน” ถึงแม้ว่าจะเป็นวลีสั้นๆ แต่คาขวัญประจาจังหวัดยะลา ก็บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ได้เป็นอย่างดี หนึ่งในความงามของจังหวัดยะลาเมื่อกล่าวถึง ประการ แรกที่ใครหลายๆคนคานึงถึง คงไม่พ้นเมืองที่มีผังสวยที่สุดของประเทศไทยเป็นแน่แท้ ทั้งนี้นอกจาก ความสวยงามแล้วนั้นการวางผังเมืองที่ดียังส่งผลต่อ การวางนโยบายพัฒนาและบริหารเมือง ดังนั้นการ วางแผนภาคและเมืองจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะตัวแปรหนึ่งที่มีบทบาทในการกาหนดทิศ ทางการพัฒนาในอนาคต อันจะส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมเมือง ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอีก ด้วย ครั้นอดีตก่อนการย้ายเมืองยะลามา ณ บ้านนิบง อันเป็นที่ตั้งของเมืองยะลาในปัจจุบัน ได้มีการ ย้ายที่ตั้งทั้งสิ้น 4 ครั้ง (สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยะลา, 2556:4) ได้แก่ ครั้งที่ 1 ตั้งเมืองอยู่ที่ตาบลบ้านยะลา ครั้งที่ 2 ได้ย้ายเมืองไปตั้งที่ตาบลท่าสาป (ฝั่งซ้ายของแม่น้าปัตตานี) ครั้งที่ 3 ได้ย้ายไปตั้งที่เมืองสะเตง (ทางฝั่งขวาของแม่น้าปัตตานี ) ครั้งที่ 4 ได้ย้ายไปตั้งที่บ้านนิบง ในการย้ายที่ตั้งครั้งสุดท้าย พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ร่วมกับเพื่อนข้าราชการวางผังเมือง ยะลา โดยได้รับการเสนอแนะจากแผนกผังเมือง กรมโยธาเทศบาล มีการตัดถนนสายต่างๆ วางผังเป็น รูปใย เเมงมุมมีวงเวียนซ้อนกันเป็นชั้นๆ ชั้นในสุดเป็นหลักเมือง รอบวงเวียนชั้นในเป็นที่ตั้งของสถานที่ ราชการ ถัดออกไปเป็นวงเวียน 2 คือ บ้านพักข้อราชการแผนกต่างๆ วงเวียน 3 เป็น โรงพยาลบาล สถานศึกษา และบ้านเอกชน (ภูชัย สัปปพันธ์, 2538: 79) เมืองยะลาได้เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครยะลา ตามพระราชกฤษฎีกา เล่มที่ 112 ตอน 40 ก จัดตั้งเทศบาล นครยะลา พ.ศ. 2538 วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2538 โดย “หมายเหตุในการประกาศใช้พระราช กฤษฎีกาฉบับนี้คือ เนื่องจากเทศบาลเมืองยะลา จังหวัดยะลา มีสภาพความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมเพิ่มขึ้น สมควรเปลี่ยนฐานะเป็นเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา” พร้อมกับเทศบาลนครอีก
  • 3. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 2 หลายแห่งของประเทศ อาทิ เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครอุดรธานี และ เทศบาลนครขอนแก่น เป็นต้น ภาพที่ 1 แผนที่แสดงที่ตั้งของเมืองยะลาในอดีตจนถึงปัจจุบัน
  • 4. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 3 ในทางภูมิศาสตร์เมือง นิยมแบ่งการศึกษาเมืองเป็น 2 แนวทางหลัก (มาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย และ คณะ:2557) ได้แก่ การศึกษาระบบเมือง (City System) เป็นการศึกษาในฐานะสมาชิกหน่วย หนึ่งของระบบที่ใหญ่กว่า กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการศึกษาบทบาทเมืองในระดับต่างๆ เช่น ความสาคัญของเมืองซึ่งมีบทบาทหรือในฐานะเป็นสมาชิกของภูมิภาค การศึกษาเมืองในฐานะระบบ (City as a system) เป็นการศึกษาและ วิเคราะห์ราย ละเอียดภายในเมือง หรือโครงสร้างภายในเมืองหนึ่งๆ เช่น รูปแบบและ ประเภทการใช้ที่ดินแบบต่างๆ ราคาหรือมูลค่าที่ดิน กิจกรรมการเคลื่อนไหวภายใน เมืองนั้นๆ ในบทความนี้จะศึกษาเมืองยะลาในฐานะระบบ นอกจากนี้การเป็นเมืองลาดับศักย์สาคัญที่สุด ของภูมิภาคอย่างยะลา จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่เมืองจะต้องมีนโยบายและแผนการพัฒนา การวางผัง เมืองจึงเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะส่งเสริมและพัฒนาเมืองให้มีความเจริญก้าวหน้า และเตรียมแผนรับมือ ปัญหาต่างๆอันเนื่องมาจากการขยายตัวของเมืองในอนาคตได้เป็นอย่างดี 2. แนวคิดและหลักการวางผังเมือง การจัดรูปแบบและการใช้ที่ดินภายในเมืองยะลา การวางผังเมืองในประเทศไทยเริ่มต้นตั้งแต่สมัยโบราณกาล โดยในแต่ยุคสมัยจะมีการวางผัง รูปร่างและ ลักษณะที่โดดเด่นเฉพาะตัว กล่าวคือ ชุมชนโบราณทวารวดีมีลักษณะเป็นวงรี ชุมชนโบราณที่ได้รับ อิทธิพลขอมมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม การสร้างบ้านแปลนเมืองมักจะได้รับอิทธิพลคติความเชื่อของศาสนา โดยเฉพาะ ศาสนาฮินดู พราหมณ์ ประกอบเสมอ ประเทศไทยได้ริเริ่มการทาผังเมืองรวมครั้งแรกใน ปี พ.ศ 2500 โดยว่าจ้าง บริษัท Litchfield Whiting Bowne & Associates ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งผัง เมืองรวมฉบับนี้ได้ถูกประกาศใช้ในปี 2533 เรียกผังเมืองรวมนี้ว่า ผังนครหลวง 2533 หรือเรียกอีกชื่อ หนึ่งว่า ผังลิทช์ฟิลด์ ครอบคลุม จังหวัดพระนคร ธนบุรี บางส่วนของจังหวัดนนทบุรี และสมุทรปราการ การจัดทาผังเมืองรวมปัจจุบันมีกรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทาผังเมืองรวมทั่ว ประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานครมีสานักผังเมือง ซึ่งรับผิดชอบจาผังเมืองโดยตรง กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ให้นิยาม การวางผังเมืองไว้ว่า
  • 5. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 4 การวางจัดทาและดาเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมือง เฉพาะในบริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อสร้างหรือพัฒนา เมืองหรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่ หรือแทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ได้รับความ เสียหายเพื่อให้มีหรือทาให้ดียิ่งขึ้นซึ่งสุขลักษณะความสะดวกสบายความเป็น ระเบียบ ความสวยงาม การให้ประโยชน์ในทรัพย์สินความปลอดภัยของ ประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริมการเศรษฐกิจสังคม และ สภาพแวดล้อม เพื่อดารงรักษาหรือบูรณะ สถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือ คุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดี หรือเพื่อ บารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทาง ธรรมชาติ 2.1 จุดเริ่มต้นของการวางผังเมืองยะลา การวางผังเมืองยะลานั้นเริ่มครั้นเมื่อพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ร่วมกับสหาย ข้าราชการ วางผังเมืองยะลาโดยได้รับการเสนอแนะจากแผนกผังเมือง กรมโยธาเทศบาล วางผังเมือง ยะลา โดยเรียกว่า ผังเค้าโครงเมืองยะลา ปี 85 โดยพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ทาการหา ศูนย์กลางของเมืองแล้วจึงปักปลักก้อนใหญ่และมีก้อนหินไว้เป็นเครื่องหมาย และได้วางแผนผังเมืองเป็น วงเวียนรอบศูนย์กลางเมือง ทั้งสิ้น 3 วง โดยเตรียมที่ดินในบริเวณนี้ไว้เป็นสถานที่ราชการ มีการสร้าง ถนนเข้ามายังศูนย์กลางเมือง และตัดถนนสายต่างๆกว่าทั่วทั้งเมืองยะลา ดังที่เห็นในปัจจุบัน อาทิ ถนน พิพิธภักดี ซึ่งเป็นถนนคู่ มีช่องทางจักยาน และปลูกต้นประดู่ไว้ตามเกาะกลางถนน ถนนสุขยางค์ ถนนสิ โรรส และมีการตัดถนนสายย่อยๆเป็นรูปสี่เหลี่ยมหมากรุก ได้แก่ถนนยะลา ถนนไชยจรัส ถนนรัฐกิจ ถนนประจิน ถนนพังงา และถนนรวมมิตร เป็นต้น พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ได้ทาการจัดประเภทการใช้ที่ดินที่มีความคล้ายคลึงกัน ประเภทเดียวกันในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ บริเวณวงในสุดเป็นสถานที่ราชการต่างๆ เช่น ศาลากลาง จังหวัด สานักงานเกษตรจังหวัด สานักงานที่ดิน สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และสานักงาน สถิติจังหวัด วงเวียนที่สอง คือ บ้านพักข้าราช และวงเวียนที่สาม ซึ่งเป็นวงเวียนสุดท้ายเป็นที่ตั้งของ โรงเรียน สถาบันการศึกษา โรงพยาบาล และที่อยู่อาศัยของประชาชน
  • 6. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 5 การวางแผนผังเมืองนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในฐานะเครื่องมือในการวางแผนการวางนโยบาย พัฒนาและบริหารเมือง ดังนั้นการวางแผนผังเมืองจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เป็นเครื่องมือหนึ่งใน ฐานะกฎหมาย ที่มีบทบาทในการกาหนดประเภทการที่ดินและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ ซึ่งเป็นกาหนด ทิศทางการพัฒนาในอนาคตอีกด้วย หากไม่มีการวางผังเมืองก็จะทาให้เกิดปัญหาต่างๆ กับเมือง ไม่ว่า จะเป็นปัญหาการเจริญเติบโตอย่างไร้ทิศทางของเมือง ปัญหาชุมชมแออัด ปัญหาทางด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรม ปัญหาการป้องกันภัยธรรมชาติ และยังยากต่อการวางแผนนโยบายการพัฒนาต่อยอด เมืองในอนาคตอีกด้วย การวางผังเมืองก่อนที่จะมีการเป็นเมืองจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง ยะลาเป็นเพียง ไม่กี่เมืองใหญ่ในประเทศไทยที่มีการวางผังเมือง มีการวางแผน การกาหนดพื้นที่การใช้ที่ดินในเขตเมือง และการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆภายในเมือง จึงทาให้เมืองยะลาเป็นเมืองที่สวยงาม และง่ายต่อการวางแผน นโยบายการพัฒนาเมือง ในการวางผังเมืองนั้นจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการวางผัง ซึ่งกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ กาหนดขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้บริหารท้องถิ่นทราบถึงเหตุผลและความจาเป็นในการวางและ ดาเนินการทางผังเมือง นอกจากนี้เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถวางและดาเนินการทางผัง เมืองอย่างมีมาตรฐาน อีกทั้งเพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมในการวางและดาเนินการ ทางผังเมืองได้อย่างถูกต้อง (กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น,มปป) ผลของการการวางผังเมืองจะ เรียกว่า “ผังเมืองรวม” ผังเมืองรวม (Comprehensive Map) แผนผัง นโยบายและโครงการรวมทั้งมาตรการควบคุม โดยทั่วไป เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่งการสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและ สภาพแวดล้อมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง โดยจะมีการจัดทาผังเมืองรวมทุก 5 ปี ซึ่งทุก เมืองในประเทศไทยจะต้องมีผังเมืองรวมทั้งสิ้น (กรมโยธาธิการและผังเมือง,มปป) โดยมีการแบ่ง ประเภทการใช้ที่ดินเป็นสีต่างๆ (นิพันธ์ วิเชียรน้อย,มปป) อาทิ สีเหลือง เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย สีส้ม เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง สีน้าตาล เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
  • 7. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 6 สีแดง เป็นประเภทการใช้ที่ดินพาณิชยกรรม สีม่วง เป็นประเภทการใช้ที่ดินอุตสาหกรรมและคลังสินค้า สีขาวมีกรอบและเส้นทะเเยงมุมสีเขียว เป็นประเภทการใช้ที่ดินอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม สีเขียว เป็นประเภทการใช้ที่ดินเกษตรกรรม สีน้าตาลอ่อน เป็นประเภทการใช้ที่ดินอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย สีน้าเงิน เป็นประเภทการใช้ที่ดินสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ภาพที่ 2 แสดงสีการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ
  • 9. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 8 2.2 รูปแบบและการใช้ที่ดินในเมืองยะลา การใช้ที่ดินในเมืองยะลา สามารถจาแนกการใช้ที่ดินออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ 2.2.1 พื้นที่สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ พื้นที่สถาบันราชการของเมืองยะลานั้นจะวางอยู่บริเวณศาลหลักเมือง และวง เวียนหลักทั้งสามวงเวียน และถนนสิโรรส
  • 10. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 9 ภาพที่ 3 ผังเมืองรวมยะลาแสดงพื้นที่สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 2.2.2 พื้นที่โล่งและนันทนาการ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เมืองยะลานั้นได้รับสมญานามว่าเมืองแห่งสวน ซึ่งทั่วทั้งเมืองยะลา ประกอบด้วยสวนและนันทนาการต่างๆดังนี้ - สวนขวัญเมือง (พรุบาโกย) สร้างบนพื้นที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 207 ไร่ ประกอบด้วยสวน สนามกีฬา สนามแข่งขันนกเขาชวาเสียง ซึ่งเป็นสนามมาตรฐานที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และชายหาดจาลองอีกด้วย - สวนศรีเมือง เป็นสวนที่สร้างเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์และคันกั้นน้าริมแม่น้าปัตตานี เริ่มต้นจาก บริเวณตลาดเมืองใหม่ถึงบริเวณสะพานข้ามทางรถไฟ เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร สร้างแล้ว เสร็จปี พ.ศ. 2546 ประกอบไปด้วยพื้นที่ ลานสาหรับจัดกิจกรรมมีน้าพุ ลานนั่งชมการแสดง จุดสาหรับ จาหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม สนามเด็กเล่น ลานจอดรถบริเวณริมน้า จุดนี้มีบันไดลงท่าน้าเพื่อจัดกิจกรรม ต่าง ๆ เช่น ลอยกระทง สงกรานต์ ในส่วนของพื้นที่ริมน้าตลอดระยะทาง 2 กิโลเมตร มีการปลูกไม้ ดอกไม้ประดับ และมีเก้าอี้สาหรับพักผ่อนชมวิว มีจุดจาหน่ายอาหาร เครื่องดื่มอีกด้วย - สวนสาธารณะบ้านร่ม แหล่งพักผ่อนหย่อนใจริมน้าบ้านสะเตง เป็นอีกหนึ่งสวนสาธารณะใจกลาง เมืองของเทศบาลนครยะลา ประกอบด้วยต้นไม้นานาพรรณและศาลาริมน้ารูปทรงที่มีเอกลักษณ์ของ พื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ - สวนสาธารณะสนามช้างเผือก (สนามโรงพิธีช้างเผือก) มีพื้นที่ 80 ไร่ เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีน้อมเกล้าฯ ถวายช้างเผือก "พระเศวตสุรคชาธาร" แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2511 ภายในสวนสาธารณะมีศาลากลางน้า รูปปั้นสัตว์ต่าง ๆ และสนามกีฬาในร่มขนาดใหญ่ที่ใช้จัดกิจกรรม ต่างๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ
  • 11. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 10 - สวนมิ่งเมือง สวนกิจกรรมเพื่อเยาวชนประกอบไปด้วยสวนย่อยๆ 4 สวน ได้แก่ สวนมิ่ง เมือง 1-4 หรือ บาโร๊ะบารู 1-4 ซึ่งเทศบาลได้ดาเนินการก่อสร้างถนน เลี่ยงเมือง (แบเมาะพัฒนา) โดย เริ่มจากทางเข้าเมืองด้านอาเภอยะรัง สิ้นสุดที่ถนนสี่เลนใกล้สะพานเฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อเชื่อมกับถนน ผังเมือง 4 ซึ่งสวนสาธารณะมิ่งเมืองมีความยาวประมาณ 2.5 กิโลเมตร โดยสวนมิ่งเมือง 4 เป็นสวนที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด ภายในสวนประกอบด้วย สนามฟุตบอลหญ้าเทียม และสนามเด็กเล่น - ศูนย์เยาวชนยะลา ประกอบไปด้วยสนามขนาดใหญ่เพื่อใช้รองรับการจัดงานสาคัญๆระดับจังหวัด ซึ่งในยามปกติชาวเมืองยะลาจะใช้เล่นฟุตบอล ออกกาลังกาย และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฟิตเนสของ เทศบาลอีกด้วย นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของ อุทยานการเรียนรู้ยะลา (TK PARK YALA) ซึ่งเป็นอุทยาน การเรียนรู้แห่งแรกในภูมิภาค และเป็นแห่งที่สองของประเทศ หลังจากกรุงเทพมหานคร - สนามกีฬาชุมชนจารู เป็นที่ตั้งของสนามฟุตบอลหญ้าเทียมขนาดมาตรฐาน และมีสเตเดียมอีกด้วย ถือว่าเป็นสนาม กีฬาที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขันกีฬาทั้งในระดับจังหวัด และภูมิภาค นอกจากนี้สนามกีฬาแห่งนี้ ยังเป็นสนามกีฬาหญ้าเทียมแห่งเดียวในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้อีกด้วย - บึงแบเมาะ บึงแบเมาะเป็นพื้นที่ชุ่มน้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บริเวณชุมชนตลาดเก่า ติดกับเขาตูม และค่ายสิรินธร บึงแบเมาะถือว่าเป็นบึงที่มีความสาคัญของเมือง ในฐานะเป็นพื้นที่แก้มลิงรับน้าขนาด ใหญ่ และนอกจากนี้ทางเทศบาลยังมีนโยบายพัฒนาบึงให้เป็นสนานที่พักผ่อนหย่อนใจ และนันทนาการ อีกด้วย
  • 13. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 12 2.2.3 พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่พาณิชยกรรมของเมืองยะลา ตั้งรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน โดยมีถนนสายสาคัญๆ ของเมืองล้อมรอบ ได้แก่ ถนนสิโรรส ถนนพิพิธภักดี ถนนสุขยางค์ โดยชาวยะลามักเรียกพื้นที่พาณิชยก รรมว่า “สายกลาง” นอกจากนี้เมืองยะลายังมีตลาดขนาดใหญ่อีกหลายแห่ง ได้แก่ ตลาดเมืองใหม่ ตลาด สดผังเมืองสี่ ตลาดนัดเสรี ตลาดเช้า และตลาดหลังสถานีรถไฟบริเวณถนนวิฑูรอุทิศ ย่านตลาดเก่า กระจายอยู่ทั่วทุกมุมเมือง ภาพที่ 5 แสดงพื้นที่พาณิชยกรรมในเขตเมืองยะลา 2.2.4 พื้นที่ที่อยู่อาศัย พื้นที่ที่อยู่อาศัยของเมืองยะลานั้น เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของเมือง ซึ่งประชากรจะอาศัยอยู่ หนาแน่นบริเวณเขตพาณิชยกรรม และลดลงเรื่อยๆ จนกระทั้งกระทั้งเข้าพื้นที่เมืองสะเตงนอก โดยพื้นที่ ประชากรหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) จะล้อมรอบพื้นที่ที่มีประชากรหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) ดังภาพ
  • 14. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 13 ภาพที่ 14 แสดงพื้นที่อยู่อาศัยในเขตเมืองยะลา 2.2.5 พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เกษตรกรรมของเมืองอยู่บริเวณขอบนอกของเมือง โดยพืชที่นิยมปลูกข้าวโพด ยางพารา เป็นต้น 2.2.6 พื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้า พื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้าของเมืองยะลาตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ตลาดเก่า และถนน เทศบาล 1 โดยพื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้านั้นพบได้น้อยมากในเขตเมืองยะลา ดังภาพ ภาพที่ 6 แสดงพื้นที่อุตสาหกรรมและคลังสินค้า การวางแผนผังเมืองของยะลา ซึ่งถือว่าเป็นการวางแผนผังเมืองยุคแรกๆของประเทศไทยนั้น เป็นที่น่าสังเกตว่า พระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ไม่ได้เน้นเพียงแค่รูปแบบที่มีความสวยงามของ ผังเมืองเท่านั้น แต่ยังได้จัดสรร จัดประเภทการใช้ที่ดินเข้าเป็นหมวดหมู่เดียวกัน อีกทั้งยังมีการสร้าง ช่องทางจักรยาน และทางเดินอีกด้วย โดยการจัดการวางแผนผังเมืองตั้งแต่ก่อนการเป็นเมืองทาให้เมือง ยะลาสามารถวางแผนการพัฒนาต่างๆได้อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
  • 15. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 14 3. การวิเคราะห์ผังเมืองยะลา 3.1 ผังเมืองยะลากับพื้นที่สวนสาธารณะ นันทนาการ และการสร้างเสริมสุขภาวะของคน เมือง พื้นที่นันทนาการและสวนสาธารณนั้นเป็นส่วนที่สาคัญอย่างยิ่งของเมือง เนื่องจากเป็นที่ ที่ให้ชาวเมืองได้พักผ่อนหย่อนใจ หลีกหนีจากวิถีชิวิตที่วุ่นวาย และเหน็ดเหนื่อยจากการทางานแล้วนั้น พื้นที่สวนและนันทนาการยังมีความสาคัญในหลายมิติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาวะของ ชาวเมืองอีกด้วย การสร้างเมืองในสวนนั้นเป็นแนวคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดการสร้าง อุทยานนครหรือ Garden City Concept ผู้ริเริ่มความคิดนี้คือ Ebenezer Howard1 ในปี 1898 โดยเขา ได้เขียนหนังสือชื่อ Tomorrow: A Peaceful Path to Social Reform แนวคิดของ Howard เป็นการให้ ความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเมือง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเอาชนะความแออัดและการ เพิ่มขึ้นของประชากรอันเนื่องมาจากไม่สามารถควบคุมการเติบโตตั้งแต่สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน ประเทศอังกฤษ โดยเขามีความคิดที่จะพัฒนาสภาพแวดล้อมของเมืองให้ดีดังเช่นสิ่งแวดล้อมในชนบท โดยได้สร้างแผนภาพแม่เหล็กทั้งสาม ได้แก่ ชนบท เมือง และชนบทและเมือง ซึ่งแนวคิดของ Howard เป็นการให้ความสาคัญกับพื้นที่สีเขียวและพื้นที่เกษตรกรรม ที่อยู่ในเมืองและรอบๆศูนย์กลางเมือง (Centre city) 1 Ebenezer Howard เป็นนักวางผังเมืองชาวอังกฤษ มีชีวิตอยู่ใน 29 มกราคม 1850 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1928
  • 16. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 15 ภาพที่ 7 ผังแนวคิดอุทยานนคร ที่มา http://www.britannica.com/EBchecked/topic/225784/garden-city ถึงแม้ว่าแนวคิดอุทยานนครจะไม่ได้เป็นสิ่งใหม่ในการวางแผนการพัฒนาเมืองของโลก แต่ทว่าแนวคิดดังกล่าวนั้นถือเป็นเรื่องที่น่าทึ่งมากสาหรับประเทศไทย เนื่องจากเมืองที่ถือกาเนิดร่วม สมัยกับเมืองยะลา มีเพียงน้อยเมืองมากที่ให้ความสาคัญกับสวน ซึ่งเราต้องยกย่องท่านผู้วางผังเมือง ยะลาว่าเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันยาวไกลในการพัฒนาเมือง ดังที่กล่าวมาข้างต้น ถึงการใช้ที่ดินในเมืองยะลาว่าเป็นอย่างไร จะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง อุทยานนครนั้นสามารถนามาอธิบายเมืองยะลาได้เป็นอย่างดี ยะลาประกอบด้วยต้นประดู่ขนาดใหญ่ที่ ปลูกบนเกาะกลางถนนสายหลักของเมือง สวนสาธารณะ และสวนหย่อมจานวนมากทั่วทั้งเมืองอีกด้วย กล่าวคือ มีต้นประดู่สองข้างถนนถนนพิพิธภักดี ในยามใดที่ประดู่ผลิดอก ถนนสายนี้ก็จะอร่าม เหลืองไป ทั้งสาย ซึ่งเป็นภาพที่ประดับใจของชาวเมืองและผู้มาเยือนอย่างยิ่ง พรรณไม้นานาชนิดที่ปลูก เช่น มะขาม ต้นศรีตรัง ต้นกัลปพฤกษ์ ต้นเหลืองอินเดีย และต้นพญาเสือโคร่ง ประดับในเขตเมืองทั้งถนนสิโร รส สุขยางค์ และถนนสายหลักต่างๆทั่วทั้งเมืองยะลา อีกทั้งสวนสาธารณะอีก 6 แห่ง ได้แก่ สวน ขวัญเมือง สวนศรีเมือง สวนสาธารณะบ้านร่ม สวนมิ่งเมือง ศูนย์เยาวชนยะลา และสนามกีฬาชุมชนจา รู ครอบคลุมทั่วทั้งเมืองยะลา ทาให้ชาวเมืองสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่แออัด โดย Webster (1965:131) ได้กาหนดเกณฑ์สวนสาธารณะต่อจานวนประชากรว่า ในเมืองใดๆควรมีขนาดของพื้นที่ของ สวนสาธารณะ 5 ไร่ขึ้นไป และมีอัตราส่วนประชากร 500 คน ต่อ พื้นที่ 1 ไร่ ซึ่งเมืองยะลานั้นมีขนาด ของพื้นที่สวนสาธารณะและพักผ่อนหย่อนใจประมาณ 300 ไร่ โดยมีอัตราส่วนของพื้นที่ต่อจานวน ประชากร 205.21 : 1 ไร่2 ซึ่งถือว่าเป็นอัตราส่วนที่สูงมาก นอกจากสวนแล้วนั้น เมืองยะลายังมีช่องทางจักรยานขนาดใหญ่ที่แยกออกจากช่องทางรถยนต์ และจักรยานยนต์ โดยมีเกาะกลางถนนกั้น ช่องทางจักยานนี้นั้นเป็นช่องทางที่ถูกออกแบบตั้งแต่ริเริ่ม การสร้างเมือง ซึ่งเป็นการเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้จักรยาน โดยเมืองยะลามีชมรมผู้ใช้จักรยาน ใน นาม “ชมรมจักรยานเทศบาลนครยะลา” อีกด้วย 2 อ้างอิงจากสถิติประชากร สารวจเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2556 และขนาดพื้นที่ของสวนสาธารณะคานวณจาก ข้อมูลจริงประกอบกับการวัดพื้นที่ในซอฟท์แวร์ ArcGIS
  • 17. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 16 ภาพที่ 8 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองยะลา ที่มา : http://www.pnylink.com/picpost/ยะลามุมสูง/ ความสาคัญของการวางผังเมืองโดยจัดให้มีพื้นที่สวนสาธารณะ ที่ให้ชาวเมืองได้พักผ่อนหย่อน ใจ ผ่อนคลายอิริยาบถ และออกกาลังกาย ทาให้คนเมืองมีสุขภาพกายและจิตที่ดีแล้วนั้น พื้นที่เหล่านี้ยัง มีประโยชน์ในทางอ้อมอีกจานวนมาก อาทิ เป็นสถานที่สร้างความสัมพันธ์อันดีของชาวเมือง เป็น สถานที่สร้างรายได้แก่พ่อค้า แม่ขาย อันทาให้เศรษฐกิจของเมืองคึกคักขึ้นแล้วนั้น สถานที่เหล่านี้ยังเป็น ปอดของเมือง ที่จะทาให้คนเมืองคุณภาพอากาศที่ดีในการดารงชีวิต 3.2 ผังเมืองยะลากับการป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ผังเมืองที่ดีจะทาให้สามารถรับมือ ป้องกันภัยพิบัติได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย อุทกภัย และวาตภัย การวางผังเมืองที่ดีของเมืองยะลาที่มีลักษณะเป็นใยแมงมุม และตารางหมากรุก โดยถนนทุกสายสามารถเชื่อมต่อกัน ไม่มีซอยตัน และพื้นที่ถนนมีความกว้าง รถขนาดใหญ่สามารถ สัญจรได้ ทาให้เมื่อมีอัคคีภัยหรือเหตุการณ์ต่างๆ เจ้าหน้าบรรเทาสารณภัยสามารถเข้าไปยังจุดเกิดเหตุ ได้ง่าย และรวดเร็วอีกด้วย นอกจากนี้ปัญหาที่เมืองยะลาประสบเป็นประจาทุกปีคือ อุทกภัย การที่เมือง ยะลามีสวนศรีเมือง อันเป็นที่ตั้งคันกั้นน้าริมแม่น้าปัตตานียาวกว่า 2 กิโลเมตร และการพัฒนาบึงแบ เมาะ ให้เป็นพื้นที่แก้มลิงและขนาดใหญ่ของเมืองยะลา โดยมีการขุดลอกให้บึงลึก ทาให้สามารถรับน้า ในช่วงฤดูฝนจากแม่น้าปัตตานีได้มากขึ้น และพื้นที่ของบึงยังมีการพัฒนาเป็นที่สวนสาธารณะขนาดใหญ่
  • 18. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 17 อีกด้วย ซึ่งบึงแบเมาะได้ช่วยบรรเทาผลกระทบจากอุทกที่ท่วมเมืองยะลาได้อย่างดี โดยเฉพาะน้าท่วม ใหญ่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในปลายปี พ.ศ. 2557 ที่เมืองยะลาท่วมเฉพาะบางพื้นที่ในเขตตลาด เก่าเท่านั้น หากไม่มีบึงนี้พื้นที่เมืองยะลาโดยเฉพาะเขตตลาดเก่าจะได้รับความเสียหายอย่างมาก ทั้งนี้เทศบาลนครยะลาได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการประกวดการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3 ปีติดต่อกัน 2540, 2541, 2542 ซึ่งจะเห็นได้ว่าการวางผังเมืองทีดีไม่เพียงแค่ความสวยงามของเมือง เท่านั้น แต่ยังสามารถป้องกันภัยพิบัติอันจะเกิดขึ้นกับเมืองอีกด้วย 3.3 ผังเมืองกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ท่านผู้อ่านคงจะมีคาถามในใจว่าผังเมืองมีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย หรือ ในสภาวะความไม่สงบและการก่อเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดโซนนิ่ง หรือประเภทการใช้ที่ดินในอดีตของเมืองยะลา ที่รวมเอาการใช้ที่ดินประเภทเดียวกันไว้เข้าด้วยกัน ทา ให้ปัจจุบันเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองสามารถวางแผนนโยบายป้องกันเขตเศรษฐกิจที่สาคัญของเมืองได้ง่าย กว่าเมืองอื่นๆในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กล่าวคือ เจ้าหน้าที่สามารถตั้งด่านตรวจเพื่อตรวจค้น ยานพาหนะ และผู้คนที่สัญจร และเข้าออกพื้นที่เขตเศรษฐกิจของเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ลด เหตุก่อความไม่สงบในบริเวณเขตเศรษฐกิจ3 (CBD) ของเมืองได้ ซึ่งส่งผลดีต่อการสร้างความเชื่อมั่น ของผู้ประกอบการ นักธุรกิจ และประชาชนที่เข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว อีกทั้งยังลดความเสียหายทาง เศรษฐกิจต่อการก่อเหตุความไม่สงบได้เป็นมูลค่ามหาศาล จากตัวอย่างที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ทาให้เห็นว่าการวางผังเมือง มิได้มีประโยชน์ในทาง กายภาพที่สามารถประเมินได้ด้วยสายตาเท่านั้น แต่การวางผังเมืองที่ดีเฉกเช่นเมืองยะลายังมีประโยชน์ ต่อคนเมืองยะลาทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างคาดไม่ถึงอีกด้วย 4. เมืองยะลาที่เป็นอยู่และการเติบโตในอนาคต เมืองยะลา ถือว่าเป็นเมืองที่มีลาดับศักย์สาคัญที่สุดในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเป็น ที่ตั้งของศูนย์ราชการสาคัญๆ ไม่ว่าจะเป็น ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาขนาดใหญ่ ทาให้มีประชากรแฝง และ 3 เขตเศรษฐกิจของเมือง (Central Business District ) หรือเรียกสั้นว่า CBD เป็นเขตที่ตั้งของร้านค้า ห้างร้าน สานักงาน บริษัทต่างๆของเมืองนั้น โดยเมืองหนึ่งๆอาจมีหนึ่งหรือหลาย CBD ก็ได้
  • 19. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 18 ผู้คน เข้ามายังเมืองจานวนมาก ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาในอนาคต โดยปัญหาที่เมืองยะลา ประสบในปัจจุบันได้แก่ ปัญหาการจราจรติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วน เนื่องจากการจัดประเภทการใช้ที่ดินที่ เหมือนกันอยู่ที่เดียวกัน ทั้งนี้ในเขตเมืองยะลามีถนนสองสายด้วยกันที่ประสบปัญหาการจราจร ได้แก่ ถนนเทศบาล 3 ถนนเทศบาลหนึ่ง ถนนผังเมืองสาม อันเป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาต่างๆ อาทิ โรงเรียนอนุบาลยะลา โรงเรียนเทศบาล 4 โรงเรียนผดุงประชาพณิชยการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา สถาบันการพลศึกษา ฯลฯ และบริเวณชุมชนตลาดเก่า ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาขนาด ใหญ่ นอกจากนี้การขยายตัวของเมืองอย่างไร้ทิศทาง (Urban Sprawl) ของเมืองยะลาที่ขยายตัว ออกไปนอกเขตเมืองตามรัฐศาสตร์ (Political boundary) ไปยังตาบลใกล้เคียง ซึ่งในทางภูมิศาสตร์ถือว่า เป็นเมืองเดียวกัน4 โดยพื้นที่ดังกล่าวเป็นบริเวณชานเมือง (Suburb) ของเมืองยะลา ปัจจุบันพื้นที่ดัง กล่าวคือ เทศบาลเมืองสะเตงนอก การที่พื้นที่ของเมืองไม่ได้อยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน ทาให้มีความยุ่งยาก ในการจัดการ วางแผนนโยบายต่างๆอันเนื่องมาจากข้อจากัดของกฎหมาย ถึงแม้ว่าตามข้อบังคับผัง เมืองรวมยะลาจะเป็นพื้นที่เดียวกันก็ตาม โดยความแตกต่างของเทศบาลนครยะลา และเทศบาลเมืองสะ เตงนอกสามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน เช่น ระดับการพัฒนาสาธารณูปโภค ถนน ผังเมือง สภาพความ เป็นเมือง บ้านเรือน หรือแม้กระทั้งสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคม ของประชากร ดังนั้นการขยายตัวของ เมืองยะลาจึงเป็นความท้าทายในอนาคตที่เมืองขยายตัวออกไปนอกเขตอานาจเทศบาล ซึ่งจะส่งผลต่อ การจัดการปัญหาในหลายๆด้านของเมืองอีกด้วย การจัดรูปที่ดินก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเมืองยะลา เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต ปัจจุบันได้มีการจัดรูปที่ดินพื้นที่ว่างเปล่า เป็นโครงการนาร่องจังหวัดยะลา ซึ่งเป็นการนาเสนอการจัดรูป แปลงที่ดินใหม่ต่อเจ้าของที่ดิน เป็นแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยวิธีการแบบพื้นที่ (Area Replotting Method ) สานักจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ กรมโยธาธิการและผังเมือง ร่วมกับเทศบาลนครยะลา ได้ จัดรูปที่ดินที่ตั้งอยู่ระหว่างสวนสาธารณะสวนขวัญเมืองและถนนสิโรรส ประมาณ 330 ไร่ บริเวณสวน ขวัญเมืองและถนนสิโรรส จานวนแปลงที่ดินในโครงการ 242 แปลง เจ้าของที่ดิน 98 ราย เพื่อรองรับ การเจริญเติบโตของเมืองในอนาคต และสามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเมืองในบริเวณดังกล่าวอีก ด้วย 4 ในทางภูมิศาสตร์เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า Under-bounded city ซึ่งเมืองในแง่ทางภูมิศาสตร์โตกว่าเมืองใน แง่กฎหมาย
  • 20. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 19 ภาพที่ 9 แสดงพื้นที่การจัดรูปที่ดิน ที่มา : http://www.dpt.go.th/yala/main/land_readjustment.html ภาพที่ 10 แสดงภาพถ่ายทางอากาศพื้นที่จัดรูปที่ดิน ที่มา : http://www.dpt.go.th/yala/main/land_readjustment.html ทั้งนี้หากศึกษาถึงความสัมพันธ์ของเมืองยะลากับเมืองใกล้เคียง พบว่าเมืองยะลายังมีปริมณฑล รอบๆอีก 5 แห่งที่อยู่ในอาเภอเมือง ได้แก่ เมืองลาใหม่ เมืองสะเตงนอก เมืองบุดี เมืองยุโป เมืองท่าสาป ซึ่งจะเห็นได้ว่าเมืองต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้เกิดจากการขยายตัวของเมืองยะลา ยกเว้นเมืองสะ เตงนอก ซึ่งจะเห็นได้ว่าการขยายตัวของเมืองยะลาไม่ได้ขยายตัวแผ่ออกไป แต่เป็นการขยายตัวแบบมี แกนกลางเมือง โดยเมืองยะลาเป็นศูนย์กลางของเมืองเหล่านั้น
  • 22. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 21 5. บทสรุป การวางแผนผังเมืองนั้นถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเมืองในอนาคต เมืองยะลาถือ กาเนิดด้วยวิสัยทัศน์อันก้าวไกลของพระรัฐกิจวิจารณ์ (สวาสดิ์ณ นคร ) ที่ได้ทาการจัดประเภทการใช้ ที่ดิน และวางผังเมืองยะลาให้สวยงาม ตลอดจนการพัฒนาสานต่อให้เป็นเมืองในสวนนั้นเป็นแนวคิดที่ ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดการสร้างอุทยานนคร มีสวนรอบเมือง มีต้นไม้ใหญ่สองฝากฝั่งถนน ช่องทางจักรยาน ตลอดจนพื้นที่นันทนาการที่ทั่วถึงแก่ชาวเมือง ปัจจุบันผังเมืองงยะลามิได้มีแค่บทบาท แค่สวยงามเท่านั้น แต่ยังมีบทบาทในด้านต่างๆ อาทิ การสร้างเสริมสุขภาวะของคนเมือง การป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มิใช้แค่เพียงใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ผังเมืองที่มีอยู่แล้วในอดีตเท่านั้น เมืองยะลายังก้าวต่อไปข้างหน้า โดยการจัดรูปที่ดินเพื่อรองรับการ ขยายตัวของเมืองในอนาคตอีกด้วย
  • 23. ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา 22 บรรณานุกรม กรมโยธาธิการและผังเมือง. คู่มือการวางและจัดทาผังเมือง.พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2552 นิพันธ์ วิเชียรน้อย. การผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในประเทศไทย. ม.ป.ท: วารสารกรมโยธาธิการ และผังเมือง, ม.ป.ป พระราชกฤษฎีกา เล่มที่ 112 ตอน 40 ก จัดตั้งเทศบาลนครยะลา พ.ศ. 2538 วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2538 ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การผังเมือง ของประเทศไทย : ปัญหาและการแก้ไข. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://www.cuurp.org/B_resource/B_data/articles/2553_01-URP_NT140410%20x.pdf. (วันที่สืบค้น 20 มีนาคม 2558) ภูชัย สัปปพันธ์,การศึกษาองค์ประกอบความน่าอยู่ของเมือง : กรณีศึกษาเมืองยะลา. วิทยานิพนธ์การ วางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 มาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย และคณะ. ภูมิศาสตร์มนุษย์ (HUMAN GEOGRAPHY). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร, 2557. สานักจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่. การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ในประเทศไทย. ม.ป.ท . ม.ป.ป สานักงานจังหวัดยะลา. รายงานประจาปีจังหวัดยะลา 2554, มปท , 2555 สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยะลา.รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ยะลา. ม.ป.ท, 2556 สิรีธร ธรรมเขต.บทบาทและผลกระทบจากบทบาทของวัดคูหาภิมุข อาเภอเมืองจังหวัดยะลา . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2547